ชื่อ-นามสกุล
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภัครพล แสงเงิน  
 Asst. Prof. Phakphon Sangngern
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267087
อีเมล์: phakphon.s@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ศศ.ม. (วรรณคดีไทย) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2557
2 ศศ.บ. (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร 2554
 
ความเชี่ยวชาญ
ภาษาไทย วรรณคดีไทย
 
ความสนใจ
วรรณคดีไทยโบราณ วรรณคดีพุทธศาสนา วรรณคดีแปล
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: กานต์พิชชา แข่งขัน, นิตยา วงศ์รักษ์ , อัญชลีพร เพ็ชรน้อย และภัครพล แสงเงิน. (2566). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เอกสารต้นฉบับตำรายาแพทย์แผนไทยวัดพรหมพิราม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 9(1), 72-104.
อ้างอิง: ขจีพรรณ ศรีฟอง, ณัฐกานต์ นาคพรม, สุกัญญา พาชื่นใจ, ภีมพศ รอดยิ้ม และภัครพล แสงเงิน. (2566). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เอกสารต้นฉบับตำรายาแพทย์แผนไทยวัดกรับพวงเหนือ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารอักษราพิบูล, 4(1), 37-62.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน และอุเทน วงศ์สถิตย์. (2565). ตำรับยากวาดคอจากตำรายาแพทย์แผนไทยของอำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (TCI1), 18(1), 29-60.
อ้างอิง: ปาลิตา ทองเพล, พรนภา ตันกายา, สรัญรัตน์ ทอดเสียง, สุมลทรา พ้นเวร และภัครพล แสงเงิน. (2565). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เอกสารต้นฉบับตำรายาแพทย์แผนไทยวัดจูงนาง ตำบลท่าทอง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (TCI2), 39(2), 85-132.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: พอฤทัย ปัญญาจักร์, มณฑาทิพย์ บุญแก้วและภัครพล แสงเงิน. “สารัตถะในตำรายาวัดสะพานหิน อำเภอ พรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก.” ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564, 3645-3657. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา, 2564.
อ้างอิง: นันทรัตน์ ยอดกระโหม, สาวิตรี แก้วเกตุและภัครพล แสงเงิน. “สารัตถะในตำรายาวัดกรับพวงเหนือ อำเภอ พรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก.” ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564. 4035-4048. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา, 2564.
อ้างอิง: ชลิตา สอนจันทร์, ศิริวรรณ เพ็ชรมณี, อัจฉราภรณ์ ใจแก้วและภัครพล แสงเงิน. “สารัตถะในตำรายาวัด สันติกาวาส อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก.” ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564. 4020-4034. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา, 2564.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. (2564). การศึกษาเปรียบเทียบตำรับยาในตำรายาวัดใหม่พรหมพิรามจังหวัดพิษณุโลกกับตำรับยาในตำราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง. วารสารไทยคดีศึกษา สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (TCI1), 18(2), 169 - 218.
อ้างอิง: ณัฐมล พรมรอด, นิตยา ทองย้อย, ภัชรีย์ญา อ่วมอิ่มพืช, ธนศักดิ์ จันทร์สดใส และภัครพล แสงเงิน. 2564. รูปแบบการเขียนชื่อพืชวัตถุในตำรายาวัดไพรสุวรรณ อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก เอกสารจากสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เลขที่ พส.ข.0264 ใน วารสารอักษราพิบูล ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2564). น. 57-82
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. (2563). วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดสระไม้แดง ตำบลอรัญญิก อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย วันที่ 12 ก.พ. 2563. หน้า 576-581.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. (2563). วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดท่านา ตำบลไผ่ล้อม อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก : การศึกษาเชิงวิเคราะห์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย วันที่ 12 ก.พ. 2563. หน้า 569-575.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. (2563). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การศึกษาเชิงวิเคราะห์ตำรายาวัดใหม่พรหมพิราม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและอุเทน วงศ์สถิตย์. (2563). นรกภูมิในไตรภูมิ-พระมาลัย: ความสัมพันธ์กับคัมภีร์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ใน วารสารธรรมธารา (TCI2) ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (2020): (ฉบับรวมที่ 11) กรกฏาคม - ธันวาคม 2563. หน้า 61-104.
