ชื่อ-นามสกุล
   
ตำแหน่ง: -
สังกัดหน่วยงาน: -
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: -
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2551
2 กศ.ม. (การวัดผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2549
3 ค.ม. (การวิจัยและประเมินผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2545
4 รป.บ. (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2541
 
ความเชี่ยวชาญ
Educational Psychology, สถิติวิเคราะห์ทางสังคมศาสตร์, Research and development, Item Analysis
 
ความสนใจ
Structural Equation Modeling, Factor Analysis
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ไพลิน จารี และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2565). การพัฒนาโปรแกรมบูรณาการการจัดการสุขภาพที่มีต่อพฤติกรรมสุขภาพและภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลายที่มีภาวะโภชนาการเกิน. วารสารสุขศึกษา, 45(1), 56-70. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/257543/173876
อ้างอิง: สหรัฐ ทองยัง ปิยมนัส วรวิทย์รัตนกุล และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2565). การพัฒนาแชทบอทเพื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลรับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ว.มทรส. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(1), 96-108. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/rmutsb-hs/article/view/250699/174538
อ้างอิง: ขจรศักดิ์ ขจรไชยกูล พัชราวลัย มีทรัพย์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และ ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ. (2565). การพัฒนาแบบวัดการคิดวิเคราะห์ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์. วารสารการบริหารนิติบุคคลและสวัตกรรมท้องถิ่น, 8(6), 55-67. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsa-journal/article/view/254044/175993
อ้างอิง: วิลาวรรณ สังข์ทอง พัชราวลัย มีทรัพย์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และ ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ. (2565). การสร้างแบบทดสอบวินิจฉัยวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องภาคตัดกรวย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารการบริหารนิติบุคคลและสวัตกรรมท้องถิ่น, 8(6), 197-207. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsa-journal/article/view/254067/176037
อ้างอิง: ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ สุขแก้ว คำสอน อนุ เจริญวงศ์ระยับ พัชราวลัย มีทรัพย์ และสวนีย์ เสริมสุข. (2565). การประเมินผลการใช้หลักสูตรท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. วารสารครุพิบูล, ุ9(1), 136-148. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/edupsru/article/view/249218/172933
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ฉัตรญาณิน แก้วกอ สุภาวดี พรมสอน พัชราวลัย มีทรัพย์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และปิยมนัส วรวิทย์รัตนกุล. (2564).การพัฒนาแอปพลิเคชันรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเรื่องชาวพุทธที่ดีสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2โรงเรียนเทศบาลวัดไทยชุมพล (ดำรงประชาสรรค์). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 15(2), 443-454.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ และวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร. (2563). ปัจจัยเชิงสาเหตุของการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการเป็นประชากรอาเซียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 18(1), 81-102.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: สาลินี ขจรไพร ชาตรี นาคะกุล อนุ เจริญวงศ์ระยับ และ ช่อเพชร เบ้าเงิน. (2562). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นของปัจจัยที่ส่งผลต่อการขาดขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออก. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร, 9(1), 94-113.
อ้างอิง: ภาวิดา มหาวงศ์ พาสนา จุลรัตน์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และ ช่อลัดดา ขวัญเมือง. (2562). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 17(2), 201-220.
อ้างอิง: สุดารัตน์ แจงทอง และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2562). อิทธิพลของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลต่อผลการปฏิบัติงานของครูผู้สอนในจังหวัดกำแพงเพชร โดยมีความผูกพันในงานเป็นตัวแปรส่งผ่าน. วารสารวิทยาการจัดการ, 36(1), 81-101.
อ้างอิง: วัลลี ศักดิ์สุวรรณ กัญญ์ณณัฐ เฮ้าปาน ธนเดช ศักดิ์สุวรรณ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 13(2), 428-437.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: อธิฎฐาน จันทร์ทา อนุ เจริญวงศ์ระยับ และพัชราวลัย มีทรัพย์. (2561). การพัฒนาตัวบ่งชี้ความพร้อมตามยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(2), 99-119.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2561). ปัจจัยจำแนกความคงทนในการตัดสินใจศึกษาต่ออาชีวศึกษา. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 16(1), 55-76.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2561). ความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้่างของแบบวัดเจตคติต่อการศึกษาต่ออาชีวศึกษา. มนุษยศาสตร์สาร, 19(1), 151-178.
