ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. เมศิณี ภัทรมุทธา  
  Dr. Mesinee Pataramutha
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267087
อีเมล์: mesinee.pat@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ศศ.ด. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2566
2 ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2554
3 ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2550
 
ความเชี่ยวชาญ
ภาษาไทย
 
ความสนใจ
วรรณกรรม อาเซียน ภาษาเวียดนาม ภาษาลาว
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: เมศิณี ภัทรมุทธา และธัญญา สังขพันธานนท์. (2566). ชาตินิยมและสังคมพหุวัฒนธรรม: ความย้อนแย้งใน อัตลักษณ์ร่วมทางสังคมจากเรื่องสั้นอาเซียน. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(3), 27-41. (TCI 1)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์, สุกัญญาโสภี ใจกล่ำ, ปฐมพงษ์ สุขเล็ก, เมศิณี ภัทรมุทธา และรัตนาวดี ปาแปง. (2566). อัตลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมบ้านชมพูเหนือ อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลกกับการประยุกต์เป็นผลิตภัณฑ์และแหล่งท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจและการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสาร มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ 11(3), 1-23. (TCI2).
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: เมศิณี ภัทรมุทธา และธัญญา สังขพันธานนท์. (2565). โง่ จน เจ็บ : อัตลักษณ์ร่วมทางสังคมจากเรื่องสั้นอาเซียน. สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 28 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม, 122-134. (TCI 1)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม, กฤษณา ชาญณรงค์, เมศิณี ภัทรมุทธา, ปฐมพงษ์ สุขเล็ก และศุภลักษณ์ วิริยะสุมน. (2560). การศึกษาความเชื่อมโยงของวัฒนธรรมการบริโภคในจังหวัดพิษณุโลกกับวัฒนธรรมการบริโภคในกลุ่มประเทศอาเซียน. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 10 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม. หน้า 47-61. (TCI 1)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ, กฤษณา ชาญณรงค์, รัตนาวดี ปาแปง, และเมศิณี ภัทรมุทธา. (2559). การศึกษาภูมินามโดยเครือข่ายชุมชน ตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 35 ฉบับที่ 4 กรกฎาคม-สิงหาคม. หน้า 10-21. (TCI 2)
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: จันทร์เพ็ญ เข็มศรีรัตน์, นริศรา รูปสูง, พงศ์หฤษฎ์ กรุดมหาราช, สิริรักษ์ นาคมอญ, อนุสรา มะลิด และเมศิณี ภัทรมุทธา. (2565). การเปลี่ยนแปลงคำและความหมายของคำที่เขียนผิดไปจากภาษาไทยมาตรฐานในข้อความแสดงความคิดเห็นแฟนเพจไทยรัฐออนไลน์. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 11. (หน้า 1177-1788). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. วันที่ 26 มกราคม 2565.
อ้างอิง: เมศิณี ภัทรมุทธา และธัญญา สังขพันธานนท์. (2565). “ตัวตนคนพลัดถิ่น” อัตลักษณ์ร่วมของคนอาเซียนจากเรื่องสั้นร่วมสมัย. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนภายใต้วิถีชีวิตใหม่” (หน้า 875-884). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: เมศิณี ภัทรมุทธา และธัญญา สังขพันธานนท์. (2664). คนของสงคราม : อัตลักษณ์ร่วมและการประกอบสร้างอัตลักษณ์ร่วมจากเรื่องสั้นของนักเขียนอาเซียน. บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในเอกสารประกอบการจัดประชุมวิชาการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ–วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 (HUSOC14). (หน้า 432-449). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 16 กรกฎาคม 2564.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เมศิณี ภัทรมุทธา. (2560). ศิลปะการใช้ภาษาในเพลงไทยสากลสมัยนิยม : กรณีศึกษาเพลงฮิตติดชาร์ต 2557. บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 6. (หน้า. 2846-2858). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา. วันที่ 27 มกราคม 2560.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ กฤษณา ชาญณรงค์, เมศิณี ภัทรมุทธา และรัตนาวดี ปาแปง. (2558). การศึกษาภูมินามโดยเครือข่ายชุมชนตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ทุน สกอ.)
