ชื่อ-นามสกุล
   
ตำแหน่ง: -
สังกัดหน่วยงาน: -
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: -
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2563
2 M.Eng (Transportation Engineering) Asian Institute of Technology 2555
3 B.Eng (Civil Engineering) เกียรตินิยมอันดับ 1 King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang 2553
 
ความเชี่ยวชาญ
Transportation Engineering, Traffic Engineering, Civil Engineering, Logistics and Supply Chain
 
ความสนใจ
Geographic Information System (GIS), Highway Design and Construction, Transportation Economics, Transportation Modelling, Traffic System, Logistics System
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Pochan, J., Pichayapan, P., & Arunotayanun K. (2020). A Modeling Framework of Hierarchical Earthquake Relief Center Locations Under Demand Uncertainty. International Journal of GEOMATE, 18 (65), 23-33.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์. (2562). ปัจจัยที่มีผลกับการใช้พลังงานในการขนส่งในภาคเหนือของประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1(1), 46-67. Pochan, J., Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., & Arunotayanun, K. (2016). Factors Affecting to the Transportation Energy Consumption in Northern Region of Thailand using Multiple Regression Analysis Models. Industrial Technology and Engineering Pibulsongkram Rajabhat University Journal, 1(1), 46-67.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การประเมินความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุบริเวณจุดตัดทางรถไฟ กรณีศึกษาสถานีรถไฟคลองแงะ-ควนเนียง จังหวัดสงขลา. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, 19(1), 99-110. Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2018). The Risk Assessment of Accident at Highway-Railway Grade Crossing (HRGC): A Case Study of Khlong Ngae-Khuan Niang Train Station, Songkhla Province. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, 19(1), 99-110.
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ นัฐพร นวกิจรังสรรค์. (2561). การพัฒนาแบบจำลองฟัซซีแรนดอมยูทิลิตีสำหรับการเลือกรูปแบบการเดินทางด้วยระบบรางของนักท่องเที่ยวระหว่างเมืองในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรณีศึกษารถไฟทางคู่สายเด่นชัย – เชียงราย. วารสารปาริชาต, 31(3), 185-197. Wichitphongsa, W., Pochan, J., Settasuwacha, D., & Nawakitrangsan, N. (2018). Development of Fuzzy Random Utility Model for Travel Mode Choice by Rail Transport of Tourist in ASEAN Economic Community: A Case Study of Double-Track Rail link Den Chai - Chiang Rai. Parichart Journal, 31(3), 185-197.
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ นัฐพร นวกิจรังสรรค์. (2561). การพัฒนาแบบจำลองด้านการขนส่งตามวิธีการตัดสินใจแบบต่อเนื่อง 4 ขั้นตอน เพื่อคาดการณ์ปริมาณผู้โดยสารที่ใช้รถขนส่งสาธารณะในมหาวิทยาลัย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(6), 804-814. Pochan, J., Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., & Nawakitrangsan, N. (2018). Developing Transportation Model based on 4-Steps Sequential Decision Method for Passenger Demand Forecasting of Public Transportation in University. Journal of Science and Technology Mahasarakham University, 37(6), 804-814.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี และ เอกภูมิ บุญธรรม. (2560). การพัฒนาแบบจำลองแบบต่อเนื่องเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งในมหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 10(2), 24-37. Pochan, J., Wichitphongsa, W., Phongsaksri, J. & Boonthum, E. (2017). The Development of a Model for an Investment Feasibility Analysis of Transport Infrastructure in a University. Industrial Technology Lampang Rajabhat University Journal, 10(2), 24-37.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, วชิระ วิจิตรพงษา และ จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี. (2559). การวิเคราะห์หาสัดส่วนการลงทุนตามพันธกิจเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศ โดยใช้การเปรียบเทียบเชิงคู่ และการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 6(2), 1-10. Pochan, J., Settasuwacha, D., Wichitphongsa, W., & Phongsaksri, J. (2016). An Analysis of the Proportion of Investment by the Mission for Excellence University Using Pair-Wise Comparison and Analytic Hierarchy Process. Journal of Srivanalai Vijai, 6(2), 1-10.
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2559). การศึกษาความปลอดภัยทางถนนในเขตชุมชนเมือง: กรณีศึกษาอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 6(1), 129-141. Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2016). The Study of Road Safety in Small Urban Area: A Case Study of Pai District, Mae Hongson Province. Journal of Srivanalai Vijai, 6(1), 129-141.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2020). An Intercity Freight Mode Choice Model : A Case Study of High Speed Rail Link Northern Line Thailand (Bangkok – Chiangmai). MATEC Web of Conferences: 2019 8th International Conference on Transportation and Traffic Engineering (ICTTE 2019), New Zealand, 308, 1-5.