อ้างอิง: พัชราวลัย มีทรัพย์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2561). การประเมินประสิทธิผลโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน: Spirit of ASEAN ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(1), 15-29.
อ้างอิง: Mengmungme, S., Jarernvongrayab, A., & Baikulab, P. (2018). A fear measurement model in entering ASEAN community for teachers under of the office of basic education commission. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 11(3), 127-138.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ ปริยภัทร สุขเทียบ ดวงจันทร์ ตาสี มะลิดา หมื่นจันทร์ เกษรอาจหาญ ภุมรินทร์ จันทะคุณ และสลิลทิพย์ แพงผา. (2560). ปัจจัยด้านสถานการณ์และจิตลักษณะเดิมที่ส่งผลต่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นของนักเรียนระดับประถมศึกษา. วารสารราชภัฎสุราษฏร์ธานี, 4(1), 97-113.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2560). อิทธิพลของผู้ตอบต่อโครงสร้างองค์ประกอบของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(3), 53-60.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: จิรายุ เถาว์โท อนุ เจริญวงศ์ระยับ และปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ. (2559). การศึกษาค่าความเชื่อมั่นของคะแนนแบบทดสอบอัตนัยวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีจำนวนผู้ตรวจและรูปแบบการตรวจให้คะแนนต่างกัน โดยใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิง. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 14(1), 1-14.
อ้างอิง: วรพรรณ ศรีกล่ำ อนุ เจริญวงศ์ระยับ นิคม นาคอ้าย. (2559). ปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อคะแนนการสอบประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติ ด้านความสามารถทางภาษาของโรงเรียนที่มีผล NT ต่ำ ในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี มหาวิทยาลัยสุราษฎร์ธานี, 3(2): 81-97.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: กนกวรรณ กาญจนธานี ณัฐธิดา สุวรรณโณ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2558). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาความตั้งใจใช้การตลาดอิเล็กทรอนิกส์สำหรับธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ, 32(2): 59-88.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: Kanchanatanee, K., Suwanno, N., & Jarernvongrayab, A. (2014). Factors affecting the intention to use E-marketing of small and medium sezed businesses in the three sounthern border provinces of Thailand. International Journal of business and social science, 5(6(1),139-144.
อ้างอิง: Kanchanatanee, K., Suwanno, N., & Jarernvongrayab, A. (2014). Effects of attitude toward using, perceived usefulness, perceived ease of use and perceived compatibility on intention to use E-marketing. Journal of management research, 6(3). doi: http://dx.doi.org/10.5296/jmr.v6i3.5573.
อ้างอิง: สุวารีย์ วงศ์วัฒนา อนุ เจริญวงศ์ระยับ วนาวัลย์ ดาตี้. (2557). รูปแบบความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities and Social Sciences. 15(1): 121-137.
อ้างอิง: กนกวรรณ กาญจนธานี ณัฐธิดา สุวรรณโณ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2557). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อเพิ่มความตั้งใจใช้การตลาดอิเล็กทรอนิกส์สำหรับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารครุพิบูล, 1(2): 96-110.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: วรรณา หวันมาแซะ อนุ เจริญวงศ์ระยับ ณัฐธิดา สุวรรณโณ. (2556). ปัจจัยด้านนโยบาย สมรรถนะองค์การ และภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการนำพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ไปปฏิบัติในสถาบันอุดมศึกษา. วารสารวิทยาการจัดการ, 30(1): 53-82
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2555). อิทธิพลของวิธีการวัดต่อโครงสร้างองค์ประกอบมาตราวัดปรีชาเชิงอารมณ์ตามแนวพุทธศาสนาสำหรับวัยรุ่นไทย: การประยุกต์ใช้วิธีคุณลักษณะหลาก-วิธีหลาย โดยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 25(3): 295-311.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2554). การวิเคราะห์อิทธิพลปฏิสัมพันธ์โดยใช้ตัวแปรแฝง. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 17(1), 1-18.
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ ดาริน พันธรักษ์ ธันยพร แววแสนรัตน์ พร้อมพงษ์ สมบัติ และชญาดา เนียมเปีย. (2552). แรงจูงใจในการเข้าร่วมกิจกรรมนักศึกษาของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจและการวิเคราะห์โปรไฟล์. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 15(6), 929-941.