อ้างอิง: บุญลดา คุณาเวชกิจ, ณรกมล เลาห์รอดพันธ์และภัครพล แสงเงิน. 2563. การศึกษาศักยภาพบุคลากรเพื่อเตรียมพร้อมเข้าสู่องค์กรแห่งความสุขในกลุ่มคลัสเตอร์ภาคเหนือตอนล่าง (พิษณุโลก พิจิตร เพชรบูรณ์และสุโขทัย) ใน วารสารการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (TCI1) ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2563) หน้า 191-223.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและกังวล คัชชิมา. (2563). แนวทางการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับตำรายาโบราณในไทย ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (TCI2) ปีที่ 39 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-สิงหาคม 2563. น.64-81
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2563. หนังสือมาลัยสูตร เอกสารจากสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (เรื่องจากปก) ใน วารสารอักษราพิบูล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2563). หน้า 1-6.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2563. จิตรกรรมทศชาติชาดกจากหนังสือมาลัยสูตรฉบับวัดราชบูรณะ อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก (เรื่องจากปก) ใน วารสารอักษราพิบูล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2563). หน้า 1-7.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2562. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดสุนทรประดิษฐ์ ตำบลบางระกำ อำเภอบางระกำจังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 24-25 มกราคม 2562. หน้า 2147-2133.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2562. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดนครชุม ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองพิจิตรจังหวัดพิจิตร: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 24-25 มกราคม 2562. หน้า 2134-2142.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2562. ลักษณะสำคัญของพระมาไลยฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส ใน วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ (TCI1) ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2562) หน้า 285-315.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. ตำนานพระยาโคตรบองในความทรงจำของชาวพิจิตร: กรณีศึกษาตำบลเมืองเก่าและตำบลโรงช้าง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 23 มีนาคม 2561. หน้า 530-541.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. การศึกษาวิเคราะห์ความเชื่อต่อศาลปู่ตาและศาลน้ำคำ กรณีศึกษาตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 23 มีนาคม 2561. หน้า 542-549.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. การศึกษาวิเคราะห์หลักทิศ 6 จากพฤติกรรมของตัวละครใน เรื่องสามก๊ก ฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน). รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 23 มีนาคม 2561. หน้า 550-558.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน 2561. การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในวรรณกรรมเรื่อง ลูกอีสานของคำพูน บุญทวี. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 4 วันที่ 23 มีนาคม 2561. หน้า 566-571.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน และธีรพัฒน์ พูลทอง. (2560). ตำนานวัดจากมุขปาฐะ: ความเชื่อจากปราชญ์ชุมชนในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 23-24 มีนาคม 2560. หน้า 581-591.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน และสมเกียรติ ติดชัย. (2560). การศึกษาลักษณะเด่นของการสืบขนบและสร้างนวลักษณ์ในเรื่อง ลิลิตพายัพ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 26-27 มกราคม 2560. หน้า 2547-2565.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2560. พระมาลัยคำหลวง วรรณกรรมเอกสมัยอยุธยา. ใน วารสารอักษราพิบูล ฉบับที่ 3 ประจำปี 2560. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. หน้า 1-8.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2560. คติพระพุทธเจ้า 5 พระองค์ในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส ใน วารสารรมยสาร (TCI1) ปีที่ 15 ฉบับที่ 2(พฤษภาคม - สิงหาคม 2560). หน้า 125-136.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2559. จากพระเจ้าอโศกมหาราชถึงพระเจ้าอาทิตยราช: คติจักรพรรดิราชกับ ความสำคัญของพระธาตุในจามเทวีวงศ์. วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติ “สิรินธร เทพรัตน์: รัตนะแห่งวงวิชาการ” มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง พ.