อ้างอิง: Pochan, J., Pichayapan, P., & Arunotayanun K. (2020). Development of Travel Demand Models under Earthquake by Using Spaghetti and Meatballs Method and Four-Step Transportation Model. 42th International Conference on Engineering, Technology and Applied Science (ETAS-42), Japan, 24-35.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ปรีดา พิชยาพันธ์. (2562). แบบจำลองการเลือกรูปแบบการเดินทางของผู้ใช้บริการขนส่งสาธารณะ เพื่อส่งเสริมการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ ในจังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 12, ประเทศไทย, 782-791. Wichitphongsa, W., Pochan, J., & Pichayapan, P. (2019). Discrete Choice Model for Public Transport Users Mode Choice Behaviour for Promoting Non-Motorised Transport in Chiang Mai Region. The 12th National Conference of Phuket Rajabhat University, Thailand, 782-791.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4, ประเทศไทย, 980-992. Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2018). Road Safety Audit of Pibulsongkram Rajabhat University. The 4th National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand, 980-992.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การจัดลำดับความสำคัญของจุดติดตั้งอุปกรณ์สยบความเร็วกรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 733-743. Pochan, J., Wichitphongsa, W., Settasuwacha, D., & Rattanapong, S. (2017). The Priority of Speed Calming Devices Installed Location: A Case Study of Pibulsongkram Rajabhat University. The 3rd National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand, 733-743.
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์. (2560). การพัฒนาแบบจำลองเพื่อประเมินผลกระทบด้านการจราจรในมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 23-32. Pochan, J., Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., & Arunotayanun, K. (2017). Developing Model for Traffic Impact Assessment in University: A Case Study of Pibulsongkram Rajabhat University. The 3rd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 23-32.
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา และ กฤษณะ กลิ่นดี. (2560). การศึกษาพฤติกรรมการขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลเมื่อขับผ่านจุดตัดทางรถไฟ. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 1-7. Settasuwacha, D., Pochan, J., Wichitphongsa, W., & Klindee, K. (2017). A Study of Passenger Car Driving Behavior when Approaching at Highway – Railway Grade Crossing. The 3rd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 1-7.
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ เจษฎากร โนอินทร์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางจักรยาน เพื่อส่งเสริมมาตรการเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ในเขตเทศบาลเมืองน่าน. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 388-399. Wichitphongsa, W., Pochan, J., Settasuwacha, D., & Noin, J. (2017). Factors Affecting the Development of Cycling Route Network to Promote Non-Motorize Transportation in Nan Municipality. The 3rd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 388-399.
อ้างอิง: ชัยวัฒน์ แสงศรีจันทร์, กฤษณุ ศุภจิตรานนท์, ดุษฎี สถิรเศรษฐทวี, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2560). การศึกษาความเหมาะสมเพื่อปรับปรุงทางแยกในเขตสถานศึกษา กรณีศึกษา: สี่แยกคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, ประเทศไทย, 349-356. Sangsrichan, C., Satirasetthavee, D., Supachitranon, K., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2017). The Feasibility Study of an Intersection in University Area; A Case Study of Manudsart Intersection, Naresuan University. The 22nd National Convention on Civil Engineering, Thailand, 349-356.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: สัจจากาจ จอมโนนเขวา, สุกฤษฎิ์ เพชรสวัสดิ์, วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2559). โมเดลการวัดคุณภาพการให้บริการรถขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม: การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2, ประเทศไทย, 61-67. Jomnonkwao, S., Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2016). Measurement Modeling of Public Transit Services in Pibulsongkram Rajabhat University: An Application of Confirmatory Factor Analysis. The 2nd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 61-67.
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2559). แบบจำลองการประเมินโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งในเขตพื้นที่ชายแดน: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงราย. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2, ประเทศไทย, 68-75. Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., Settasuwacha, D., & Pochan, J. (2016). The Evaluation Model of Transportation Infrastructure in Border Cities: A Case Study of Chiang Rai Province. The 2nd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 68-75.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: สฤษดิ์พงศ์ นิใจ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์. (2558). การคัดเลือกบุคคลที่มีขีดความสามารถเพื่อเข้าทำงานในองค์กร โดยใช้การวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 ธุรกิจเทคโนโลยี การจัดการและนโยบายนวัตกรรม, ประเทศไทย. Nijai, S., Pochan, J., & Siripraseotsin, P. (2015). Talent Selection for Organization Using Multi Criteria Analysis. The 1st Technopreneurship, Innovation Management and Policy Conference, Thailand.
