ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. ปาณิสรา หาดขุนทด  
  Dr. Panisara Hadkhuntod
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: panisara.h@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2563
2 ค.ม. (คอมพิวเตอร์ศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2559
3 วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ 2549
 
ความเชี่ยวชาญ
เทคโนโลยีทางการศึกษา, ผลิตสื่อมัลติมีเดีย, ระเบียบวิธีวิจัยด้านการศึกษา
 
ความสนใจ
เทคโนโลยีเกษตรและอาหาร
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด และธนากร แสงกุดเลาะ. (2567). การพัฒนาระบบป้องกันนกรบกวน ด้วยเทคนิคประมวลผลภาพและคลื่นความถี่สูง. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย, 16(1):77-89.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: สำราญ วานนท์ ภัครพลอาจอาษา รจนา วานนท์ และปาณิสรา หาดขุนทด. (2566). การพัฒนาระบบปลูกหน่อไม้ฝรั่งในโรงเรือนอัจฉริยะ ด้วยอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งและบล็อกเชนเป็นฐาน, วารสาร มจร. อุบลปริทรรศน์, 8(2):1807-1818
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด. (2566). การพัฒนาสื่อแบบความเป็นจริงเสริมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรองเชิงประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมแบบวิถีใหม่ กรณีศึกษาวัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร, วารสารวิชาการ สถาปัตยกรรมศาสตร์ สจล, 36(1): 247-264.
อ้างอิง: เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ และปาณิสรา หาดขุนทด. (2566). การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชนด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนบ้านเสี้ยวน้อย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ, วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์, 8(3):575-590.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด,เกศสุดา โภคานิตย์ และธนากร แสงกุดเลาะ(2566). การพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งที่ควบคุมด้วยตรรกศาสตร์คลุมเครือสำหรับการปลูกทุเรียน, วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 15(22):93-107.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด, ภัครพล อาจอาษา และธนากร แสงกุดเลาะ. (2566). การพัฒนาระบบคัดแยกมะขามหวานด้วยเทคนิคการประมวลผลภาพ. วารสารวิทยสารสนเทศและเทคโนโลยี, 4(2),47-61.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: เกศสุดา โภคานิตย์, กีฬา หนูยศ, ณัฐปราย์ ชัยสินคุณานนต์, เพ็ญนภา สุขเสริมและปาณิสรา หาดขุนทด. (2565). เรื่องเล่า ความหลัง:รูปแบบการมีส่วนร่วมเพื่อช่วยบำบัดโรคซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึงพิง อำเภอคอนสวรรค์ จังหวัดชัยภูมิ, วารสาร มจร อุบลปริทรรศ์, 7(3):1677-1688.
อ้างอิง: บวรวิช รอดรังษี และปาณิสรา หาดขุนทด. (2565). การศึกษาผลของการสอนโดยใช้เกมด้วยสื่อ 3 รูปแบบ ที่มีผลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 2, วารสาร มจร. อุบลปริทรรศน์. 7(1):777-784.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด และธนากร แสงกุดเลาะ. (2565). การสร้างสื่อการเรียนรู้แบบมัลติมีเดีย รายวิชาวิทยาการคำนวณระดับประถมศึกษาสำหรับโรงเรียนขนาดเล็กที่ขาดแคลนครู, วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 10(3):302-313.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด และธนากร แสงกุดเลาะ. (2565). การพัฒนาระบบหมอนิล 4.0. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 9(1):14-24.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด ธนากร แสงกุดเลาะ เกศสุดา โภคานิตย์ และกีฬา หนูยศ. (2565). การศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเลี้ยงปลาทับทิมในกระชังลุ่มแม่น้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก, วารสาร มจร อุบลปริทรรศ์, 7(3):1123-1136.
อ้างอิง: กีฬา หนูยศ, เกศสุดา โภคานิตย์ และปาณิสรา หาดขุนทด. (2565). การเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม ความฉลาดทางอารมณ์ เพื่อการเลือกใช้สื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนในจังหวัดชัยภูมิ, วารสาร มจร อุบลปริทรรศ์, 7(3). 103-114.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด และธนากร แสงกุดเลาะ. (2565). การพัฒนาระบบให้อาหารปลาตามน้ำหนักอาหารแบบสมาร์ทฟาร์ม, วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 14(20): 97-111.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด ธนากร แสงกุดเลาะ และอินทุราภรณ์ อินทรประจบ. (2564). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการฟาร์มปลานิลอัจฉริยะที่ได้มาตรฐานการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP), วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 13(2), 42-53.
