ชื่อ-นามสกุล
  รองศาสตราจารย์ ดร. ณัฏฐิรา ทับทิม  
  Assoc. Prof. Dr. NATTHIRA TUPTIM
ตำแหน่ง: รองศาสตราจารย์
ตำแหน่งบริหาร: คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สังกัดหน่วยงาน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267087
อีเมล์: ntuptim@hotmail.com;natthira.t@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 Ph.D. (Languages and Societies Course) OSAKA University 2552
2 M.A. (Languages and Societies Course) OSAKA University of Foreign Language 2549
3 ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม 2545
 
ความเชี่ยวชาญ
ภาษาศาสตร์, ภาษาญี่ปุ่น
 
ความสนใจ
ภาษาศาสตร์, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย, การสอน,การศึกษาเทคนิคการสอน
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: พัทชา บุญยะรัตน์ สุธัญญา ปานทอง และณัฏฐิรา ทับทิม. (2566). การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยชุดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ. รายงานสีบเนื่องการประชุมวิชาการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ –วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 15 “เปิดมุมมองใหม่ผนึกกำลังขยายขอบเขตการศึกษาวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในยุคดิจิทัล” วันที่ 19 มกราคม 2566, หน้า 89.
อ้างอิง: Patcha Bunyarat and Natthira Tuptim. (2023). The semantic change of the English color terms BLACK and WHITE in Japanese. Theory and Practice in Language Studies, 516-524 (Scopus Q3)
อ้างอิง: พัทชา บุญยะรัตน์และณัฏฐิรา ทับทิม. (2566). คำยืมในภาษาญี่ปุ่น การวิเคราะห์ผ่านข่าวออนไลน์และทวิตเตอร์. วารสาร JSN Journal (วารสารวิชาการของสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย). 13(1), 178-197.
อ้างอิง: Tuptim, N. (2023). Japanese Industrial Technical Terms: Word Formation, Word Type and Word Pedagogical Applications. Kasetsart Journal of Social Sciences, 44(3), 797-806. (Indexed in SCOPUS: Q2).
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2565). การใช้ “ใช้” (使う、用いる、使用する、利用する) ในภาษาญี่ปุ่น กรณีศึกษาผ่านเครื่องมือสืบค้นคลังข้อมูลภาษาออนไลน์ NINJAL-LWP for TWC. วารสาร JSN Journal (วารสารวิชาการของสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย), 12(1), 156-173.
อ้างอิง: Natthira Tuptim. (2022). A corpus analysis of collocation behaviors of Japanese near-synonymous verbs: A case study of the verb OKORU (occur). Journal of Community of Development Research (Humanities and Social Sciences). 15(4), 68-81.
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2565). ปัญหาการล่ามภาษาญี่ปุ่นเฉพาะทางในสายงานอุตสาหกรรมผ่านการวิเคราะห์เชิงภาษาศาสตร์ กรณีศึกษาการล่ามในสถานการณ์จำลองสายงานอุตสาหกรรมวารสาร JSN Journal (วารสารวิชาการของสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย). 12(2), 40-59.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Ernesto Cordero Collo, Petra Phongsaksri, Wisittha Rangkhetkarn, and Natthira Tuptim. (2021). Short Words in Two English-Language Legacy and New Media. Proceedings of The 14th National and International Humanities and Social Sciences Network Conference, 253-267.
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2564). ความสามารถในการแปลความหมายระดับข้อความของ Google Translate ระบบ Neural Machine Translation จากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. วารสารศิลปศาสตร์, 21(1), 90-113.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ณริศรา พฤกษะวัน, วรารัตน วริรักษ และณัฎฐิรา ทับทิม. (2563). การพัฒนาชุมชนตนแบบ: กรณีศึกษา ความรูความเขาใจตอบทบาทหนาที่ของราชภัฏในการพัฒนาทองถิ่นของผูรวมโครงการพัฒนาชุมชน ตำบลราวตนจันทร อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 6 วันที่ 17-18 สิงหาคม 2563, 43-50.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2562). การปรากฏร่วมกันของคำในภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษาคำนามจากคลังข้อมูลภาษา. JSN Journal, 9(1), หน้า 49-68.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม, พัทชา บุญยะรัตน์, และวิสิฏฐา แรงเขตรการ. (2561). การละคำในข่าวพาดหัวหนังสือพิมพ์ออนไลน์ภาษาญี่ปุ่นและภาษาอังกฤษ. วารสารครุพิบูล, 5(2), 285-301. (ฉบับเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2561)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2560). ลักษณะและความหมายคำประสม VN ในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย. JSN Journal, 7(s), 18-37.