ศ. 2558. หน้า 73-83.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2559. การผสมผสานระหว่างรามเกียรติ์และคติการสร้างโลกทางศาสนา พราหมณ์- ฮินดูในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส ใน วารสารอักษราพิบูล ฉบับที่ 2 ประจำปี 2559. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. หน้า 1-12.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2559. ไตรภูมิสมัยกรุงธนบุรี. สารานุกรมกรุงธนบุรี ฉบับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์สำหรับเยาวชน ฉบับศิลปกรรม กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. หน้า 63-65.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2559. ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างเรื่อง มหาพรหมเทพราชทอดเลขกับตำนานของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ใน วารสารดำรงวิชาการ (TCI1) ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559). หน้า 177-196.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2559. สื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ หัวข้อ ไตรภูมิกถา. ทุนสนับสนุนจากศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ประจำปี 2559.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2559. การศึกษาวิเคราะห์คุณธรรมด้านการปกครองในบทละคร เรื่องรามเกียรติ์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. หน้า 54-63.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2559. การศึกษาวิเคราะห์รสวรรณคดีสันสกฤตในบทละครเรื่องรามเกียรติ์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. หน้า 64-73.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2559. การศึกษาวิเคราะห์รสวรรณคดีไทยในบทละครเรื่องรามเกียรติ์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. หน้า 74-84.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. (2559). จากอวสานถึงเริ่มใหม่: ยุคพระศรีอาริยเมตไตรยในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส. วารสารไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (TCI1) ฉบับที่ 2 ปีที่ 12 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) หน้า 1-15.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. (2559). ลักษณะเด่นของพระอินทร์ในไตรภูมิสมัยอยุธยา ฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส. วารสารวิชาการอยุธยาศึกษา ฉบับที่ 2 ปีที่ 8 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2559) หน้า 42-49.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2558. แนวคิดทางจักรวาลวิทยาของคนไทยสมัยอยุธยาในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติ กรุงปารีส. วารสารอักษราพิบูล ฉบับปฐมฤกษ์ 2558. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. หน้าที่ 3-5.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2558. องค์ประกอบหลักของบทความวิชาการทางวรรณกรรม ใน วารสารอักษรา พิบูล ฉบับปฐมฤกษ์ 2558. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. หน้า 143-144.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2558. 101 คำถามสามก๊ก: คำถามขยายความคิดพินิจสามก๊ก. วารสารมนุษยศาสตร์ (TCI2) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฉบับที่ 22 ปีที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2558). หน้า 246-259.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2556. ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: ความสัมพันธ์กับรามเกียรติ์ วารสารดำรงวิชาการ ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2556). หน้า 153-174.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: พอฤทัย ปัญญาจักร์, มณฑาทิพย์ บุญแก้วและภัครพล แสงเงิน. “สารัตถะในตำรายาวัดสะพานหิน อำเภอ พรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก.” ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564, 3645-3657. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา, 2564.
อ้างอิง: นันทรัตน์ ยอดกระโหม, สาวิตรี แก้วเกตุและภัครพล แสงเงิน. “สารัตถะในตำรายาวัดกรับพวงเหนือ อำเภอ พรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก.” ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564. 4035-4048. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา, 2564.