อ้างอิง: Panisara Hadkhuntod, Thanakorn Sangkudluo, Katesuda Phokanit, Pramuk Srichaiwong and Sanya Kenaphoom. (2021). Development of Water Quality Control and Monitoring System for the Red Tilapia Fish in the Floating Basket Using IFTTT Model and IOT Based OSS. Design Engineering, 58-66. Retrieved from http://thedesignengineering.com/index.php/DE/article/view/4856
อ้างอิง: Panisara Hadkhuntod, Thanakorn Sangkudluo, Pramuk Srichaiwong, Inthuraporn Intharaprajob, Katesuda Phokanit and Sanya Kenaphoom. (2021). Development of a Surveillance System for Red Tilapia Anomaly with Technology Neural Network . Design Engineering, 49-57. Retrieved from http://thedesignengineering.com/index.php/DE/article/view/4855
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Pramuk Srichaiwong, Pornchai Jedaman, Panisara Hadkhuntod and Benjapuk Jongmuanwai. (2020). Creative Economy: Guidelines for Developing LamPaTao’s Community Enterprise of Sustainability “Tilapia” Transformation in Chaiyaphum Province, Thailand. American International Journal of Social Science. 9(2) :24-29.
อ้างอิง: Hadkhuntod P., Sangkudluo T., Intharaprajop .I, Srichaiwong P. and Jedaman P. (2020). A Developing Intelligent Expert System on Knowledge Management of Tilapia Disease for Fish Farmers. INTERNATIONAL JOURNAL OF INNOVATIVE SCIENCE AND RESEARCH TECHNOLOGY. 5(5) : 219-222.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด, ประวิทย์ สิมมาทัน และสนิท ตีเมืองซ้าย. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้บนเว็บแบบทีมวิเคราะห์ที่ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์และการทํางานเป็นทีมสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี, วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 17(1), 171-180.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: บวรวิช รอดรังษี และปาณิสรา หาดขุนทด. (2562). การพัฒนาเว็บฝึกอบรมการเรียนแบบผสมผสาน เรื่อง การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, วารสารมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(3), 163-172.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ธนากร แสงกุดเลาะ และปาณิสรา หาดขุนทด. (2561). การพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการติดตามงบประมาณ รายรับตามแผนงบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, วารสารวิชาการศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 5(2), 35–46.
อ้างอิง: ปาณิสรา หาดขุนทด และธนากร แสงกุดเลาะ. (2561). การพัฒนาระบบประเมินการสอนออนไลน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, วารสารวิชาการศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, 5(1) : 69 – 80.
อ้างอิง: ปาณิสรา ตาชัยภูมิ และคณะ. (2561). การพัฒนาบทเรียนแบบยูเลิร์นนิ่ง ตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือเรื่อง วิธีปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่แบบเกษตรอินทรีย์ ชุมชนบ้านหนองไผ่, วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 13(1), 137 -148.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ธนากร แสงกุดเลาะ และปาณิสรา หาดขุนทด. (2563). การพัฒนาระบบติดตามการดำเนินงานโครงการตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ บันได 4 ขั้น สู่ความยั่งยืน, ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 6.(109-116).
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ปาณิสรา ตาชัยภูมิ. (2560). สำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ, การประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 3 (หน้า 288-295). มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ปาณิสรา ตาชัยภูมิ. (2559). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับผังมโนทัศน์ที่ส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี, การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 2559 (RMU) – GRC2016).
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การเก็บข้อมูลจากเซ็นเซอร์ผ่านไมโครคอนโทรลเลอร์
อ้างอิง: อบรม CLO รุ่น PSRU#1
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตร OBE รุ่น 1
อ้างอิง: บรมเชิงปฏิบัติการหลักการเขียน Protocol & ICF อย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (สำหรับผู้วิจัย)
อ้างอิง: การพัฒนาผลงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
อ้างอิง: เทคนิคการเขียนทุนวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน
อ้างอิง: โครงการเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Team Teaching
อ้างอิง: WUNCA 43 การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การดำเนินกิจกรรมบนระบบเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา ครั้งที่ 43
อ้างอิง: สร้าง Quiz อัตโนมัติจากเนื้อหาบน PowerPoint
อ้างอิง: Advance Data Analysis using Generative AI
อ้างอิง: การผลิตภาพยนตร์สั้น เพื่อใช้งานบนโซเชียลมีเดีย
อ้างอิง: สร้างคอนเทนต์อย่างไรให้ปัง สู่การสร้างรายได้ในยุคดิจิทัล
อ้างอิง: การใช้ปัญญาประดิษฐ์ ChatGPT เพื่อช่วยสนับสนุนงานวิชาการและวิจัย
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.