ปี พ.ศ. 2550 (2007)
อ้างอิง: เรวดี ทรงเที่ยง และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2550). การศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยการนำตนเองของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 13(1), 66-81.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2550). องค์ประกอบที่เหมาะสมของแบบวัดความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 1(2), 116-125.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ องอาจ นัยพัฒน์ และ นิภา ศรีไพโรจน์. (2550). การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงของโครงสร้างองค์ประกอบอันดับหนึ่งและอันดับสูงของแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียนของมาร์ชฉบับภาษาไทย. วารสารวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 8(2), 133-145.
ปี พ.ศ. 2549 (2006)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ ชุลีกร ยิ้มสุด และ ภิญญาพันธ์ ร่วมชาติ. (2549). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของการใฝ่รู้ทางวิทยาศาสตร์ในนักเรียนช่วงชั้นที่ 4. วารสารวิธีวิทยาการวิจัย, 19(1), 13-39.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2549). ทฤษฎีสรุปอ้างอิง (Generalizability Theory). วารสารการวัดผลการศึกษา, 26(83), 23-42.
ปี พ.ศ. 2547 (2004)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2547). การศึกษาปฏิสัมพันธ์ในการวิเคราะห์ถดถอย. วารสารการวัดผลการศึกษา, 26(77), 13-30.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ทัศนีย์ สีพรหม อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2561). การศึกษาความเที่ยงตรงเชิงสภาพของแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษาของครูวิทยาศาสตร์. เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาวิชาการ การวัดผล ประเมินผลและวิจัยสัมพันธ์แห่งประเทศไทยครั้งที่ 26 วันที่ 5-7 กุ่มภาพันธ์ 2561 สาขาการวัดแลประเมินผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้า 387-398.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ (2561).การสังเคราะห์เอกสารเกี่ยวกับสมรรถนะหลักและความผูกพันต่อองค์กรที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานของพนักงานสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17 , 21 กรกฎาคม 2560. Page: 2237-2249
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ (2560).ผลการใช้บทเรียนอีเลิร์นนิ่ง เรื่อง ภาษาถิ่น สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านคลองแขยงวิทยา. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17, 21 กรกฎาคม 2560. Page: 199-207
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ (2560).การรักษาวินัยในโรงเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในจังหวัดสุสโขทัย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 3, 23-24 มีนาคม 2560. Page: 413-420
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A. (2016). Family, School, and Psychological Factors Affecting Decision Making to Study in Vocational Education in Thailand. การนำเสนอแบบปากเปล่า ในการประชุม “นักวิจัยรุ่นใหม่ พบ เมธีวิจัยอาวุโส สกว.” ครั้งที่ 15 วันที่ 6-8 มกราคม พ.ศ.2559 ณ โรงแรมเดอะรีเจนท์ ชะอำ บีช รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี.
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A. (2016). Family, School, and Psychological Factors Affecting Decision Making to Study in Vocational Education in Thailand. Poster Presented at The 31st International Congress of Psychology, 24-29 August 2016, Yogohama Japan.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: อธิฏฐาน จันทร์ทา อนุ เจริญวงศ์ระยับ พัชราวลัย มีทรัพย์. (2558). ตัวบ่งชี้ความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : การวิเคราะห์เอกสาร. เอกสารการประชุมสัมมนา การวิจัย วัดผลและประเมินผลสัมพันธ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23: มโนทัศน์ใหม่ด้านการวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษาสำหรับยุคใหม่. สาขาวิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ม 28-30 มกราคม 2558.
อ้างอิง: ศิริ เม่งมั่งมี อนุ เจริญวงศ์ระยับ ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ. (2558). ความกลัวในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญ. เอกสารการประชุมสัมมนา การวิจัย วัดผลและประเมินผลสัมพันธ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23: มโนทัศน์ใหม่ด้านการวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษาสำหรับยุคใหม่. สาขาวิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ม 28-30 มกราคม 2558.
