ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พิชิตชัย ปิมแปง  
  Asst. Prof. Dr. Pichitchai Pimpang
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 0840038615
อีเมล์: p.pimpang@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2558
2 วท.ม. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552
3 วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2549
 
ความเชี่ยวชาญ
วิทยาศาสตร์/ฟิสิกส์/เคมี
 
ความสนใจ
วิทยาศาสตร์/ฟิสิกส์/เคมี, gas sensors, chemical sensors, nanotechnology, thin film technology, graphene
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: S. Wongrerkdee, S. Choopun and P. Pimpang, Electrical and water resistance properties of conductive paste based on gold/silver composites, Journal of Metals, Materials and Minerals, 2023, 33(4), 1786.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: S. Wongrerkdee and P. Pimpang, Fluorescence quenching probe based on graphene quantum dots for detection of copper ion in water, Integrated Ferroelectrics, 2022, 222(1), 56-68.
อ้างอิง: Sucheewan Krobthong, Sawitree Wongrerkdee, Pichitchai Pimpang, Sasimonton Moungsrijun, Supphadate Sujinnapram, Sanpet Nilphai, Tipawan Rungsawang, and Sutthipoj Wongrerkdee, ZnO Nanoparticles Coprecipitation with Aluminum and Copper Ions for Efficient Photocatalytic Degradation of Commercial Glyphosate, Integrated Ferroelectrics, 2022, 222(1), 69-83.
อ้างอิง: พิชิตชัย ปิมแปง ไกรลาส มาตรมูล นววรรณ ทองมี กุลวดี ปิ่นวัฒนะ เทพธิทัต เขียวคา และวีระศักดิ์ ทองอ่อน. (2565). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง สารกึ่งตัวนา สาหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7. หน้า 10-18.
อ้างอิง: ไกรลาส มาตรมูล พิชิตชัย ปิมแปง ชุติพนธ์ ศรีสวัสดิ์ เทพธิทัต เขียวคำ. การกาหนดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ของบทเรียนจากแนวคิดเชิงคานวณของนักเรียนผ่านการศึกษาชั้นเรียน: ขั้นสร้างแผนจัดการเรียนรู้ร่วมกัน. วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับบัณฑิตศึกษา). 2565, 10(1), 164-179.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: S. Wongrerkdee, S. Moungsrijun, P. Pimpang, K. Hongsith, S. Choopun, Linking Bridge Improvement of ZnO/N719 Interfaces via Ammonia Treatment for Enhancing Dye-sensitized Solar Cell, Surfaces and Interfaces, 2021, 23, 100991. doi: j.surfin.2021.100991.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: S. Phophayu, P. Pimpang, S. Wongrerkdee, S. Sujinnapram, S. Wongrerkdee, Modified graphene quantum dots-zinc oxide nanocomposites for photocatalytic degradation of organic dyes and commercial herbicide, Journal of Reinforced Plastics and Composites, 2020, 39(3-4), 81-94.
อ้างอิง: S. Wongrerkdee and P. Pimpang, Ultraviolet‐Shielding and Water Resistance Properties of Graphene Quantum Dots/Polyvinyl Alcohol Composite-based Film, Journal of Metals, Materials and Minerals, 2020, 30(4), 90-96.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: พิชิตชัย ปิมแปง และสุภาพ ชูพันธ์, เซ็นเซอร์ตรวจวัดรังสียูวีที่เตรียมจากโครงสร้างนาโนซิงก์ออกไซด์ที่มีเซอร์เฟซพลาสมอนเรโซแนนซ์ช่วย (UV Sensor based on Zinc Oxide Nanostructures Assisted by Surface Plamon Resonance), PSRU Journal of Science and Technology, 2019, 4(2): 11-22.
อ้างอิง: P. Pimpang, S. Wongrerkdee and S. Choopun. Charge Transfer Improvement of ZnO-based Dye-sensitized Solar Cells Modified with Graphite Nanosheets and Bilayer Photoelectrode Structures. Ferroelectrics, 2019, 552, 1-9.
อ้างอิง: S. Phattum, P. Pimpang, S. Wongrerkdee, K. Lohawet, A. Kaewprajak, P. Kumnorkaew, S. Sujinnapram,S. Moungsrijun, S. Krobthong, and S. Wongrerkdee, Interfacial improvement of hole transporting layer using graphene quantum dots for efficiency enhancement of organic photovoltaics, Interdisciplinary Research Review, 2019, 14(6), 57-61.