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม, กฤษณา ชาญณรงค์, เมศิณี ภัทรมุทธา, ปฐมพงษ์ สุขเล็ก และศุภลักษณ์ วิริยะสุมน. (2557). การศึกษาความเชื่อมโยงของวัฒนธรรมการบริโภคของคนในจังหวัดพิษณุโลกกับวัฒนธรรมการบริโภคในกลุ่มประเทศอาเซียน. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ทุน วช.)
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: ฟังสัมมนาวิชาการ หัวข้อ “ทฤษฎีสตรีนิยมกับการศึกษาวรรณกรรม” โดย รศ.ดร. ลภัสรินทร์ ฉัตรวังคีรี ณ ห้อง ท209 อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ฟังบรรยายการเสวนาโครงการชุมชนวิจารณ์ วรรณกรรมและสื่อร่วมสมัย ปี 2567 ครั้งที่ 1 “วรรณกรรมร่วมสมัยกับการวิจารณ์แนวหลังอาณานิคม” โดย รศ.ดร. สรณัฐ ไตลังคะ และ ดร.สุธิดา วิมุตติโกศล (Zoom Online Conference) ดวงใจวิจารณ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างครูต้นแบบสองการเขียนเชิงสร้างสรรค์ (การเขียนบทร้อยกรอง เรื่องสั้น และสารคดี) ครั้งที่ 2 ณ สวนป่าเขากระยาง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
อ้างอิง: อบรมเรื่องการเขียนรายงานประกันคุณภาพการศึกษา แบบ AUN-QA ครั้งที่ 2 สาขาวิชาภาษาไทย คมส. มรพส.
อ้างอิง: “อบรมซีไรต์ศึกษา” ในโครงการ 45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก ครั้งที่ 1 หัวข้อ “ซีไรต์กับการเดินทางอันยาวนาน” (Zoom Online Conference) สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยฯ มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัท สยามจุลละมณฑล จำกัด และ นิตยสารออนไลน์โซเซเล็บ
อ้างอิง: อบรมโครงการเสวนาออนไลน์ Share and Learn เรื่อง การพัฒนาอาจารย์มืออาชีพในระดับอุดมศึกษา (Zoom Online Conference) สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (ควอท)
อ้างอิง: “อบรมซีไรต์ศึกษา” ในโครงการ 45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก ครั้งที่ 2 หัวข้อ “ซีไรต์กับเสียงอันหลากหลายในสังคมร่วมสมัย” (Zoom Online Conference) สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยฯ มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัท สยามจุลละมณฑล จำกัด และ นิตยสารออนไลน์โซเซเล็บ
อ้างอิง: “อบรมซีไรต์ศึกษา” ในโครงการ 45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก ครั้งที่ 3 หัวข้อ “ซีไรต์กับนวัตกรรมการเล่าเรื่อง” (Zoom Online Conference) สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยฯ มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัท สยามจุลละมณฑล จำกัด และ นิตยสารออนไลน์โซเซเล็บ
อ้างอิง: “อบรมซีไรต์ศึกษา” ในโครงการ 45 ปี ซีไรต์มาไกลมาก ครั้งที่ 4 หัวข้อ “ซีไรต์ในขอบฟ้าอาเซียน” (Zoom Online Conference) สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยฯ มหาวิทยาลัยมหิดล บริษัท สยามจุลละมณฑล จำกัด และ นิตยสารออนไลน์โซเซเล็บ
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพด้านภาษาและวรรณกรรมไทย ครั้งที่ 3 “ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ : ประสบการณ์และเทคนิคการสอน” (Zoom Online Conference) ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: โครงการเสวนาวิชาการ “มนุษย์ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ในวรรณกรรมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (การบรรยายพิเศษเรื่อง เมื่อคิดให้ดีโลกนี้สีเขียว : การหันกลับสู่นิเวศวิจารณ์ (Ecological turn) ในศตวรรษที่ 21 โดย รศ.ดร. ธัญญา สังขพันธานนท์) (Zoom Online Conference) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อ้างอิง: ฟังบรรยายเรื่อง “ศัพท์สันนิษฐาน: การเปลี่ยนแปลงความหมายของถ้อยคำ กับงานจัดทำพจนานุกรม” โดย ผศ. ปรัชญา ปานเกตุ (Zoom Online Conference) ภาควิชาไทยศึกษา สถาบันเอเชีย-แอฟริกา มหาวิทยาลัยฮัมบูร์ก สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี
อ้างอิง: ฟังการบรรยายพิเศษเรื่อง “ครบเครื่องเรื่องมโนอุปลักษณ์ : Metaphors We Live By” โดย ดร. ธนพล เอกพจน์ และ รศ.ดร. ธัญญา สังขพันธานนท์ (Zoom Online Conference) ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: ฟังบรรยายเรื่อง “เขียน (บทความ) อย่างไร ให้ถูก (ใจ) วารสาร” โดย ผศ. ดร. สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ (MS Team) สาขาวิชาภาษาไทยศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
อ้างอิง: ฟังบรรยายพิเศษ “สถานภาพการวิจัยวรรณคดีและวรรณกรรมไทย” โดย ผศ.ดร. สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ (Zoom Online Conference) สาขาวิชาภาษาไทยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ฟังบรรยายพิเศษ “ด้วยรักและผุพัง : บาดแผลทางวัฒนธรรมและโศกนาฏกรรมทางสังคม” ดำเนินการโดย ผศ.ดร. อลงกต ใหม่ด้วง ผ่านเพจสมาคมภาษาและหนังสือฯ สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
อ้างอิง: ฟังบรรยายพิเศษ “มโนทัศน์การวิจารณ์เชิงนิเวศกับการสื่อความหมายในวรรณกรรมและสื่อดิจิทัล” โดย รศ.ดร. ธัญญา สังขพันธานนท์ (Zoom Online Conference) สาขาวิชาภาษาไทยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการการสอนแบบ Team Teaching พลิกโฉม GE อาคารพิบูลวิชญ์ กองบริการการศึกษา ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ฟังบรรยายพิเศษ “กระบวนทัศน์และวิธีการศึกษาความเป็นชายในวรรณกรรมไทย/ไท” โดย ผศ.ดร. สหะโรจน์ กิตติมหาเจริญ (Zoom Online Conference) สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ้างอิง: ฟังบรรยายพิเศษ “ศัพท์สรรพรรณนา : พลวัตทางภาษาในสังคมไทย” โดย ผศ. ปรัชญา ปานเกตุ (Zoom Online Conference) สาขาวิชาภาษาไทยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การบรรยายเรื่อง การวิจารณ์เชิงนิเวศ: แนวคิดและวิธีการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (Microsoft Teams)
อ้างอิง: การเสวนาออนไลน์ "ซีไรต์เสวนา" ความจงใจทางวรรณศิลป์ : สร้างสรรค์ หรือมายาคติ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างครูต้นแบบสองการเขียนเชิงสร้างสรรค์ (การเขียนบทร้อยกรอง เรื่องสั้น และสารคดี) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย 11 มหาวิทยาลัยพะเยา (Zoom Online Conference - นำเสนอบทความและร่วมฟังการนำเสนอ)
อ้างอิง: การสัมมนาเรื่อง รหัสนัยจักรวาลทัศน์แมงมุม: สหวิทยาการโยงใย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย 7 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Zoom Online Conference - นำเสนอบทความและร่วมฟังการนำเสนอ)
อ้างอิง: การบรรยายพิเศษ “ภาษากับคติชนวิทยาผ่านวรรณกรรมภาคอีสาน” และ “ภาษากับสังคมวัฒนธรรมผ่านวรรณกรรมวิจารณ์” คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: โครงการพัฒนานักศึกษาหัวข้อ “ภาษากับอำนาจในการชี้นำ” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง (Microsoft Teams)
อ้างอิง: เสวนาวิชาการ “โปรดอยู่ในความสงบ” อุดมการณ์รัฐ ประชาธิปไตย และพลเมืองดีในเรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชพิบูลสงคราม ณ ห้องประชุม ท 209 อาคารทีปวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการเตรียมความพร้อมการประกันคุณภาพการศึกษาภายในด้วยเกณฑ์ AUN-QA มหาวิทยาลัยราชพิบูลสงคราม ณ ห้องประชุม Meeting Hall ชั้น 4 สำนักวิทยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อ้างอิง: อบรมเรื่องการเขียนรายงานประกันคุณภาพการศึกษา แบบ AUN-QA ครั้งที่ 1 สาขาวิชาภาษาไทย คมส. มรพส.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติ สรรพศาสตร์ สรรพศิลป์ ประจำปีการศึกษา 2564 คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Zoom Online Conference - ร่วมฟังการนำเสนอ)
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ เครือข่ายความร่วมมือวิชาการ-วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 15 - 16 กรกฎาคม 2564 (Zoom Online Conference - นำเสนอบทความและร่วมฟังการนำเสนอ)
