ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. อนุชา ภูมิสิทธิพร  
  Asst. Prof. Dr. ANUCHA PHOOMMISITTIPORN
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267074
อีเมล์: dss_psru@hotmail.com
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (การวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ (การศึกษาพิเศษ)) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2558
2 กศ.ม. (การศึกษาพิเศษ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2550
3 ค.บ. (การศึกษาพิเศษ) ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม 2547
 
ความเชี่ยวชาญ
children with hearing impairment: เด็กที่มีความบกพรองทางการได้ยิน, การสอนอักษรเบรลล์, จิตวิทยาเด็กที่มีความต้องการพิเศษ, เด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา, เด็กออทิสติก, เด็กที่มีความต้องการพิเศษ , นักศึกษาพิการ, Disability Support Services: Dss, แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล: Individualized Education Plan: IEP, แผนการสอนเฉพาะบุคคล: Individualizes Implementation Plan: IIP, Thai Sign Language: ภาษามือไทย, Special Education: การศึกษาพิเศษ
 
ความสนใจ
Special Education , Thai Sign Language
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, บุญล้อม ด้วงวิเศษ, และ สุวพัชร์ ช่างพินิจ. (2567). โปรแกรมการพัฒนาทักษะด้านการสร้างบทเรียนด้วยเทคโนโลยี สำหรับครูการศึกษาพิเศษ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 46(4): 000-000.
อ้างอิง: พนัส นาคบุญ, อนุชา ภูมิสิทธิพร. (2567). การศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้รายวิชาเทคโนโลยี เพื่อเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 52(1): 000-000.
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, บุญล้อม ด้วงวิเศษ, ศิริวิมล ใจงาม, และ สุวพัชร์ ช่างพินิจ. (2567). การพัฒนาหลักสูตรเสริมสร้างศักยภาพด้านการวิจัยทางการศึกษาพิเศษ สำหรับครูในโรงเรียนที่จัดการศึกษาแบบเรียนรวม. วารสารการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 4(1): 000-000
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ชูศักดิ์ ศิริเชียงพิณ, พนัส นาคบุญ, อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, สุวพัชร์ ช่างพินิจ. (2566). การพัฒนาหลักสูตรพัฒนาศักยภาพครูด้านการปรับพฤติกรรมนักเรียนที่มีความจำเป็นพิเศษ ในศูนย์การศึกษาพิเศษ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ (Social Sciences Research and Academic Journal). มกราคม-มิถุนายน 2566; 11(1): 00-00.
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, บุญล้อม ด้วงวิเศษ, และ สุวพัชร์ ช่างพินิจ. (2566). โปรแกรม การพัฒนาทักษะด้านการสร้างบทเรียนด้วยเทคโนโลยี สำหรับครูการศึกษาพิเศษ. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 46(4): 000-000.
อ้างอิง: ชูศักดิ์ ศิริเชียงพิณ, อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, สุวพัชร์ ช่างพินิจ นิธิพัฒน์ บุษบารติ, ชัญญาภัค บุญฤทธิ์, และอุทัย ไทยกรรณ์. (2566). การบริหารภาคีเครือข่ายเพื่อความเป็นเลิศในการจัด การศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษในเขตจังหวัดพิษณุโลก. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. มกราคม-มิถุนายน. 2566; 11(1),52-68.
อ้างอิง: สมบัติ ลำคำ, สุวพัชร์ ช่างพินิจ, ไพวรรณ สุดวรรค์, อนุชา ภูมิสิทธิพร, และศิริวิมล ใจงาม. (2566). การศึกษาสภาพปัญหา แนวทาง และความต้องการจัดการปัญหาพฤติกรรมซ้ำๆ ของเด็กออทิสติกใน สถานศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษจังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษย์ศาสตร์และ สังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 17(2): 604-621.
อ้างอิง: จินตนา ประดุจพงษ์เพ็ชร์, ศิริวิมล ใจงาม, สลักจิต ตรีรณโอภาส, สุวพัชร์ ช่างพินิจ และอนุชา ภูมิสิทธิพร. (2566). การศึกษาสภาพปัญหาพฤติกรรมของเด็กออทิสติกรูปแบบการอบรมเลี้ยงดูและความ ต้องการของผู้ปกครองในการจัดการพฤติกรรมของเด็กออทิสติกในเขตภาคเหนือตอนล่าง. วารสาร มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 17(2): 622-637.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: พนัส นาคบุญ, อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, สุวพัชร์ ช่างพินิจ. (2565). การสอนงาน: ทางออกเพื่อความยั่งยืนสำหรับการมีงานทำของคนพิการ (Job Coach: A Sustainable Solution for Employment of People with Disabilities). วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา. พฤษภาคม-สิงหาคม 2565; 17(2): 157-166.
