ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์  
  Asst. Prof. Dr. SUJITRA-LERTSEM BOONYANANT
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267087
อีเมล์: sujitra.b@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ศษ.บ. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2561
2 ศศ.ด. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2560
3 ศศ.บ (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2559
4 ศศ.ม. (ญี่ปุ่นศึกษา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2547
5 ศศ.บ. (ภาษาญี่ปุ่น) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2543
 
ความเชี่ยวชาญ
ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาศาสตร์
 
ความสนใจ
ภาษาศาสตร์, ภาษาอังกฤษ, ภาษาญี่ปุ่น, การวัดและประเมินผลทางการศึกษา
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การสอนดนตรีมลายูระดับอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซีย : กรณีศึกษาการสอนดนตรีกาเมลันในมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติมาเลเซีย. วารสารครุพิบูล, 7(1), 108-119.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์ และอัญชลี วงศ์วัฒนา. (2560). การศึกษาหน่วยสร้างกรรมวาจกในภาษาญี่ปุ่นในแนวไวยากรณ์หน้าที่นิยมแบบลักษณ์ภาษา. วารสารครุพิบูล, 4(2), 75-92.
ปี พ.ศ. 2548 (2005)
อ้างอิง: สุจิตรา เลิศเสม. (2548). ความเข้าใจของผู้ศึกษาภาษาญี่ปุ่นชาวไทยเกี่ยวกับประโยคกรรมวาจก และประโยค [-te morau] [-te kureru]. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาญี่ปุ่นศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ปี พ.ศ. 2544 (2001)
อ้างอิง: รักพงษ์ แซ่โซว, และสุจิตรา เลิศเสม. (2544). การปฏิรูปการศึกษาในยุคเมจิ. ญี่ปุ่นศึกษา, (2), 15-25.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: ทัศนคติของบุคคลในสถานศึกษาต่อการใช้ภาษาไทยไม่มาตรฐานบนเครือข่ายสังคมออนไลน์
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: ฉลัญธร ช่างนาวา, ทิพย์สุดา เจริญทรัพย์ และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2560). การศึกษาข้อผิดพลาดในการแปลภาษาสุภาพรูปยกย่องของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. โปสเตอร์ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2560. วันที่ 23-24 มีนาคม 2560.
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์, สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์ และสุรศักดิ์ อุสาหะกานนท์. (2560). สาขาวิชาดนตรีระดับอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซีย. โปสเตอร์นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2560. วันที่ 23-24 มีนาคม 2560.
อ้างอิง: สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์, กัญญารัตน์ พุ่มหมัน, ธมลวรรณ ยศปัญญา, นิรวิทย์ ทองทา, และ ภาณุพรรณ รับผล. (2561). ผลงานการนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2561 แบบโปสเตอร์.
อ้างอิง: กานดา ไชยเพชร, ศศิวิมล ควรสมบัติ, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2561). การศึกษาความหมายและประเภทของคำเลียนเสียงธรรมชาติในหนังสือการ์ตูนภาษาญี่ปุ่น. ผลงานนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2561 แบบโปสเตอร์.
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบสาขาวิชาดนตรีระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศมาเลเซียและประเทศไทย. ผลงานนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2561 แบบโปสเตอร์.
อ้างอิง: สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์, กัญญารัตน์ พุ่มหมัน, ธมลวรรณ ยศปัญญา, นิรวิทย์ ทองทา, และภาณุพรรณ รับผล. (2561). การศึกษาความสามารถในการใช้คำพ้องของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ผลงานการนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2561 แบบโปสเตอร์.
อ้างอิง: กานดา ไชยเพชร, ศศิวิมล ควรสมบัติ, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2561). การศึกษาความหมายและประเภทของคำเลียนเสียงธรรมชาติในหนังสือการ์ตูนภาษาญี่ปุ่น. ผลงานการนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2561 แบบโปสเตอร์.
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบสาขาวิชาดนตรีระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศมาเลเซียและประเทศไทย. ผลงานการนำเสนอการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2561 แบบโปสเตอร์.