อ้างอิง: โครงการ การบรรยายทางวิชาการ เรื่อง “ภาษากับอัตลักษณ์” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: โครงการ "เรียนรู้และเข้าใจภาษาวัฒนธรรมเมียนมา" คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาหัวข้อวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา “สัญญะ มายาคติ ในภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรมศึกษา” คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพภาษาไทย ลักษณะภาษาไทย-การแปลภาษาไทย-ภาษาถิ่น-การนำภาษาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการทำพจนานุกรม-การเรียนการสอน-(การแปล) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดทำแบบทดสอบออนไลน์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: อบรมการสร้างแบบทดสอบ ข้อสอนออนไลน์ พร้อมเฉลย ด้วย Google Forms สำหรับบุคลากรภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Zoom Online Conference)
อ้างอิง: บทสังเคราะห์โครงการพุทธธรรมพหุนิยม รื้อสร้าง ร่างรวม ร่วมรอย เถรวาท หงอคง เทย์เลอร์ ริเกอร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Facebook Live)
อ้างอิง: การบรรยาย "โลกหมุน แม้นเหมือน เดือนหงาย: โลกเปลี่ยน กระบวนทัศน์เปลี่ยน" สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทย (Facebook Live)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาทักษะอาจารย์ที่ปรึกษาออนไลน์ “วิถีใหม่ ใช้ใจดูแล” มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Zoom Online Conference)
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อโครงการ: โครงการบริการวิชาการด้วยงบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย โครงการ U2T (น้ำพริก) ต.ราวต้นจันทร์ อ.ศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย ก.ค.-ก.ย. 65 (คณะทำงาน)
ชื่อโครงการ: โครงการบริการวิชาการด้วยงบประมาณตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนามหาวิทยาลัย โครงการบริการวิชาการ ต.ชมพู อ.เนินมะปราง จ.พิษณุโลก (คณะทำงาน)
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อหนังสือ: ขวัญชนก นัยจรัญ กฤษณา ชาญณรงค์, เมศิณี ภัทรมุทธา และรัตนาวดี ปาแปง. (2559). ภูมินามตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ทุน สกอ.)
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อรางวัล: การนำเสนอผลงานแบบบรรยายระดับดี ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนภายใต้วิถีชีวิตใหม่” พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565.
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนภายใต้วิถีชีวิตใหม่” พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565. (เข้าร่วม)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 “การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืนภายใต้วิถีชีวิตใหม่” พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 (รางวัลการนำเสนอผลงานแบบบรรยายระดับดี)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การจัดประชุมวิชาการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ–วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 (HUSOC14). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 16 กรกฎาคม 2564. (นำเสนอ)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการ การบรรยายทางวิชาการเรื่อง “ภาษากับอัตลักษณ์” คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 17 กรกฎาคม 2564
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการ "เรียนรู้และเข้าใจภาษาวัฒนธรรมเมียนมา" คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ 14 สิงหาคม 2564 ผ่าน Zoom Online Conference
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การจัดประชุมวิชาการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ–วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 (HUSOC14). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. วันที่ 16 กรกฎาคม 2564. (เข้าร่วม)
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.