อ้างอิง: จินตนา ประดุจพงษ์เพ็ชร์, อนุชา ภูมิสิทธิพร, สุวพัชร์ ช่างพินิจ, ศิริวิมล ใจงาม. (2565). การสอนการเลียนแบบของเด็ก ออทิสติก ในโรงเรียนบ้านเด็กซุปเปอร์คิดส์ พิษณุโลก. วารสารวิทยาลัยราชสุดาเพื่อการวิจัยและพัฒนาคนพิการ. 18(1): 142-157.
อ้างอิง: กันต์กนิษฐ์ วงศ์ครุฑ, อนุชา ภูมิสิทธิพร. (2565). การศึกษาสภาพและแนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏที่จัดการศึกษาแบบเรียนรวม. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 28(4): 203-217.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Changpinit S., Phoommisittiporn A., Jai-ngam S. A Study of Stress, Coping Strategies, and Guidelines on How to Help Graduate Students in Special Education Cope More Effectively. The 14th International Conference on Educational Research: 10 - 12 September 2021, Faculty of Education, Khon Kaen University, Thailand.
อ้างอิง: จินตนา ประดุจพงษ์เพ็ชร์, สมบัติ ลำคำ, กาญจนา สุขพิทักษ์, อนุชา ภูมิสิทธิพร, สุวพัชร์ ช่างพินิจ และศิริวิมล ใจงาม. การศึกษาสภาพปัญหาพฤติกรรมของเด็กออทิสติก ในโรงเรียนบ้านเด็กซุปเปอร์คิดส์ พิษณุโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. มกราคม-มิถุนายน. 2564; 15(1),223-238.
อ้างอิง: ชูศักดิ์ ศิริเชียงพิณ, พนัส นาคบุญ, จิรุตถ์ ภู่เจริญ, อนุชา ภูมิสิทธิพร, สุวพัชร์ ช่างพินิจ และศิริวิมล ใจงาม. สภาพการบริหารงานวิชาการของหน่วยบริการอำเภอ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. มกราคม-มิถุนายน. 2564; 15(1),198-208.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, บุญล้อม ด้วงวิเศษ, วันทนา แดงเรือง. การพัฒนาหนังสือภาษามือไทย เรื่อง อาหารไทย สำหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์. วารสารวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ. มกราคม-มิถุนายน. 2563; 9(1), 114-130.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, บุญล้อม ด้วงวิเศษ, วันทนา แดงเรือง. การพัฒนาหนังสือภาษามือไทย เรื่อง ขนมไทย สำหรับนักศึกษาที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์. Veridian E-Journal, Silpakorn University. พฤศจิกายน-ธันวาคม. 2562; 12(6),1665-1687.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, สุวพัชร์ ช่างพินิจ, ชนัญชิดา ศิริเอก, กาญจนา สุขพิทักษ์, จิรุตถ์ ภู่เจริญ, พนัส นาคบุญ, สลักจิต ตรีรณโอภาส, บุญล้อม ด้วงวิเศษ. (2561). การศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองเด็กที่มีความต้องการพิเศษ ที่มีต่อการรับบริการของศูนย์การศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 12(2),367-387.
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, สุวพัชร์ ช่างพินิจ, ชนัญชิดา ศิริเอก, บุญล้อม ด้วงวิเศษ. (2561). การศึกษาความพึงพอใจของครูและบุคลากรทางการศึกษาพิเศษที่มีต่อการบริหารงานของผู้บริหารศูนย์การศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารสักทอง:วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. 23(2),52-60.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, ศิริวิมล ใจงาม, สุวพัชร์ ช่างพินิจ, ชนัญชิดา ศิริเอก, กาญจนา สุขพิทักษ์, จิรุตถ์ ภู่เจริญ, พนัส นาคบุญ, สลักจิต ตรีรณโอภาส, บุญล้อม ด้วงวิเศษ. (2560). การศึกษาความพึงพอใจของอาจารย์ผู้สอนที่มีต่อการปฏิบัติงานของนักวิชาการศึกษาพิเศษปฏิบัติการ (ล่ามภาษามือ) สังกัดศูนย์การศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วารสารวิจัยและพัฒนาการศึกษาพิเศษ. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 6(2),95-106.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร. การศึกษาปัญหาและความต้องการของนักศึกษาพิการที่ศึกษาในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สักทองวารสารสังคมศาสตร์. 2555. 18(1), 23-36.