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2017). การศึกษาการใช้รูป て・てから・たあとで ของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทยในมหาวิทยาลัย 8 แห่ง. JSN Journal 7(1), 2-21.
อ้างอิง: Tuptim, N. (2017). Japanese Instructional Package for Developing Sport Tourism Staff (Caddies). Journal of Community Development Research 10 (3), (July-September 2017) (in print).
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม, กฤษณา ชาญณรงค์, เมศิณี ภัทรมุทธา, ปฐมพงษ์ สุขเล็ก, และศุภลักษณ์ วิริยะสุมน. (2560). การศึกษาความเชื่อมโยงของวัฒนธรรมการบริโภคในจังหวัดพิษณุโลกกับวัฒนธรรมการบริโภคในกลุ่มประเทศอาเซียน. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, 10(4), หน้า 47-61.
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2560).Japanese Instructional Package for Developing Sport Tourism Staff (Caddies). วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยนเรศวร, Vol 10 No 3 (2017). Page: 1-6
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2560).การศึกษาความเชื่อมโยงของวัฒนธรรมการบริโภคในจังหวัดพิษณุโลกกับวัฒนธรรมการบริโภคในกลุ่มประเทศอาเซียน. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยนเรศวร, Vol 10 No 4 (2017). Page: 47-61
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Natthira Tuptim. (2016). A Study on Information Served by Sport Tourism Staffs (Caddies) to the Golfers for developing Instruction Package. Pertanika J. Soc. Sci. & Hum. 24(s): 89-94 (2016). (Q3).
อ้างอิง: Natthira Tuptim. (2016). An Analysis on Adverb “CHANTO”. Journal of Japanese Studies 33(2), pp.1-13.(in Japanese) (TCI1)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2559). การศึกษาความสามารถในการแสดงความคิดเห็นเชิงเหตุผลของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นหลังเรียนโดยใช้กระบวนการอ่านภาษาญี่ปุ่นแบบการแก้โจทย์คำถามและกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, (3), (ฉบับเดือนกันยายน-ธันวาคม 2559 กำลังจัดพิมพ์) (TCI1)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2559). ลักษณะและความหมายคำประสม NV ในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย. JSN Journal, 6(1), 74-94 (ฉบับเดือนมิถุนายน 2559) (TCI2)
อ้างอิง: Natthira Tuptim. (2017). Japanese Instructional Package for Developing Sport Tourism Staff (Caddies). Journal of Community Development Research 10 (3), (July-September 2017) (in print).
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2559).การวิเคราะห์รูปไวยากรณ์จากคลังข้อมูลภาษาสู่การเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น: กรณีศึกษารูปไวยากรณ์ “ภาษาสุภาพ”. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, Vol 33 No 1 (2016). Page: 46-60
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2559).A study on information served by sport tourism staff (Caddies) to the golfers for developing instruction package. Pertanika Journal of Social Science and Humanities, Jan2016 Special Issue, Vol. 24. Page: 89-93
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2559).การศึกษาความสามารถในการแสดงความคิดเห็นเชิงเหตุผลของนักศึกษา สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นแบบการแก้โจทย์คำถามและกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กันยายน - ธันวาคม. Page: 102-113
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2559).AN ANALYSIS ON ADVERB “CHANTO”. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, ปีที่ 33 เล่มที่ 2 (2559). Page: 1-13
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2558). การศึกษารูปさせるที่ปรากฏในหนังสือเรียนกับสภาพการใช้จริงในภาษาเขียนของคนญี่ปุ่น. เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 8 (ภาษาและวรรณคดี), 2-16. สมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2556). การศึกษาวิธีการและลักษณะการแปลคำเลียนเสียงธรรมชาติและคำเลียนเสียงท่าทาง. เอกสารหลังการประชุมวิชาการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยบูรพา.
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2556). การศึกษาวิธีการและประเภทการแปลคำเลียนเสียงธรรมชาติและคำบอกอาการหรือสภาพจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. วารสารญี่ปุ่นศึกษา, 30(1), 41-56.