อ้างอิง: ชลิตา สอนจันทร์, ศิริวรรณ เพ็ชรมณี, อัจฉราภรณ์ ใจแก้วและภัครพล แสงเงิน. “สารัตถะในตำรายาวัด สันติกาวาส อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก.” ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564. 4020-4034. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา, 2564.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. ตำนานพระยาโคตรบองในความทรงจำของชาวพิจิตร: กรณีศึกษาตำบลเมืองเก่า และตำบลโรงช้าง อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร. รายงานการประชุมวิชาการระดับ พิบูลสงครามวิจัย วันที่ 23 มีนาคม2561.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. การศึกษาวิเคราะห์หลักทิศ 6 จากตัวละครในวรรณกรรมเรื่องสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน). รายงานการประชุมวิชาการระดับ พิบูลสงครามวิจัย วันที่ 23 มีนาคม2561.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. การศึกษาวิเคราะห์แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในวรรณกรรมเรื่องลูกอีสานของคำพูน บุญทวี. รายงานการประชุมวิชาการระดับ พิบูลสงครามวิจัย วันที่ 23 มีนาคม2561.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. การศึกษาวิเคราะห์ความเชื่อต่อศาลปู่ตาและศาลน้ำคำ: กรณีศึกษาตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น . รายงานการประชุมวิชาการระดับ พิบูลสงครามวิจัย วันที่ 23 มีนาคม2561.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน และสมเกียรติ ติดชัย. (2560). การศึกษาลักษณะเด่นของการสืบขนบและสร้างนวลักษณ์ในเรื่อง ลิลิตพายัพ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 26-27 มกราคม 2560.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน และธีรพัฒน์ พูลทอง. (2560). ตำนานวัดจากมุขปาฐะ: ความเชื่อจากปราชญ์ชุมชนในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 23-24 มีนาคม 2560.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: จากพระเจ้าอโศกมหาราชถึงพระเจ้าอาทิตยราช: ความสำคัญของตำนานพระธาตุในจามเทวีวงศ์ การประชุมวิชาการระดับชาติ “สิรินธรเทพรัตน์: รัตนะแห่งวงวิชาการ” วันที่ 9 พ.ค. 58 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
อ้างอิง: การศึกษาวิเคราะห์รสวรรณคดีสันสกฤตในบทละครเรื่องรามเกียรติ์พระราช นิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. รายงานการประชุม เนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร วันที่ 22 ธันวาคม 2558.
อ้างอิง: การศึกษาวิเคราะห์คุณธรรมด้านการปกครองในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. รายงานการประชุม เนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร วันที่ 22 ธันวาคม 2558.
อ้างอิง: การศึกษาวิเคราะห์รสวรรณคดีไทยในบทละครเรื่องรามเกียรติ์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. รายงานการประชุม เนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร วันที่ 22 ธันวาคม 2558.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: พิบูลสงครามวิจัย 23-24 มี.ค.60
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน และธีรพัฒน์ พูลทอง. (2560). ตำนานวัดจากมุขปาฐะ: ความเชื่อจากปราชญ์ชุมชนในตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 23-24 มีนาคม 2560. หน้า 581-591.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2562. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดสุนทรประดิษฐ์ อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. รวมเล่มรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (รวมบทคัดย่อ) พะเยาวิจัยครั้งที่ 8. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. หน้า 360.
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2562. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดนครชุม อำเภอนครชุม จังหวัดพิจิตร: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. รวมเล่มรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ (รวมบทคัดย่อ) พะเยาวิจัยครั้งที่ 8. พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. หน้า 361.
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ณัฐมล พรมรอด, นิตยา ทองย้อย, ภัชรีย์ญา อ่วมอิ่มพืช, ธนศักดิ์ จันทร์สดใสและภัครพล แสงเงิน. (2564). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ชื่อสมุนไพรในตำรายาวัดไพรสุวรรณ อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงอักขรวิทยา. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: ขวัญชนก จักรขุนซี, ปัณฑิตา สิงห์กวาง, ประภาศิริ ด้วงรอดและภัครพล แสงเงิน. (2564). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ชื่อสมุนไพรในตำรายาวัดบุใหญ่ อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงอักขรวิทยา. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: กรวิชญ์ บุญจันทร์, ธนัญชัย น่วมไกรนอก, พงศ์พล วุ่นสุข, พรเทพ ม่วงคำและภัครพล แสงเงิน. (2564). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ชื่อสมุนไพรในตำรายาวัดวังพรม อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิง อักขรวิทยา. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ชลิตา สอนจันทร์, ศิริวรรณ เพ็ชรมณี, อัจฉราภรณ์ ใจแก้วและภัครพล แสงเงิน. (2564). สารัตถะในตำรายาวัดสันติกาวาส อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564 (4020-4034). พะเยา : มหาวิทยาลัยพะเยา. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: นันทรัตน์ ยอดกระโหม, สาวิตรี แก้วเกตุและภัครพล แสงเงิน. (2564). สารัตถะในตำรายาวัดกรับพวงเหนือ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564 (4035-4048). พะเยา : มหาวิทยาลัยพะเยา. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: พอฤทัย ปัญญาจักร์, มณฑาทิพย์ บุญแก้วและภัครพล แสงเงิน. (2564). สารัตถะในตำรายาวัดสะพานหิน อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ใน รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 28-29 มกราคม 2564 (3645-3657). พะเยา : มหาวิทยาลัยพะเยา. (ที่ปรึกษาวิจัย)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดสระไม้แดง ตำบลอรัญญิก อำเภอเมืองพิษณุโลกจังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดท่านา ตำบลบางกระทุ่ม อำเภอบางกระุท่ม จังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. (2562). รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ เรื่อง การศึกษาเชิงวิเคราะห์ตำรายาวัดใหม่พรหมพิราม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงิน. 2561. พระมาไลยฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ (วิจัย). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (เอกสารอัดสำเนา).
