ชื่อ-นามสกุล
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์เพชรายุทธ แซ่หลี  
 Asst. Prof. Phetcharayud Sae-lee
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: phetcharayud@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วศ.ม. (วิศวกรรมการจัดการ) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2557
2 วศ.บ. (วิศวกรรมอุตสาหการ) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553
 
ความเชี่ยวชาญ
Production and Operation Management, Operation Research, Logistic Management
 
ความสนใจ
Transportation Modeling, Artificial Intelligence, Logistics Management
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: หทัยธนก พวงแย้ม, เพชรายุทธ แซ่หลี, วชิระ วิจิตรพงษาและอลงกรณ์ เมืองไหว. (2566). การศึกษาและพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานการผลิตกาแฟ กรณีศึกษาไร่กาแฟจงซ่าง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต. 13(1): 88-103.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, วชิระ วิจิตรพงษา และหทัยธนก พวงแย้ม. (2564). การศึกษาทัศนคติและปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อเครื่องสำอางจากสมุนไพรของนักศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาเขตจังหวัดพิษณุโลก เพื่อเจาะตลาดในกลุ่มลูกค้าใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 15(2): 483-501.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, วชิระ วิจิตรพงษา และ หทัยธนก พวงแย้ม, (2560). การจัดเส้นทางการขนส่งน้ำดื่มโดยใช้การโปรแกรมเชิงเส้น กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัด รัศมี 2015, วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2, หน้า 48-59.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, อภิชัย ฤตวิรุฬห์. แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นจำนวนเต็มสำหรับการวางแผนการผลิตเครื่องสำอางจากสมุนไพร. วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ. ปีที่ 37 ฉบับที่ 3, 2557, หน้า 347-360.
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, อภิชัย ฤตวิรุฬห์. แบบจำลองกำหนดการเชิงเส้นจำนวนเต็มผสมสำหรับการวางแผนแรงงานในการผลิตขิงดอง. วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 9 ฉบับที่ 2, 2557.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, ธณิดา โขนงนุช และหทัยธนก พวงแย้ม. (2562). การศึกษาโซ่อุปทานของสับปะรด ณ ตลาดไทยเจริญ จังหวัดพิษณุโลก เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโซ่อุปทาน. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 12: 2562 “การวิจัยสหวิทยาการบนพื้นฐานยุค 5.0”. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. หน้า 714-727.
อ้างอิง: หทัยธนก พวงแย้ม, เพชรายุทธ แซ่หลี, มัลลิกา สีฟอง และกฤษฎา เรณุมาน. (2562). การลดเวลาการทำงานด้านการนำข้อมูลตู้สินค้าเข้าสู่ระบบปฏิบัติการ. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 12: 2562 “การวิจัยสหวิทยาการบนพื้นฐานยุค 5.0”. มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. หน้า 591-600.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: หทัยธนก พวงแย้ม, เพชรายุทธ แซ่หลี และวชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การประยุกต์ใช้ปัญหาการจัดเส้นทางการเดินรถสำหรับการเก็บขนขยะมูลฝอย กรณีศึกษาเทศบึงระมาณ ต.บึงระมาณ อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 11 “การบูรณาการภูมิปัญญาสู่นวัตกรรมและการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน”, 571-584.
อ้างอิง: หทัยธนก พวงแย้ม, เพชรายุทธ แซ่หลี และวชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การศึกษาพฤติกรรมและความคิดเห็นการจัดการขยะของตำบลบึงระมาณ อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4" ประจำปี พ.ศ. 2561, 921-931.
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, หทัยธนก พวงแย้ม, เบญญาภา เอี่ยมแจ้ง, ศุภรัตน์ สุขฉิม, สิรินนารถ สิงห์จันทร์ และ สุชาดา ชาญณรงค์. (2561). การศึกษาการลดข้อผิดพลาดในการจัดลังสินค้าตามคำสั่งซื้อ กรณีศึกษา บริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน) ศูนย์กระจายสินค้าบางบัวทอง. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 4, มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, หน้า 149-154
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, หทัยธนก พวงแย้ม และวชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การศึกษาปัญหาการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่สุขเกษม อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. งานประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4" ประจำปี พ.ศ. 2561, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 900-909.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: เพชรายุทธ แซ่หลี, วชิระ วิจิตรพงษา และหทัยธนก พวงแย้ม. (2018). การศึกษาปัญหาการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและ องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านใหม่สุขเกษม อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. งานประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 "Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน", มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการอบรมพัฒนาทักษะ Soft Skills ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (Social Engineer) เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน สำหรับคณาจารย์และบุคลากร
อ้างอิง: Why and how to write quality manuscripts?
อ้างอิง: โครงการเสริมสร้างทักษะวิชาชีพด้านวิศวกรรมโลจิสติกส์ หัวข้อ "การจัดการข้อมูลด้วย Google data studio"
อ้างอิง: การวางแผนการลงทุนการเงินส่วนบุคคลและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการออกแบบหลักสูตรและสื่อการสอนในยุคดิจิทัล
อ้างอิง: โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการผลิตบัณฑิต
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome-Based Education): In-House Training ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 3
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#3
อ้างอิง: การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนในมุมมองของผู้ประกอบการ
อ้างอิง: การเขียนเส้นทางสู่ผลกระทบงานวิจัย (Impact Pathway)
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: เขียนข้อเสนอโครงการวิจัยอย่างไร จึงจะได้ทุนภายนอก
อ้างอิง: การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อเสนอขอทุน PMU วช.
อ้างอิง: โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการผลิตบัณฑิต หัวข้อ “การพัฒนาหลักสูตรวิถีใหม่”
อ้างอิง: โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการวิจัย หัวข้อ “การบริหารจัดการงานวิจัยเพื่อนำไปสู่การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ”
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.