ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. มนตรี วงค์ศิริวิทยา  
  Dr. Montree Wongsiriwittaya
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: montree.w.@yahoo.com
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2566
2 วศ.ม. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2560
3 วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2552
 
ความเชี่ยวชาญ
วิศวกรรมเครื่องกล, พลังงานทดแทน, การจัดการด้านพลังงาน
 
ความสนใจ
พลังงานทดแทน, กระบวนการไพโรไลซีส,ทอร์รีแฟกชัน,ชีวมวล
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: วัชรพงษ์ สุขประเสริฐ,วัชรากร ใจตรง, เอกภูมิ บุญธรรมและมนตรี วงค์ศิริวิทยา. การปรับปรุงสมบัติของเปลือกมะขามเปรี้ยวยักษ์จากกระบวนการทอร์รีแฟกชัน โดยใช้เตาปฏิกรณ์แบบเบดนิ่ง. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 7 “วิจัยและพัฒนานวัตกรรมสู่สังคมวิถีใหม่อย่างยั่งยืน”. ปี 2564. หน้า 87-93.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: อเหนก ดัสกรณ์, วัชรากร ใจตรง, เอกภูมิ บุญธรรม และ มนตรี วงค์ศิริวิทยา.ศึกษาการทำงานของรถไฟฟ้าร่วมพลังงานแสงอาทิตย์. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2563. หน้า 29-37
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: สรวิศ สอนสารี, เอกภูมิ บุญธรรม, เอกกฤษ แก้วเจริญ, วัชรากร ใจตรง, วีรวุธ เลพล และมนตรี วงค์ศิริวิทยา. การแก้ปัญหาความยากจนผ่านการบริการวิชาการเครื่องอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์. วารสารวิชาการรับใช้สังคม มทร.ล้านนา. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม - ธันวาคม 2562.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: วัชรากร ใจตรง และ มนตรี วงค์ศิริวิทยา. ผลการเผาไหม้ชีวมวลโดยตรงในเตาเผาเชื้อเพลิงระบบหัวเผาจากการอัดอากาศของพัดลมหอยโข่ง. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (ฉบับพิเศษ) สืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจำ ปี 2561 (เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม 2561) หน้า 191-198
อ้างอิง: วัชรากร ใจตรง, เอกภูมิ บุญธรรม และมนตรี วงค์ศิริวิทยา. สมบัติถ่านความร้อนสูงไม้กระถินณรงค์ ไม้ไผ่ ไม้กระถิ่นยักษ์และเปลือกทุเรียนจากการพัฒนาเตาเผาความร้อนสูง. การประชุมวิชาการ “มหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 14”.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: มนตรี วงค์ศิริวิทยา และ อดิศักดิ์ ปัตติยะ.“ ไบโอออยล์จากใบและยอดอ้อยที่ได้จากกระบวนการ ไพโรไลซีสแบบเร็วเชิงเร่งปฏิกิริยาโดยใช้เครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบฟอง” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีที่ 12 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2560 หน้า 114-126.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: มนตรี วงค์ศิริวิทยา และ สิงห์ทอง พัฒนเศรษฐานนท์. การประเมินศักยภาพพลังงานธรรมชาติจากการวิเคราะห์สภาวะสภาพอากาศ ณ บริเวณศูนย์กลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย. การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11. วันที่ 17 - 19 มิถุนายน 2558. หน้า 891-902
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: วัชรากร ใจตรง, เอกภูมิ บุญธรรม และ มนตรี วงค์ศิริวิทยา “สมบัติถ่านความร้อนสูงไม้กระถินณรงค์ ไม้ไผ่ ไม้กระถิ่นยักษ์และเปลือกทุเรียนจากการพัฒนาเตาเผาความร้อนสูง” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (ฉบับพิเศษ) ประชุมวิชาการครั้งที่ 14 หน้า 356-361.
อ้างอิง: วัชรากร ใจตรง และ มนตรี วงค์ศิริวิทยา “ผลการเผาไหม้ชีวมวลโดยตรงในเตาเผาเชื้อเพลิงระบบหัวเผาจากการอัดอากาศของพัดลมหอยโข่ง” วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ ฉบับที่ 3 (ฉบับพิเศษ) สืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจำปี 2561 หน้า 191-198.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: มนตรี วงค์ศิริวิทยา และ สิงห์ทอง พัฒนเศรษฐานนฑ์. “การประเมินศักยภาพพลังงานธรรมชาติจาก การวิเคราะห์สภาวะสภาพอากาศ ณ บริเวณศูนย์กลางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย” การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 ประจำปี 2558 ระหว่างวันที่ 17-19เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2558 ณ โรงแรมบางแสน เฮอริเทจ จังหวัดชลบุรี.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วัชรากร ใจตรง และมนตรี วงค์ศิริวิทยา. (2566). การปรับปรุงสมบัติน้ำมันเครื่องเก่าด้วยกระบวนการไพโรไลซีสแบบเร็ว ในเตาปฏิกรณ์แบบตกอิสระ. Life Sciences and Environment Journal. 24(2), 482-493.
อ้างอิง: เอกกฤษ แก้วเจริญ, อวิรุทธ์ สิงห์กลิ่น และ มนตรี วงค์ศิริวิทยา. (2566). การปรับปรุงสมบัติทางกายภาพของชีวมวลไม้กระถินยักษ์ด้วยกระบวนการทอร์รีแฟกชันแบบสั่น. พลังงานชุมชนมิติใหม่ในการพึ่งพาตนเองเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. ใน การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 16 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร วันที่ 2-4 เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2566. หน้า 266-274.
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลบ้านป่า อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: อบรมที่ปรึกษา Train the Trainer (Consultant)
อ้างอิง: จัดอบรม Train the Trainer เสริมสมรรถนะให้กับอาจารย์ เสริมสร้างแนวคิดการจัดการเรียนการสอน เพื่อสร้างนวัตกรรมให้กับนักศึกษาตอบโจทย์ มหาวิทยาลัย กลุ่ม 2
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อบรมหลักสูตรพลังงานแสงอาทิตย์
อ้างอิง: การผลิตพลังงานทดแทนจากชีวมวลและขยะเหลือทิ้ง
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: อบรมวิศวกรรมระบบรางในอนาคต
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: การใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อที่อยู่ในอาคารขนาดเล็ก
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: การประหยัดพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม
อ้างอิง: ความปลอดภัยและระบบดับเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการ การพัฒนาชุมชนต้นแบบเพื่อการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพชีวิต ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ณ ศูนย์การเรียนรู้บ้านวังตาด หมู่ 6 ตำบลวังแอ่น อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก (ดำเนินงานแล้วเสร็จ)
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อโครงการ: ถ่านความร้อนสูงจากเปลือกมะขามเปี้ยวยักษ์ (ชุมชนบ้านน้ำตกปอย อ.วังทอง จ.พิษณุโลก)
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.