อ้างอิง: อนุชา ภูมิสิทธิพร, ประพิมพ์พงศ์ วัฒนะรัตน์, ชนิดา มิตรานันท์. (2555). การศึกษาองค์ประกอบของทักษะชีวิต สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. 9(2-4): 98-110.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ทวีศักดิ์ แซ่ว่าง ศิริพร ครีมทอง ศิริวิมล ใจงาม พนัส นาคบุญ อนุชา ภูมิสิทธิพร และชนัญชิดา ศิริเอก. (2566). การศึกษาความสามารถทางคณิตศาสตร์ ด้านจำนวนและตัวเลข 1-5 ของ เด็กออทิสติก โดยใช้สื่อรับเบอร์นัมเบอร์ร่วมกับการเสริมเเรงทางบวก. รายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ (น.520-529). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
อ้างอิง: พิมพ์วิภา เพชรเหล็ก สุกัญญา ใจจันทร์ อนุชา ภูมิสิทธิพร จิรุตถ์ ภู่เจริญ และสุวพัชร์ ช่างพินิจ. (2566). การพัฒนาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กออทิสติกโดยใช5ศิลปะการวาดภาพต่อเติมร่วมกับเทคนิคการเสริมแรงทางบวก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ (น.1,027-1,035). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
อ้างอิง: สุภาภรณ์ แก้วเข็ม วิภาดา ขันติมิตร อนุชา ภูมิสิทธิพร จิรุตถ์ ภู่เจริญ พนัส นาคบุญ และกาญจนา สุขพิทักษ์. (2566). การพัฒนาทักษะการช่วยเหลือตนเองด้านการแต่งกายของเด็กที่มีความบกพร่อง ทางสติปัญญา ด้วยชุดกิจกรรมการแต่งกายร่วมกับการใช้เทคนิคการกระตุ้นเตือน. รายงานสืบ เนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่ม ภาคเหนือ (น.1,509-1,518). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: กนกวรรณ พุทธา, วนิดา สุขมาก, อนุชา ภูมิสิทธิพร, จิรุตถ์ ภู่เจริญ, ชนัญชิดา ศิริเอก. (2565). การศึกษาความสามารถในการเขียนสะกดคำ สำหรับนักเรียนที่มีปัญหาด้านการเรียนรู้โดยวิธีการสอนตรงร่วมกับแบบฝึกทักษะการเขียนสะกดคำ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ (น.1691-1707). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อ้างอิง: กมลทิพย์ บุญโต, อรนุวรรณ พัฒนแหวว, อนุชา ภูมิสิทธิพร, จิรุตถ์ ภู่เจริญ. (2565). การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กออทิสติก ศูนย์การศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยใช้กิจกรรมศิลปะร่วมกับการเสริมแรงทางบวก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ (น.1427-1440). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อ้างอิง: จารุวรรณ นาคเนียม, ญาณวรุตน์ ยมจันทร์, อนุชา ภูมิสิทธิพร, จิรุตถ์ ภู่เจริญ. (2565). การศึกษาความคงทนในการจำเรื่องของใช้ส่วนตัว สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา โดยการใช้สื่อประสม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ (น.1718-1731). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อ้างอิง: ฐิติพร ขำบางโพธิ์, บุษยา วันรังษี, อนุชา ภูมิสิทธิพร, จิรุตถ์ ภู่เจริญ. (2565). การพัฒนาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก ของเด็กดาวน์ซินโดรม โดยใช้กิจกรรมศิลปะการพิมพ์ภาพด้วยวัสดุธรรมชาติ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ (น.1372-1386). คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Changpinit S., Phoommisittiporn A., Jai-ngam S. A Study of Stress, Coping Strategies, and Guidelines on How to Help Graduate Students in Special Education Cope More Effectively. The 14th International Conference on Educational Research: 10 - 12 September 2021, Faculty of Education, Khon Kaen University, Thailand.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การยกระดับการประกันคุณภาพสู่เกณฑ์ AUN-QA
อ้างอิง: โครงการเสริมศักยภาพทางด้านความก้าวหน้าทางการศึกษาพิเศษ "การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ในสถานพยาบาล ณ สถาบันราชานุกูล กรุงเทพฯ และการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง“การให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น ณ สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรุงเทพฯ"
