ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรืองวุฒิ ชุติมา  
  Asst. Prof. Dr. Ruangwut Chutima
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ตำแหน่งบริหาร: รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055-267106
อีเมล์: ruangwut@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2555
2 วท.บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2547
 
ความเชี่ยวชาญ
microbiology (Orchid mycorrhiza)
 
ความสนใจ
fungal utilization, Bioactive compounds, tissue culture, mycorrhiza
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: วันเพ็ญ ตรงต่อกิจ, เชาวลิต พึ่งแตง, นพรัตน์ วรรณเทศ, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา, วีระ นาคผู้, สุฑามาศ จันทร์แจ่ม และกีรติ ตันเรือน (2565). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเห็ดราทําลายไม้. PSRU Journal of Science and Technology. 7(2): 126-137.
อ้างอิง: Sumang R., Kodsueb R., Vitayakorn N. and Chutima R. (2022). The correlation between phase formation and the structure of the pellets with the fungal immobilization study as a commercial substrate culture/planting material. Journal of Metals, Materials and Minerals. 32(3): 54-59.
อ้างอิง: กาญจนา ธนนพคุณ, สุธาสินี ทองมี, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา และกีรติ ตันเรือน. (2565). การตรวจสอบคุณค่าทางโภชนาการของแป้งจากลูกจันและการประเมินคุณสมบัติการเป็นแป้งที่ทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์. PSRU Journal of Science and Technology. 7(3): 47-62.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: สุทธิกานต์ เนตรแสงสี, กีรติ ตันเรือน, เรืองวุฒิ ชุติมา, วิษณุ ธงไชย ยุทธศักดิ์, แช่มมุ่ย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ (2564) ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากผักสะเดาดินต่อด้วงงวงข้าว. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 1: 1–8.
อ้างอิง: เรืองวุฒิ ชุติมา และ กฤษ สุจริตตั้งธรรม. (2564). การเตรียมแผ่นฟิล์มเส้นใยพอลิคาโปรแลคโตนผสมสารสกัดมะหาดโดยเทคนิคอิเล็กโทรสปินนิงเพื่อยับยั้งแบคทีเรีย. PSRU Journal of Science and Technology 6(2): 52-68.
อ้างอิง: กีรติ ตันเรือน, สุภัค คนดารา, เรืองวุฒิ ชุติมา, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ (2564) ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากฝอยทองและแบคทีเรียต่อการควบคุมไรไข่ปลา. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 13(3) : 609-622
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ธีราพร จันทร์ศรี, อัปสรสวรรค์ ใจบุญ, กีรติ ตันเรือน, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, รัตน์ติพร สำอางค์, รำไพ โกฎสืบ และเรืองวุฒิ ชุติมา. (2563). การสำรวจและการแยกเชื้อราไมคอร์ไรซาจากกล้วยไม้ดินสกุล Spathoglottis ที่ปลูกในกระถาง. PSRU Journal of Science and Technology 5(3): 127-138.
อ้างอิง: ศิริลักษณ์ ปานทุ่ง, นวพรรษ เหลาทอน, กีรติ ตันเรือน, เรืองวุฒิ ชุติมา, วิษณุ ธงไชย, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. พิษของสารสกัดหยาบผักคราดหัวแหวนต่อการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระยะตัวอ่อน. วารสารผลิตกรรมการเกษตร. 2(3): 73-82.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Tanruean K, Chutima R, Chaiyen R, Wittanalai S. (2019). Efficiency of keratinase enzyme producing bacteria isolated from soil of poultry farming for degradation of chicken feather, Rajabhat J. Sci. Humanit. Soc. Sci. 20(1): 19-29.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Chutima R, Thurian H, Roongruang O. (2018). Optimum growth conditions of orchid mycorrhizal fungi for simple mycoorhizal inoculum production. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities and Social Sciences. 19(1): 167-175.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: เรืองวุฒิ ชุติมา, กวี สุจิปุลิ, สหณัฐ เพชรศรี และธัชคณิน จงจิตวิมล. (2559). การประเมินความหลากหลายทางพันธุกรรมของข้าวพื้นเมืองโดยใช้เทคนิคอาร์เอพีดีในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 8(8): 21-34.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: Chutima R, Lumyong S. (2012). Production of indole-3-acetic acid by Thai native orchid-associated fungi. Symbiosis 56: 35-44.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: Chutima R, Dell B, Vessabutr S, Lumyong S. (2011). Endophytic fungi from Pecteilis susannae (L.) Rafin (Orchidaceae), a threatened terrestrial orchid in Thailand. Mycorrhiza 21: 221-229.
อ้างอิง: Chutima R, Dell B, Lumyong S. (2011). Effects of mycorrhizal fungi on symbiotic seed germination of Pecteilis susannae (L.) Rafin (Orchidaceae), a terrestrial orchid in Thailand. Symbiosis 53: 149-156.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Sumang R., Kodsueb R. and Chutima R. (2021). Correlation of phase formation and microstructure of clay:phosphate rock:burnt chaff for calcined clay pellets as commercial substrate culture/planting material. ICAPMA-JMAG-2021, 1st-4th December 2021, Pattaya, Thailand.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: อัปสรสวรรค์ ใจบุญ, เรืองวุฒิ ชุติมา, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ภรภัคร สำอางค์, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน. 2563. การประเมินฤทธิต้านแบคมทีเรียจากสารสกัดต่าง ๆ จากพืชสมุนไหรพังแหร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 516-521.