อ้างอิง: R. Sumang, Theerachai Bongkarn, Pichitchai Pimpang, Nattawut Thongmee, Correlation of structural, microstructure and dielectric properties of substituted and un-substituted CaCu 3 Ti 4-x A x O 12 ceramics. Ferroelectrics, 2019, 552, 84-94.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: P. Pimpang, R. Sumang and S. Choopun, Effect of Concentration of Citric Acid on Size and Optical Properties of Fluorescence Graphene Quantum Dots prepared by Tuning Carbonization Degree, Chiang Mai J. Sci. 2018, 45(5); 2005-2014.
อ้างอิง: พิชิตชัย ปิมแปง ,วีระศักดิ์ ทองอ่อน และสุภาพ ชูพันธ์. การปรับปรุงสมบัติการตรวจวัดอะเซทิลีนของเส้นลวดนาโนซิงก์ออกไซด์ด้วยการเติมอนุภาคนาโนทองคำ (Improvement in Acetylene Sensing Properties of Zinc Oxide Nanowires Embedded with Gold Nanoparticles). PSRU Journal of Science and Technology, 2018, 3(2): 1-12
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: P. Pimpang, A.S. Zoolfakar, R.A. Rani, R.Ab. Kadir, D. Wongratanaphisan, A. Gardchareon, K. Kalantar-zadeh, S. Choopun, Hydrogen sensors based on gold nanoclusters assembled onto ZnO nanostructures at low operating temperature, Ceram. Int. 2017, 43, S511–S515
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: P. Pimpang, A.S. Zoolfakar, D. Wongratanaphisan, A. Gardchareon, E.P. Nguyen, S. Zhuiykov, S. Choopun, K. Kalantar-Zadeh, Atomic Force Microscopy Adhesion Mapping: Revealing Assembly Process in Inorganic Systems, J. Phys. Chem. C 2013, 117, 19984-19990
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: P. Pimpang, and S. Choopun, Monodispersity and Stability of Gold Nanoparticles Stabilized by Using Polyvinyl Alcohol, Chiang Mai J. Sci. 2011, 38(1), 31-38.
อ้างอิง: P. Pimpang, D. Wongratanaphisan, A. Gardchareon and S. Choopun, Size Reduction of Gold Nanoparticles by Pulsed Laser Ablation and Reirradiation in Water Media, Mater. Sci. Forum. 2011, 695, 174-177
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
อ้างอิง: E. Wongrat, P. Pimpang and S. Choopun, Comparative Study of Ethanol Sensor Based on Gold Nanoparticles: ZnO Nanostructure and Gold: ZnO Nanostructure, Appl. Surf. Sci., 2009, 256, 968–971
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: P. Pimpang, W. Sutham, N. Mangkorntong, P. Mangkorntong and S. Choopun, Effect of Stabilizer on Preparation of Silver and Gold Nanoparticle Using Grinding Method, Chiang Mai J. Sci. 2008, 35(2), 250-257
อ้างอิง: E. Wongrat, P. Pimpang, N. Mangkorntong and S. Choopun, Ethanol Sensing Characteristics of ZnO Nanostructures Impregnated by Gold Colloid, Adv. Mater. Res. 2008, 55-57, 293-296
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
-
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: December 04-07, 2016 at the GIS TAIPEI TECH Convention center, Taipei, Taiwan
อ้างอิง: PichitchaiPimpang, RattiphornSumang, and SupabChoopun, The First Materials Research Society of Thailand International Conference, The Empress Hotel, Chiang Mai, Thailand during October 31st - November 3rd, 2017
อ้างอิง: Pichitchai Pimpang, Sutthipoj Wongrerkdee and Supab Choopun. 2018. Charge Transfer Improvement of ZnO-based Dye-sensitized Solar Cells Modified with Graphite Nanosheets and Bilayer Photoelectrode Structures. International Conference on Science and Technology of Emerging Materials 2018 (STEMa2018) at Holiday Inn Pattaya during July 18-20, 2018.