อ้างอิง: โครงการเสริมศักยภาพทางด้านความก้าวหน้าทางการศึกษาพิเศษ "การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การจัดการศึกษาสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ในประเทศไทย / ความเป็นมาของภาษามือไทย / เครื่องช่วยฟัง และการผ่าตัดประสาทหูเทียม ณ มูลนิธิอนุเคราะห์คนหูหนวก ในพระบรมราชินูปถัมภ์ กรุงเทพฯ"
อ้างอิง: โครงการเสริมศักยภาพทางด้านความก้าวหน้าทางการศึกษาพิเศษ "กิจกรรมถอดบทเรียน “การให้บริการสุขภาพจิตและจิตเวชเด็กและวัยรุ่น และการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ในสถานพยาบาล และกิจกรรมเตรียมความพร้อมสู่การพัฒนาวิทยานิพนธ์ ณ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต"
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมศักยภาพครูผู้สอนเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ "เรื่อง การคัดกรองและคัดแยกความบกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) ความบกพร่องทางสติปัญญา (ID) และสมาธิสั้น (ADHD) ในเด็กวัยเรียน และการจัดการเรียนรวมสำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ"
อ้างอิง: โครงการเตรียมความพร้อมสู่การพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ทางการศึกษาพิเศษ "เรื่อง การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) และการวิจัยทางการศึกษาพิเศษ"
อ้างอิง: หลักสูตรจริยธรรมการวิจัยในคน สำหรับการวิจัยด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ ศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมการวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล
อ้างอิง: หลักสูตร GCP online training (Computer-base) "แนวปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH-GCP: E6(R2))
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: โครงการ ครูรักษ์ถิ่น โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อลงนามความร่วมมือ และพัฒนาแนวทางการทำงานร่วมกันระหว่าง กสศ. และสถาบันผลิตและพัฒนาครู รุ่น 4 ปีการศึกษา 2566
อ้างอิง: โครงการอบรม "การปรับพฤติกรรมเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ และการพัฒนาทักษะการสื่อสารเด็กที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ"
อ้างอิง: โครงการพัฒนาหลักสูตร "แนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเป็นผู้ประกอบการ สำหรับผู้ประกอบการมือใหม่"
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดกำแพงเพชร
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานสอบปริญญานิพนธ์ ของ นางสาวณัฐนิชา ทับสว่าง หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ตามคำสั่งมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่ 5476/2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบปริญญานิพนธ์ ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2566
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะอนุกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการจังหวัดพิษณุโลก ตามคำสั่งคณะกรรมการส่งเสริมการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการที่ 7/2565 เรื่องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการส่งเสริมจัดการศึกษาสำหรับคนพิการจังหวัดพิษณุโลก ลงวันที่ 28 มกราคม 2565
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะทำงานด้านการผลิตครูการศึกษาพิเศษ ตามคำสั่งคณะกรรมการธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการผลิตและการพัฒนาครู วุฒิสภา ที่ 8/2563 เรื่อง ตั้งคณะทำงานด้านการผลิตครูการศึกษาพิเศษ ลงวันที่ 28 ตุลาคม 2563
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ที่ปรึกษาโครงการวิจัย ให้กับ อาจารย์ ดร.พิรุฬคณา พิเชียรเสถียร และอาจารย์ ดร.พรสวรรค์ อินทร์ปิ่น อาจารย์ประจำสำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เรื่อง การพัฒนาสื่อการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนผู้พิการทางสายตา
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานสอบปริญญานิพนธ์ ของ นายทิณธรรม ไทยธรรม หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนาศักยภาพมนุษย์ (การศึกษาพิเศษ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
ชื่อหนังสือ:
ความรู้เกี่ยวกับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ชื่อหนังสือ:
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.