อ้างอิง: ศิริลักษณ์ ไชยพาลี, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา, ภรภัคร สำอางค์, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน. 2563. การเปรียบเทียของบฤทธิต้านอนุมูลอิสระสารสกัดต่าง ๆ จากพังแหร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 528-533.
อ้างอิง: พัชรี ยอดยิ่ง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา, ภรภัคร สำอางค์, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน.การประเมินฤทธิต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืชสมุนไพรกำลังเจ็ดช้างสาร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 522-527.
อ้างอิง: ฤดี สิงห์รอ กีรติ ตันเรือน เรืองวุฒิ ชุติมา และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบดาวกระจายไต้หวัน (Asterales: Asteraceae) ต่อการควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Lepidoptera: Noctuidae). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 322-327.
อ้างอิง: วรรณวิภา พรมแพร, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา และ กีรติ ตันเรือน. 2563. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการชักนำให้เกิดยอดและรากของโกฐจุฬาลัมพาในสภาพปลอดเชื้อ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 381-385.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
อ้างอิง: งานประชุมวิชาการระดับชาติ สวนสุนันทาวิขาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ ครั้งที่ 1 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ้างอิง: สุภัค คนดารา พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ สราวุฒิ สิทธิกูล อรรภพล นาขวา เรืองวุฒิ ชุติมา ชนิกานต์ คุ้มนก ทิวธวัฒ นาพิรุณ และกีรติตันเรือน. (2019). ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบฝอยทองต่อการควบคุมไรไข่ปลาในเห็ดหูหนู. ScSci2019. 5: 21-30
อ้างอิง: อัปสรสวรรค์ ใจบุญ, เรืองวุฒิ ชุติมา, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ภรภัคร สำอางค์, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน. 2563. การประเมินฤทธิต้านแบคมทีเรียจากสารสกัดต่าง ๆ จากพืชสมุนไหรพังแหร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 516-521.
อ้างอิง: ศิริลักษณ์ ไชยพาลี, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา, ภรภัคร สำอางค์, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน. 2563. การเปรียบเทียของบฤทธิต้านอนุมูลอิสระสารสกัดต่าง ๆ จากพังแหร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 528-533.
อ้างอิง: พัชรี ยอดยิ่ง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา, ภรภัคร สำอางค์, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน.การประเมินฤทธิต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากพืชสมุนไพรกำลังเจ็ดช้างสาร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 522-527.
อ้างอิง: ฤดี สิงห์รอ กีรติ ตันเรือน เรืองวุฒิ ชุติมา และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบดาวกระจายไต้หวัน (Asterales: Asteraceae) ต่อการควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Lepidoptera: Noctuidae). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 322-327.
อ้างอิง: วรรณวิภา พรมแพร, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา และ กีรติ ตันเรือน. 2563. ผลของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีต่อการชักนำให้เกิดยอดและรากของโกฐจุฬาลัมพาในสภาพปลอดเชื้อ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 381-385.
อ้างอิง: Sumang R., Kodsueb R. and Chutima R. (2021). Correlation of phase formation and microstructure of clay:phosphate rock:burnt chaff for calcined clay pellets as commercial substrate culture/planting material. ICAPMA-JMAG-2021, 1st-4th December 2021, Pattaya, Thailand.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน AUN-QA and GAP ANALYSIS
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคและแนวทางการนำเอาเกณฑ์ EdPEx สู่การปฏิบัติ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การพัฒนาผลงานวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อตีพิมพ์ในวรสารระดับนานาชาติ
อ้างอิง: การพัฒนาโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณในโครงการสำคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
อ้างอิง: การสร้างเครือข่ายพัฒนางานวิจัยและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ "การจดสิทธิบัตร อนุสิทธิบัตร"
อ้างอิง: หลักสูตรคณาจารย์สหกิจศึกษา CWIE
อ้างอิง: Olympus roadshow 2023 โดย Evident Olympus
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ Team Teaching
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome-Based Education)
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation)
อ้างอิง: การจัดทำโครงร่างองค์กร และ kpi หมวด 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษา EdPex ไปสู่การปฏิบัติ
อ้างอิง: ทักษะด้านดิจิทัล IC3
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การประเมินผลกระทยทางเศรษฐกิจและสังคมของโครงการวิจัยด้วยการประเมินผลตอบแทนทางสังคม social return on investment SORI
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: วิรัชยา อินทะกันฑ์, จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง, กีรติญา สอนเนย, กุลชญา สิ่วหงวน, วันเพ็ญ ตรงต่อกิจ. กีรติ ตันเรือน, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเรืองวุฒิ ชุติมา. (2565 ). สูตรบราวนี่กรอบจากแป้งข้าวหอมมะลิท่อนและกรรมวิธีการผลิต. อนุสิทธิบัตรไทย เลขที่ 19891.
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.