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2556).การศึกษาการแปลค่าเลียนเสียงธรรมชาติและคำบอกสภาพท่าทางจากภาษาณี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. วารสารญี่ปุ่นศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, เมษายน-กันยายน 2556 ปีที่30 เล่ม1. Page: 41-56
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2556).การศึกษาวิธีการแปลและประเภทการแปลคำเลียนเสียงธรรมชาติและคำบอกอาการหรือสภาพจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. วารสารญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 30, 2556. Page: 41-56
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2555). การสร้างแบบฝึกช่วยจำคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. เอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 5 (ภาษาและวรรณคดี), 29-40. สมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย.
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
อ้างอิง: Natthira Tuptim. (2012). An Error Analysis of Japanese Translation by 4th year Japanese Major Students at Pibulsongkram Rajabhat University in Academic Year 2009. The Proceedings of International Conference ; The Dynamics in Language Teaching in 21st Century, pp. 30-40.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: บรรยายพิเศษเรื่อง What Black and White mean in 3+1 languages ในงาน 7th International Week, มหาวิทยาลัยเฉิงตู, สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที 15-21 ตุลาคม 2566
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยชุดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติของเครือข่ายความร่วมมือวิชาการวิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 15 วันที่ 19 มกราคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ
อ้างอิง: พัทชา บุญยะรัตน์ สุธัญญา ปานทอง และณัฏฐิรา ทับทิม. (2566). การพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามด้วยชุดกิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ. รายงานสีบเนื่องการประชุมวิชาการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ –วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 15 “เปิดมุมมองใหม่ผนึกกำลังขยายขอบเขตการศึกษาวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในยุคดิจิทัล” วันที่ 19 มกราคม 2566, หน้า xx-xx.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยายภาษาอังกฤษ) เรื่อง Short Words in Two English-Language Legacy and New Media, at The 14th National and International Humanities and Social Sciences Network Conference (Naresuan University, July 2021)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: นำเสนองานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่องลักษณะการประสมและความหมายคำประสม VN ในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย ในการประชุมวิชาการระดับชาติสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศ ครั้งที่ 10 วันที่ 15 ธันวาคม 2559 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบโปสเตอร์) เรื่อง การสำรวจการใช้คำทับศัพท์ภาษาญี่ปุ่นที่ใช้ในบริษัทญี่ปุ่น ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย 2558 Survey on Japanese Transliterated Words used in Japanese Companies
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบโปสเตอร์) เรื่อง การศึกษาการแปลคำลงท้ายในภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทยของนักแปลการ์ตูนมืออาชีพ Study on Translating Final Particles from Japanese to Thai by Professional Translators ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย 2558
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง การศึกษารูป saseru ที่ปรากฏในหนังสือเรียนกับสภาพการใช้จริงในภาษาเขียนของคนญี่ปุ่น (18-19 ธันวาคม 2557) ในการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ A Study on SASERU Forms Appearing in Japanese Textbooks and in Authentic Japanese Writing
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบโปสเตอร์) เรื่อง A Study on Information Served by Sport Tourism Staffs (Caddies) to the Golfers for developing Instruction Package ในการประชุมวิชาการ I-SEEC-2014 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี (6thInternational Science, SocialSciences, Engineering and Energy Conference 17-19 December, 2014, Prajaktra Design Hotel, UdonThani, Thailand)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบโปสเตอร์) เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้ไวยากรณ์ที่มีความหมายคล้ายกันในภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามโดยการสอนสาธิตเปรียบเทียบคู่ไวยากรณ์ The Development of 3rd year Japanese Students’ Performance in Using Grammar Forms holding Similar Thai Meaning by Demonstration of Comparative Grammar Forms ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย 2558
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2557).A Study on Information Served by Sport Tourism Staffs (Caddies) to the Golfers for developing Instruction Package. การประชุมวิชาการ 6thInternational Science, Social Science, Engineering and Energy Conference 17-19 December, 2014 Prajaktra Hotel, UdonThani, Thailand, 2014. Page:-
