ชื่อ-นามสกุล
 อาจารย์อรุโณทัย อินทนิด  
 Miss Arunothai Inthanid
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: arunothai.kl@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ศศ.ม. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2557
2 ค.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 2554
 
ความเชี่ยวชาญ
ภาษาไทย, การใช้ภาษาไทย
 
ความสนใจ
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: อรุโณทัย อินทนิด ภัครพล คำหน้อย และกาญจนา วิชญาปกรณ์.(2565). สถานภาพการวิจัยด้านการเรียนการสอนวรรณคดีไทย ช่วงปี พศ.2545-2564. วารสารครุพิบูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 9(2), 337-354
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: พรทิพย์ ครามจันทึก อรุโณทัย คล่องแคล่ว และวัชรีย์ อินทชิต.(2561).การพัฒนาเครื่องมือสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นแนวทาการเรียนการสอน วิชาภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเป็นครู.วาสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี ปีที่ 14 (3), 20-25.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: พรทิพย์ ครามจันทึก อรุโณทัย คล่องแคล่ว และวัชรีย์ อินทะชิด.(2560). การประเมินเอกสาร ประกอบการสอนรายวิชาภาษาไทยสำหรับครูโดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model. วาสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี ปีที่ 14 (2), 54-62.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: อรุโณทัย คล่องแคล่ว.(2556).คําอุทานภาษาไทยถิ่นเชียงใหม่.วารสารภาษาและวรรณกรรมไทย ปีที่3 (2), 104-119.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: กัญญารัตน์ นาคอินทร์ อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. (2565). การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำที่มีตัวการันต์ โดยใช้แบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดโบสถ์. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 4: หน้า 2165-2179.
อ้างอิง: ณัฐธิดา ทองประกอบ อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. (2565). การพัฒนาทักษะการเขียนโดยใช้ชุดเกมการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดโบสถ์. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 4: หน้า 2180-2188.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ปภัสสร ดีธงทอง, สุปราณี สุรวดี, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำ โดยการใช้เพจเฟซบุ๊กร่วมกับเทคนิคการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 3: 2564. น. 932-944.
อ้างอิง: ประภาพร อหิงสากุล, กิติยา ปราบจินดา, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เกมการแข่งขันสะกดคำวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.3 โรงเรียนพิณพลราษฎ์ตั้งตรงจิตร 12. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 3: 2564. น. 945-956.
อ้างอิง: ศิรภัสสร งิ้วราย, อรชรา จันทรังษี, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาการอ่านจับใจความสำคัญเชิงวิเคราะห์ โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญเชิงวิเคราะห์จากบทร้อยกรองสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 3: 2564. น. 1047-1060.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: มณีรัตน์ ดีจอม, ดาลัด ปานโท้, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาทักษาการอ่านออกเสียงคำควบกล้ำโดยใช้แบบฝึกทักษะ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2: 2562. น. 204-216.
อ้างอิง: ศิวาพร ปะมายะยัง, พิมล วัฒนโยธิน, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำที่ไม่ตรงตามมาตรา โดยใช้แบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2: 2562. น. 242-253.
อ้างอิง: สุภัทรชา เขียวยันต์, ชญานันท์ รักษา, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาคุณภาพการอ่านด้วยแบบฝึกทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1.ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2: 2562. น. 266-277.
อ้างอิง: แพรพลอย เพิ่มการนำ, นุชจรินทร์ ราชสูงเนิน, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาทักษะการเขียนย่อความ โดยใช้แบบฝึกทักษะสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2: 2562. น. 299-310.
อ้างอิง: มณฑิรา ใจขัน, สุรินทร์ โตสำลี, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2: 2562. น. 370-382.
อ้างอิง: ศิริวรรณ บัวเผียน, กุหลาบ สุวรรณเทพ, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2: 2562. น. 458-470.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
อ้างอิง: ปภัสสร ดีธงทอง, สุปราณี สุรวดี, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคำ โดยการใช้เพจเฟซบุ๊กร่วมกับเทคนิคการศึกษาค้นคว้าของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 3: 2564. น. 932-944.
อ้างอิง: ประภาพร อหิงสากุล, กิติยา ปราบจินดา, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เกมการแข่งขันสะกดคำวิชาภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.3 โรงเรียนพิณพลราษฎ์ตั้งตรงจิตร 12. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 3: 2564. น. 945-956.
อ้างอิง: ศิรภัสสร งิ้วราย, อรชรา จันทรังษี, อรุโณทัย อินทนิด และกุสุมา ยกชู. การพัฒนาการอ่านจับใจความสำคัญเชิงวิเคราะห์ โดยใช้แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญเชิงวิเคราะห์จากบทร้อยกรองสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนอนุบาลพิษณุโลก. ในรายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 3: 2564. น. 1047-1060.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: การเขียนบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร และการเขียนบทความทางวิชาการ
อ้างอิง: เสวนาวิชาการ "Creativ Design Thinking" การคิดออกแบบเชิงสร้างสรรค์ โดยภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: หลักสูตรการจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE รุ่น มรพส 1
อ้างอิง: หลักสูตรตามแนวทาง OBE เพื่อรับการประเมินตามเกณฑ์ AUN-QA
อ้างอิง: หลักสูตร "การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส 2”
อ้างอิง: สำรวจศาสตร์ ศึกษาสื่อ ลงมือวิจารณ์ โดย สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์
อ้างอิง: การเรียนภาษาไทยผ่านบริบทสังคมและวัฒนธรรมไทย ณ มหาวิทยาลัยภาษาต่างประเทศแห่งมหาวิทยาลัยดานัง ประเทศเวียดนาม
อ้างอิง: อบรมพัฒนาทักษะการเรียนรู้สมรรถนะดิจิทัล(IC3) โดยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การใช้งานระบบการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-Signature(PSRU)
อ้างอิง: กิจกรรมพัฒนาทักษะการเรียนรู้สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ Open Access ผลกระทบต่อการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการในวารสารแบบเปิด โดย สำนักวิทยทรัพยากรจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การพัฒนาทักษะอาจารย์ที่ปรึกษา “ชีวิตวิถีใหม่ ใช้ใจดูแล” ผ่านระบบ zoom meeting โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: บทบาทและแนวทางการผลิตคลิปวิดีโอ สำหรับการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การทำหลักสูตร Sandbox โดย เครือข่ายมหาวิทยาลัยราชภัฏ
อ้างอิง: หลักสูตรคณาจารย์นิเทศ ผู้นิเทศ และผู้ปฏิบัติงานสหกิจศึกษา และการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (CWIE) ในสถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบการ โดย เครือข่ายพัฒนาสหกิจศึกษาภาคเหนือตอนล่าง
อ้างอิง: การประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มสถาบันอุดมศึกษากลุ่มที่ 2 (กลุ่มพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม) และการประกันคุณภาพมหาวิทยาลัยอาเซียน โดย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: จริยธรรมการวิจัย โดย มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้นำของนักศึกษาเชิงสร้างสรรค์ทักษะด้านการบริหารสถานศึกษา ในหัวข้อ นวัตกรรมการบริหารการศึกษาสู่ห้องเรียนอนาคต จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.