อ้างอิง: อรรถวิทย์ อุปโยคิน, เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, พิมพ์สิริ โตวิจิตร, และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2558). การคัดเลือกที่ตั้งสำหรับศูนย์โลจิสติกส์ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, ประเทศไทย. Upayokin, A., Arunotayanun, K., Towijit, P., & Pochan, J. (2015). Selection of the Location of Logistics Park Using Geographic Information System (GIS) and Multi Criteria Analysis (MCA). The 20th National Convention on Civil Engineering, Thailand.
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, นพดล กรประเสริฐ, ปาลินี สุมิตสวรรค์ และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2558). การประเมินประสิทธิภาพและความคุ้มค่าของทางแยกแบบจำกัดการข้ามและกลับรถ: กรณีศึกษาทางแยกบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยพะเยา. การประชุมวิชาการการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 10, ประเทศไทย. Wichitphongsa, W., Kronprasert, N., Sumitsawan, P., & Pochan, J. (2015). Evaluation the Value and Effectiveness of Intersections Restricted Crossing U-Turn: A Case Study Intersection in front of University of Phayao. The 10th National Transport Conference, Thailand.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2557). การพัฒนาแบบจำลองการคัดเลือกตำแหน่งที่ตั้งศูนย์กระจายสินค้า ภายใต้ความเสี่ยงภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทย โดยวิธีการเมตาฮิวริสติค. การประชุมวิชาการการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 9, ประเทศไทย. Arunotayanun, K., Pichayapan, P., & Pochan, J. (2014). Development of Distribution Center Location Choice Models under Natural Disaster Risks in Thailand using Metaheuristic Approaches. The 9th National Transport Conference, Thailand.
อ้างอิง: ปรีดา พิชยาพันธ์, บุญส่ง สัตโยภาส, เจษฎา โพธิ์จันทร์, สิริภพ จึงสมาน และ ชาครีย์ บำรุงวงศ์. (2557). การประเมินความเหมาะสมแนวเส้นทางโดยการวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์ และวิธีการปรับฐานคะแนนปัจจัยแบบเอกภาพ. การประชุมวิชาการการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 9, ประเทศไทย. Pichayapan, P., Satayopas, B., Pochan, J., Chuengsman, S., & Bamrungwong. C. (2014). Route Alignment Evaluation by Multi Criteria Analysis and Unified Value-Normalize Method. The 9th National Transport Conference, Thailand.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: Tansawat, T., Pochan, J., & Mofadal, A. (2012). Transport Energy Consumption Model for Thailand Provinces. The 5th ATRANS Symposium, Thailand.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรม "สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่" รุ่นที่ 4, สำนักงานคณะกรรมกรรมวิจัยแห่งชาติ (วช.)
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรม "การกำหนดราคากลางและแนวทางการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์" รุ่น 5, สำนักบริการวิชาการ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรม "เพิ่มความแข็งแกร่งทางวิชาชีพครู" รุ่น 2, คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาพฤติกรรมและความเหมาะสมในการเชื่อมต่อการเดินทางภายในสถานีรถไฟความเร็วสูง เพื่อรองรับกับสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา”, สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยพัฒนา ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ (พ.ศ. 2562)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การประเมินผลกระทบด้านการจราจรเพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง : กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา”, สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยพัฒนา ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงของประเทศไทย (พ.ศ. 2562)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาเพื่อยกระดับระเบียงเศรษฐกิจ LIMEC ให้สอดคล้องกับกรอบความร่วมมือ ACMECS”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (มกราคม พ.ศ. 2562 – มกราคม พ.ศ. 2563)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์เพื่อพัฒนาเมืองชายแดน บริเวณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะที่ 2”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (ม.ค. 2562 - ม.ค. 2563)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์รองรับโครงการก่อสร้างรถไฟ ลาว-จีน (ช่วงบ่อเต็น-เวียงจันทน์)”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (มกราคม พ.ศ. 2562 – มกราคม พ.ศ. 2563)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางอัตโนมัติสำหรับรถบรรทุกบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง”, สนับสนุนโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2561)