อ้างอิง: จิรายุ เถาว์โท อนุ เจริญวงศ์ระยับ ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ. . (2558). การศึกษาค่าความเชื่อมั่นของคะแนนแบบทดสอบอัตนัยวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่มีจำนวนผู้ตรวจและรูปแบบการตรวจให้คะแนนต่างกัน โดยใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิง. เอกสารการประชุมสัมมนา การวิจัย วัดผลและประเมินผลสัมพันธ์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 23: มโนทัศน์ใหม่ด้านการวิจัย วัดผลและสถิติการศึกษาสำหรับยุคใหม่. สาขาวิชาประเมินผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ม 28-30 มกราคม 2558.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A. (2014). The effect of multiple raters to factorial structure of organizational citizenship behavior. Paper presented at 28th International congress of applied psychology, 8-13 July 2014, Paris. France.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Kanchanatanee, K., Suwanno, N., & Jarernvongrayab, A. (2013). Factors affecting E-marketing adoption by small and medium sized enterprises in Thailand. Paper presented at The 6th Silpakorn university international conference of academic research and creative arts: Integration of art and science.
อ้างอิง: กนกวรรณ กาญจนธานี ณัฐธิดา สุวรรณโณ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2556). การใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยีเพื่อศึกษาผลกระทบของอิทธิพลทางสังคมที่มีต่อการยอมรับการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารจัดการครั้งที่ 5 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: กนกวรรณ กาญจนธานี ณัฐธิดา สุวรรณโณ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2555). อิทธิพลของความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่มีต่อการยอมรับการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. เอกสารการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 1 โครงการศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์(ภาคพิเศษ) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับสมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี.
อ้างอิง: กนกวรรณ กาญจนธานี ณัฐธิดา สุวรรณโณ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการตลาดอิเล็กทรอนิกส์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. เอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารจัดการครั้งที่ 4 คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2554). การประเมินผลการดำเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการปลอดทุจริตคอร์รัปชั่น. ผลการวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 49 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน วันที่ 1-4 กุมภาพันธ์ 2554
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: นันทิตา มาศงามเมือง และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2553). การประเมินผลการดำเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการปลอดทุจริตคอร์รัปชั่น เชิงนโยบาย : กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ. สงขลา. ผลการวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่11 วันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2553. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
อ้างอิง: จิษฎานุช แสงศรี และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2553). การประเมินผลการดำเนินงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้านการปลอดทุจริตคอร์รัปชั่นในมิติเชิงพฤติกรรม:กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ.สงขลา. ผลการวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่11 วันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2553. วิทยาลัยการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
อ้างอิง: Liu, H. Y., Ngamkroeckjoit, C., Jarernvongrayab, A., & Kitboonchoo, T. (2009). How Online Trust impacts Online Repurchase Intention: A Case Study of www.taobao.com. Proceedings of the Eastern Asia University Conference 2008. Eastern Asia University.
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A. (2009). Perception of environment in higher education institutions and individual characteristics affecting sustained volunteerism in undergraduate students Paper presented at the 6th International Postgraduate Research Colloquium. Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University, Thailand.
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: Jarernvongrayab , A. (2008). College Student Motivation to Participate in Student Activities: Scale Development and Profile Analysis. Paper presented at Asia-Pacific Educational Research Association International Conference 2008. 26–28 November 2008. National Institute of Education, Nanyang Technological University. Singapore.
ปี พ.ศ. 2550 (2007)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2550). โครงสร้างองค์ประกอบแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียนของมาร์ช ตามแนวคิดการประเมินการสอน. ผลงานวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45 วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2550 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A. (2007). The validity evidence of first order and higher order factor structure of Thai Version of Marsh’s students’ evaluation of educational quality. Paper presented at the Redesigning Pedagogy: Culture, Knowledge and Understanding Conference 2007. 28–30 May 2007. National Institute of Education, Nanyang Technological University. Singapore.
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A. (2007). The reexamination of factor number of the Thai self-directed learning scale. Paper presented at The 72nd International Meeting of the Psychometric Society. 9 – 13 July 2007 Tokyo, Japan.