อ้างอิง: พิชิตชัย ปิมแปง ไกรลาส มาตรมูล นววรรณ ทองมี กุลวดี ปิ่นวัฒนะ เทพธิทัต เขียวคำ และวีระศักดิ์ ทองอ่อน. การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง สารกึ่งตัวนำ สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาวิชาฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: โครงการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาบุคคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 5 นวัตกรราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
อ้างอิง: โครงการจัดการความรู้ KM เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรสายวิชาการของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวข้อ การพัฒนาโครงการเพื่อขอรับสนับสนุนงบประมาณในโครงการสำคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
อ้างอิง: EDUCA Roadshow 2023 กิจกรรมสัญจรพัฒนาวิชาชีพครูประจำปี 2566 ใน Theme "พัฒนานวัตกรรม…เพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน Innovation for Learning to Sustainability" ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่
อ้างอิง: การอบรม In-House Training เรื่อง การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (outcome-Nased Education) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 3
อ้างอิง: การอบรม In-House Training เรื่อง การจัดทำแผนการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 3
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Research fellowship, the School of Electrical and Computer Engineering, RMIT University, Melbourne, Victoria, Australia on 4 April–26 September 2013.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: The 8th Siam Photon Science Camp on 9 – 13 May 2011at the National Synchrotron Research Center, Nakorn Rajsima, Thailand.
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: International Scientific Instrument Technology Workshop (ISITW 2010) on 18 – 29 October 2010 at Instrument Technology Research Center (ITRC), Hsinchu, Taiwan, ROC.
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: กรรมการสอบปัญหาพิเศษ เรื่อง การประยุกต์ใช้เครื่องซีเอ็นซีในการเคลือบฟิล์มบางแกรฟีนควอนตัมดอทด้วยวิธีสเปรย์ไพโรไลซีส. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วันเสาร์ที่ 3 เมษายน 2564 เวลา 9.00-12.00 น.
ชื่อโครงการ: กรรมการสอบปัญหาพิเศษ เรื่อง การใช้ photoluminescence detecting apparatus เพื่อศึกษาการเรืองแสงของอะฟลาทอกซิน ชนิด B. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วันเสาร์ที่ 3 เมษายน 2564 เวลา 9.00-12.00 น.
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง The Incredible Potential of Graphene. บรรยายออนไลน์แก่ โครงการจัดตั้งภาควิชาฟิสิกส์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน วันที่ 5 สิงหาคม 2564 เวลา 13.00-16.30 น.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: วิทยาการบรรยาย "การออกแบบและการประดิษฐ์ของเซ็นเซอร์ที่ใช้วัสดุนาโนและระบบสมองกลฝังตัว". มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วันที่ 2 มกราคม 2563.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: วิทยากรอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการนักประดิษฐ์แก้วสมองกล "เซนเซอร์กับเครื่องมือวัดอุณหภูมิพกพา". หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาฟิสิกส์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ วันที่ 17-18 พฤศจิกายน 2561.
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ระบบอิเล็กตรอนสองมิติบนพื้นผิวโค้งที่มีรัศมีคงที่ (Two-dimensional electron system on a curved surface with constant radius) (กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก มหาวิทยาลัยนเรศวร)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: การศึกษาการฟลูออเรสเซนต์ของรังสีอินฟราเรดจากคลอโรฟิลล์ (กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยนเรศวร)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: การตรวจวัดสารพิษจากเชื้อราด้วยเทคนิคฟลูออเรสเซนต์แสงเลเซอร์ (กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยนเรศวร)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: การวิเคราะห์ฟังก์ชันความสัมพันธ์ในเวลาของความเข้มแสงกระเจิงและการหาสัมประสิทธิ์การแพร่ของอนุภาคคอลลอยด์ (กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยนเรศวร)
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: การสังเคราะห์และการหาลักษณะเฉพาะของZn2Ti3O8โดยเทคนิคออกซิเดชันเชิงความร้อนเพื่อประยุกต์เป็นตัวตรวจจับก๊าซ (กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: Paper award "Charge Transfer Improvement of ZnO-based Dye-sensitized Solar Cells Modified with Graphite Nanosheets and Bilayer Photoelectrode Structures. International Conference on Science and Technology of Emerging Materials 2018 (STEMa2018)"
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: คำขอรับอนุสิทธิบัตรเลขที่ 20030000808
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: คำขอสิทธิบัตรเลขที่ 1601000074
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.