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดสุนทรประดิษฐ์ ตำบลบางระกำ อำเภอบางระกำจังหวัดพิษณุโลก: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดนครชุม ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองพิจิตรจังหวัดพิจิตร: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2561. วรรณกรรมเภสัชกรรมวัดคลองเขนง ตำบลเกาะตาเลี้ยง อำเภอศรีสำโรงจังหวัดสุโขทัย: การศึกษาเชิงวิเคราะห์. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ภัครพล แสงเงินและคณะ. 2560. ตำนานพระยาโคตรบองในความทรงจำของชาวพิจิตร: กรณีศึกษาตำบลเมืองเก่า อำเภอเมือง จังหวัดพิจิตร. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: ธราธร เกิดใหม่. 2560. การศึกษาวิเคราะห์หลักทิศ 6 ของตัวละครในวรรณกรรมเรื่องสามก๊กฉบับเจ้าพระยาพระคลัง (หน). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: กฤตภาส บำรุงและคณะ. 2560. การศึกษาวิเคราะห์ความเชื่อในศาลน้ำคำและศาลปู่ตา ตำบลกุดธาตุ อำเภอหนองนาคำ จังหวัดขอนแก่น. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: อธิษฐ์ ทองอินทร์และคณะ. 2559. การศึกษาวิเคราะห์คุณธรรมด้านการปกครองในบทละครเรื่องรามเกียรติ์พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: กฤษญา โชคดีและคณะ. 2559. การศึกษาวิเคราะห์รสวรรณคดีไทยในบทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ชัชชัย สุขเกตุและคณะ. 2558. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์วัดพระศรีรัตนศาสดารามกับจิตรกรรมฝาผนังเรื่องรามเกียรติ์วัดราชบูรณะ จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: ภิญญาภัชญ์ เดชาโชคชัยศิษย์. 2558. การศึกษาวิเคราะห์หลักคุณธรรมและผิดคุณธรรมในเรื่อง ปลาบู่ทองกลอนสวด. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
อ้างอิง: จีรนันท์ พุฒแพรและคณะ. 2558. การศึกษาสัญลักษณ์บทอัศจรรย์ที่ปรากฏในเสภาเรื่อง ขุนช้าง ขุนแผน. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ที่ปรึกษาวิจัย)
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: วิทยานิพนธ์เรื่อง ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวรรณคดีไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: อบรมจริยธรรม จรรยาบรรณฯ จัดโดย กองบริหารงานบุคคลฯ โดย รศ.ดร.มานิตย์ จุมปา ณ ห้องประชุม ท209
อ้างอิง: การเขียนรายงานประกันคุณภาพแบบ AUN-QA ครั้งที่ 1 โดย ผศ.ดร.สุดสรวง ยุทธนา ณ ห้องประชุมชั้น 3 คมส.