อ้างอิง: Naiyapatana, O., Jarernvongrayab, A. (2007). Re-factor structures of Marsh’s SEEQ for personnel administrators. Paper presented at The 72nd International Meeting of the Psychometric Society. 9-13 July 2007 Tokyo, Japan.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2550). การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงของโครงสร้างองค์ประกอบอันดับหนึ่งและอันดับสูงของแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียนของมาร์ชฉบับภาษาไทย. ผลงานวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมสัมมนาและเผยแพร่ผลงานวิจัยทางการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มศว ครั้งที่ 7 วันที่ 21 ธันวาคม 2550 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ.
ปี พ.ศ. 2549 (2006)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2549). อิทธิพลของวิธีการวัดต่อโครงสร้างองค์ประกอบมาตราวัดปรีชาเชิงอารมณ์ตามแนวพุทธศาสนาสำหรับวัยรุ่นไทย: การประยุกต์ใช้วิธีคุณลักษณะหลาก-วิธีหลายโดยการวิเคราะห์องค์ประกอบ. ผลงานวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 วันที่ 31 มกราคม 2549 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A. (2006). Structural relation concerning sustained volunteerism of undergraduate students. Paper presented at the 3rd International Postgraduate Research Colloquium. 22-27 May 2006. International Islamic University Malaysia, Malaysia.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2549). องค์ประกอบที่เหมาะสมของแบบวัดความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อบัณฑิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ผลงานวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการเพื่อนำเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี วันที่ 17 สิงหาคม 2549 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ปัตตานี (รับรางวัลนำเสนอผลการวิจัยภาคบรรยายดีเด่น).
อ้างอิง: เรวดี ทรงเที่ยง และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2549). การพัฒนาแบบวัดการเรียนรู้ตลอดชีวิต. ผลงานวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการทางพฤติกรรมศาสตร์ ในโอกาสครบรอบวันสถาปนา 51 ปี สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อพัฒนาบุคคลและสังคม” วันที่ 25 สิงหาคม 2549 สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ กรุงเทพฯ.
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2549). การแสดงหลักฐานความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างของแบบประเมินการสอนโดยผู้เรียนของมาร์ชด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการวิเคราะห์กลุ่มพหุ. ผลงานวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 วันที่ 13-14 ตุลาคม 2549 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ.
อ้างอิง: Jarernvongrayab, A., & Songtheing, R. (2006). A reciprocal relationships between self-directed learning and lifelong learning in undergraduate students. Paper presented at Asia-Pacific Educational Research Association International Conference 2006. 28–30 November 2006. The Hong Kong Institute of Education, HKSAR. Hong Kong.
ปี พ.ศ. 2548 (2005)
อ้างอิง: อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2548). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของการใฝ่รู้ทางวิทยาศาสตร์ในนักเรียนช่วงชั้นที่ 4. ผลงานวิจัยนำเสนอปากเปล่าในการประชุมวิชาการ การวิจัยทางการศึกษา ครั้งที่ 11 สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา วันที่ 26-27 สิงหาคม 2548 โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพฯ.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 3 ประจำปี 2560 (ฉลวย สายทองคำ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ)
อ้างอิง: Mengmungmee, S., Jarernvongrayab, A., & Baikulab, P. (2561). A Fear Measurement Model in Entering ASEAN Community for Teachers under of the Office of Basic Education Commission. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 11(3), 127-138.
อ้างอิง: ภาวิดา มหาวงศ์ พาสนา จุลรัตน์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และ ช่อลัดดา ขวัญเมือง. (2562). การพัฒนาแบบวัดจิตวิญญาณความเป็นครูของนักศึกษาวิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 17(2), 201-220.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
-
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กองบรรณาธิการวารสารวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กองบรรณาธิการวารสารหาใหญ๋วิชาการ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ จ.สงขลา
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: บุคลากรที่มีผลงานดีเด่นด้านการวิจัยและบริการวิชาการปรจำปี พ.ศ. 2560 ประเภท รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการตีพิมพ์ผลงานวิจัยยอดเยี่ยมระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น นายจิรายุ เถาว์โท ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อรางวัล: บุคลากรที่ผมีผลงานวดีเด่อนด้านการวิจัยและการบริการวิชาการประจำ พ.ศ.2557 ประเภท รางวัลผลงานวิจัยที่สามารถนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตหรือเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือผลงานวิจัยที่ทำร่วมกับชุมชนหรือผู่้ใช้ประโยชน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.