ชื่อโครงการ: โครงการ “งานศึกษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสำรวจออกแบบรายละเอียดโครงข่ายสะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งที่ 6 (อุบลราชธานี - สาละวัน)”, สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (มีนาคม พ.ศ. 2560 – มิถุนายน พ.ศ. 2561)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การบูรณาการและการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างภาคเหนือตอนล่าง 1 ประเทศไทย และมณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2561)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาโซ่อุปทานการท่องเที่ยวบนเส้นทางภาคเหนือตอนล่าง 1 ประเทศไทย และเมืองดานัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (ธันวาคม พ.ศ. 2560 - พฤศจิกายน พ.ศ. 2561)
ชื่อโครงการ: โครงการ “แผนงานวิจัยการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์น้ำตาลที่มีประสิทธิภาพ”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ถึง เมษายน พ.ศ. 2561)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาความต้องการและข้อมูลด้านระบบโลจิสติกส์ของคน สินค้า และบริการ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (พ.ศ. 2561)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาแนวทางการแก้ไขข้อจำกัดของน้ำหนักรถบรรทุกอ้อยที่เหมาะสม”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (ธันวาคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2561)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การถ่ายทอดและขยายผลงานวิจัยด้านโลจิสติกส์อย่างยั่งยืนสู่กลุ่มเป้าหมายบนระเบียงเศรษฐกิจหลวงพระบาง อินโดจีน และ เมาะลำไย”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (เมษายน พ.ศ. 2561-กันยายน พ.ศ. 2561
ชื่อโครงการ: โครงการ “การจัดการความปลอดภัยทางถนนสำหรับเส้นทางท่องเที่ยว กรณีศึกษาทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (จังหวัดพิษณุโลก – จังหวัดเพชรบูรณ์)”, สนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ตุลาคม พ.ศ. 2560 - กันยายน พ.ศ. 2561)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การส่งเสริมการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน (เมืองปั่นได้ เมืองปั่นดีน่าน)”, สนับสนุนโดยเทศบาลเมืองน่าน (ธันวาคม พ.ศ. 2559 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาการพัฒนาระบบการผลิตแผ่นป้ายทะเบียนรถ”, สนับสนุนโดยกรมการขนส่งทางบก (พ.ศ. 2560)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: โครงการ “งานศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจ การเงิน และผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการทางพิเศษ เพื่อจัดทำแผนแม่บททางพิเศษในจังหวัดเชียงใหม่”, สนับสนุนโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ธันวาคม พ.ศ. 2557 - สิงหาคม พ.ศ. 2559)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาและจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะจังหวัดเชียงใหม่”, สนับสนุนโดยสำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2559)
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี”, สนับสนุนโดยสำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ. 2558)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดนครปฐม”, สนับสนุนโดยสำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครปฐม (พ.ศ. 2558)
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการก่อสร้างถนนเลี่ยงเมืองต้นเปา บริเวณแยก ทล.1014 สายบ่อสร้าง – ดอยสะเก็ด อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่”, สนับสนุนโดยกรมทางหลวงชนบท (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 – ตุลาคม พ.ศ. 2557)
ชื่อโครงการ: โครงการ "การประเมินผลโครงการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2)", สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (พ.ศ. 2557)
ชื่อโครงการ: โครงการ “การจัดวางระบบจังหวัดลำปางให้เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงสินค้าและบริการทางบกของภาคเหนือ”, สนับสนุนโดยสำนักงานจังหวัดลำปาง (พ.ศ. 2557)
ชื่อโครงการ: โครงการ “ทางหลวงแนวใหม่ สาย เชียงใหม่-ลำพูน”, สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (พ.ศ. 2557)
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อโครงการ: โครงการ "การศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา (แห่งที่ 3) จังหวัดปทุมธานี", สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (พ.ศ. 2556)
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: อาจารย์พิเศษ, วิชา "วิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering)", คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: อาจารย์พิเศษ, วิชา "การจัดการการขนส่งและกระจายสินค้า (Transportation and Distribution Management)", คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: Best Oral Presentation Award, The 3rd National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand.
ชื่อรางวัล: Runner-Up Oral Presentation Award, The 3rd National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อรางวัล: Champion Awards from Zeer Robotics Open (Transporter Robot), Thailand.
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: Controlled - Engineer License, Associate Engineer, Council of Engineers (COE), Thailand.
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.