อ้างอิง: อบรมการเขียน OBE (Outcome Base Eduction) รุ่นที่ 1 มรพส. จัดโดย ทปอ. (กองบริการการศึกษา) แบบออนไลน์
อ้างอิง: อบรมการเขียน CLO (Course Learning Outcome) รุ่นที่ 1 มรพส. จัดโดย ทปอ. (กองบริการการศึกษา) แบบออนไลน์
อ้างอิง: อบรมการเป็นวิทยากรชุมชน โดยกองบริหารงานบุคคล มรพส. ณ ห้อง Meeting Room E-Library
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่ออนุรักษ์เอกสารโบราณ ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) เขตตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การเขียนรายงานประกันคุณภาพแบบ AUN-QA ครั้งที่ 2 โดย ผศ.ดร.สุดสรวง ยุทธนา ณ ห้องประชุมชั้น 3 คมส.
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: บริการวิชาการรายวิชาวรรณกรรมเอกของไทย วันที่ 8 สิงหาคม 2560 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
ชื่อโครงการ: โครงการบริการวิชาการ โรงเรียนบ้านกร่างพิทยาคม วันที่ 29 พฤศจิกายน 2560
ชื่อโครงการ: โครงการบริการวิชาการ โรงเรียนบ้านพลายชุมพล วันที่ 15 พฤศจิกายน 2560
ชื่อโครงการ: บรรบายพิเศษแก่นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร หัวข้อ "ข้อสังเกตบางประการในไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส" วันเสาร์ที่ 11 พฤศจิกายน 2560
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: บรรยายวิชาการเรื่อง "ไตรภูมิฉบับหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส: ข้อสังเกตในการขยายเพื่อทำวิจัย" ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย ระดับปริญญาโท คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันเสาร์ที่ 9 ธันวาคม 2560
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยายวิชาการเรื่อง แนวทางการเขียนสมรรถนะสายวิชาการ ใน โ๕รงการพัฒนาสมรรถนะตามหลักวิชาชีพ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ วันที่ 20-21 ธันวาคม 2560
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: บรรยายวิชาการเรื่อง “อิทธิพลของแนวคิดเรื่องไตรภูมิที่มีต่อการแต่งวรรณกรรมของนักเขียนร่วมสมัย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน” ให้กับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.) และสาขาศึกษาศาสตร์ภาษาไทย (กศ.บ.) ในรายวิชาวรรณกรรมร่วมสมัย วันที่ 20 ก.พ. 2558 เวลา 13.00-1
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อหนังสือ: ภัครพล แสงเงิน. 2564. เอกสารประกอบการสอนวิชา วรรณกรรมเอกของไทย. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ผ่านการประเมินเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการแล้วเมื่อ 8 กุมภาพันธ์ 2565)
ชื่อหนังสือ: หนังสือมาลัยสูตร พ.ศ. 2425 เอกสารจากสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 2564. หนังสือส่วนหนึ่งของรายวิชาวรรณกรรมท้องถิ่นพิษณุโลก THAI246. นักศึกษาสาขาวิชาภาษาไทย รหัส 60-61 ปริวรรต, อธิบายศัพท์เพิ่มเติมโดยภัครพล แสงเงิน.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อหนังสือ: ภัครพล แสงเงิน (บรรณาธิการ). 2562 วารสารอักษราพิบูล ฉบับที่ 5 ประจำปีการศึกษา 2562 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อหนังสือ: ภัครพล แสงเงิน (บรรณาธิการ). 2561 วารสารอักษราพิบูล ฉบับที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2561 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อหนังสือ: ภัครพล แสงเงิน (บรรณาธิการ). 2560 วารสารอักษราพิบูล ฉบับที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2560 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อหนังสือ: ภัครพล แสงเงิน (บรรณาธิการ). 2559 วารสารอักษราพิบูล ฉบับที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2559 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อหนังสือ: ภัครพล แสงเงิน (บรรณาธิการ). 2558. วารสารอักษราพิบูล ฉบับปฐมฤกษ์ 2558 สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.