อ้างอิง: บุญเติม ฉ่ำเฉื่อย, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดฝึกทักษะเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก ตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายและการเรียนรู้แบบร่วมมือ. การนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2”. (แบบปากเปล่า)
อ้างอิง: ณรงค์เดช ปงรังสี, เคลน บุณยานันต์, ธิปไตย สุนทร, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดฝึกการอ่านโน้ตสากลด้วยขลุ่ยรีคอร์เดอร์สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพิณพลราษฎร์ตั้งตรงจิต 12 จังหวัดพิษณุโลก ตามแนวคิดของโคดาย. การนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2”. (แบบโปสเตอร์)
อ้างอิง: ดนยา แย้มมาลี, อนุชสารเขียวกรุง และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 183-190. (แบบโปสเตอร์)
อ้างอิง: บุญเติม ฉ่ำเฉื่จะอย, เคลน บุษยายันต์และสุจิตรา เลิศเสม บุษยายันต์. (2562). การพัฒนาชุดฝึกทักษะเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก ตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายและการเรียนรู้แบบร่วมมือ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 1-12. (แบบรายงานปากเปล่า)
อ้างอิง: พรนภา มีชำนาญ, ฐิตินันต์ โหนนา, สิริทิพย์ ศรีนุเสน, สุชาดา ราชวงศ์, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนในการเรียนการสอนของสาขาวิชาดนตรีศึกษาและสาขาวิชาดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: ณัฎฐากร หวีวงษ์มา, ภัทรชน แก้วสุริยะ, กิตติพงษ์ ตรีเศียร, คณากร พรมด่วน, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาปัญหาในการฝึกซ้อมดนตรีของนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: กฤษณะ แก้วบัวคำ, ณัฐวัตร สุริยวงค์, อรนลิน หมีดง, นิชกมล ยะลา, ปรัชญากรณ์ ยุพา, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). ชุดการสอนทักษะการตีกลองขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้เทคนิคการสอนรูปภาพแทนตัวโน้ต : กรณีศึกษาโรงเรียนดนตรี I Can Play. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: จิรภัทร มีชัย, อัครชัย จันทะคะมุด, พินิจ พนัสจุฑาบูลย์, ภานุวัฒน์ กองแก้ว, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีตะวันตกเรื่องขั้นคู่ สำหรับนักศึกษาสาขาดนตรีศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามทฤษฎีการเรียนรู้้ของเพียเจต์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: สุภาวดี พรมช่วย, สุนิสา ออมสิน, สุภาวรรณ บุญช่วย, วันทนา เทียนสว่าง, ชาญณรงค์ มานักฆ้อง, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีสากล. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: อภิรติ เจริญรูป, รัชชานนท์ อินกองงาม, นิติชัย ชมโลก, นรเศรษฐ์ พะหงษา, จิรวัฒน์ สวัวดี, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนคีย์บอร์ดเรื่องคอร์ดเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามแนวคิดของธอร์นไดค์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: รักษิณา ภูท้วม และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาอนุพากย์วิเศษณ์แสดงเวลาในภาษาญี่ปุ่น. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (โปสเตอร์)
อ้างอิง: ศิริศักดิ์ วงรอด, ศุภฤกษ์ ตันติอำนวย และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษารูปไวยากรณ์ระดับ N3 และ N2 ที่ปรากฏในนวนิยายญี่ปุ่น. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (โปสเตอร์)
อ้างอิง: ธนัชพร มั่นเมือง, เสาว์ศิริ จันทร์ศรีเผือก และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาการแปลประโยครูปถูกกระทำและรูปให้กระทำในบทบรรยายใต้ละครชุดญี่ปุ่นเรื่องอรุณสวัสดิ์ส่งรักมาทักทาย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (โปสเตอร์)
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
อ้างอิง: จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น (Thai MOOC)
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE รุ่น มรพส#2
อ้างอิง: อ่านภาษาญี่ปุ่นอย่างไรให้เข้าใจ (การสอนการอ่าน)
อ้างอิง: การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมแลการจัดทำบรรณานุกรมด้วยโปรแกรม EndNote Web & Zertero
อ้างอิง: คำในภาษาญี่ปุ่น
อ้างอิง: เตรียมความพร้อมการประกันคุณภาพการศึกษา ด้วยเกณฑ์การประเมิน ASEAN University Network Quality Assurance (AUN-QA)
อ้างอิง: เทคนิคการเขียนภาษาญี่ปุ่น : สอนอะไร ประเมินอย่างไร
อ้างอิง: การจัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#2
อ้างอิง: การสืบค้นฐานข้อมูลเพื่อการศึกษาค้นคว้าและการตั้งค่า VPN & Proxy
อ้างอิง: ภาษาญี่ปุ่นเพื่ออาชีพผู้ดูแลผู้สูงอายุ
อ้างอิง: การดูแลผู้สูงอายุ 1
อ้างอิง: เทคนิคการนำเสนองานวิชาการ
อ้างอิง: การศึกษาที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้
อ้างอิง: ภาษาศาสตร์เบื้องต้น
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ฟังภาษาญี่ปุ่นอย่างไรให้รู้เรื่อง (การสอนการฟัง)
อ้างอิง: การแปลกับการสอนภาษาญี่ปุ่น
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ Retreat ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏ ระดับหลักสูตร รุ่นที่ 1
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในหลักเกณฑ์และวิธีการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ ตามเกณฑ์ ก.พ.อ. ปี พ.ศ. 2563
อ้างอิง: การสร้างสรรค์งานกราฟิกด้วย Canva
อ้างอิง: การสร้างแบบทดสอบ ข้อสอบออนไลน์พร้อมเฉลย ด้วย Google Forms
อ้างอิง: สอนอะไร อย่างไร ในวิชาสังคมและวัฒนธรรมญี่ปุ่น
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: เจาะลึกภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่น : คำนั้นสำคัญไฉน
อ้างอิง: 公開記念オンラインセミナー『いろどり」』で教えよう!
อ้างอิง: การสืบค้นข้อมูลเพื่อการค้นคว้าและเขียนรายงาน
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: เทคนิคการนำเสนองานวิชาการ
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: 2009-2010 Long-Term Training Program for Foreign Teachers of Japanese Language
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.