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2557).การศึกษารูป saseru ที่ปรากฏในหนังสือเรียนกับสภาพการใช้จริงในภาษาเขียนของคนณี่ปุ่น. การประชุมวิชาการระดับชาติญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 8, . Page: 2-16
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง “การศึกษาวิธีการและประเภทการแปลคำเลียนเสียงธรรมชาติและคำเลียนเสียงท่าทางจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย” (15 กุมภาพันธ์ 2556) มหาวิทยาลัยบูรพา
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง “副詞『ちゃんと』に関する一考察 (Analysis on Adverb “CHANTO”)” ในการประชุม 日本語文法学会第14大会 (The 14th Society of Japanese Grammar) ณ มหาวิทยาลัยวาเซดะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น (31 พฤศจิกายน -1 ธันวาคม 2556)
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2556).Analysis on adverb CHANTO รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ . มหาวิทยาลัยวาเซดะ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น, 2556. Page: 169-176
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง “การสร้างแบบฝึกช่วยจำคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม” (20-21 ตุลาคม 2555) ในการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 5 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2555).การศึกษาวิธีการและลักษณะการแปลคำเลียนเสียงธรรมชาติและคำเลียนเสียงท่าทางจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2556 มหาวิทยาลัยบูรพา, 2555. Page: 229
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2555).การสร้างแบบฝึกช่วยจำคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 5, 2555. Page:-
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม (2555).80 คำกริยาวิเศษณ์ลงท้ายด้วย “ริ”. งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ, 2555. Page: 3
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง An Error Analysis of Japanese Translation by 4th year Japanese Major Students at Pibulsongkram Rajabhat University in Academic Year 2009 (July, 2012) ในการประชุมวิชาการนานาชาติ The Dynamics in Language Teaching in 21st Century November 25-26, 2010 จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (พิษณุโลก)
ปี พ.ศ. 2550 (2007)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง 「コト名詞句の主題の意味解釈と構文分析をめぐって」ในงาน 日本語文法学会 第8回 ประจำปี 2007 สถานที่จัดงาน筑波大学
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง 「日タイ語の感情語とテ形節・thîi節の意味関係について」ในงาน 国際シンポジウム日本語教育の諸問題 第3回 ประจำปี 2007 สถานที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2548 (2005)
อ้างอิง: นำเสนอผลงานวิจัย (แบบบรรยาย) เรื่อง 「タイ語の2種の主題文-日本語主題文との対照」 ในงาน 日本語文法学会 第6回 ประจำปี 2005 สถานที่จัดงาน明海大学
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: ณัฏฐิรา ทับทิม. (2560). ลักษณะและความหมายคำประสม VN ในภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย. JSN Journal, 7(s), 18-37.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ TEAM TEACHING 27-29 มิถุนายน 2566
อ้างอิง: อบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
อ้างอิง: การอบรมการใช้ EndNote ของสำนักวิทยบริการ มรพส.
อ้างอิง: แท็กติกการจัดการเรียนรู้ในยุค "คิดอะไรไม่ออกบอก ChatGPT"
อ้างอิง: AI Series "ChatGPTช่วยทำวิจัยได้ ไม่ต้องเหนื่อยแทบตาย"
อ้างอิง: การตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยระดับนานาชาติ จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
อ้างอิง: การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษา และ การเขียนคำอธิบายรายวิชาให้สอดคล้องกับชั่วโมงทฤษฎีและชั่วโมงปฏิบัติ
อ้างอิง: โครงการอบรมการวางแผนการลงทุนการเงินส่วนบุคคลและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
อ้างอิง: โครงการการออกแบบหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
อ้างอิง: อบรม SROI การประเมินผลตอบแทนทางสังคมที่ลงทุน
อ้างอิง: SROI EP.5 การระบุค่า Financial Proxy การลงตารางและคำนวณค่าตัวเลข
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Backward Curriculum Design) รุ่นที่ 13
อ้างอิง: การอบรมเตรียมความพร้อมยกระดับมหาวิทยาลัยเข้าสู่การประเมิน SDGs ranking 2023
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ หลักสูตร “คณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา” ฉบับปับปรุง พ.ศ. 2559 โดยสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ระหว่างวันที่ 28 ก.พ. – 2 มี.ค. 60
อ้างอิง: Symposium For Entrepreneurship Educators by Babson College-Bangkok University (June 26-29 June 2017) โรงแรมโซฟิเทล เลอ คองคอด
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: โครงการอบรมผู้ประเมินประกันคุณภาพระดับคณะ สถาบัน โดยศ.นพ.วุฒิชัย (ก.พ.2559)
อ้างอิง: Speaking assessments in TOEFL or IELTS by Ms. Genevieve Balderston (May 10,2016)
อ้างอิง: การเขียนผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ วันอังคารที่ 14 มิ.ย. 2559 โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการศึกษาทั่วไป เปิดโลกกว้างทางปัญญา วิชาศึกษาทัาวไป ครั้งที่ 2 วันที่ 23-24 มิ.ย. 2559
อ้างอิง: อบรมโครงการสัมมนา "ธรรมาภิบาลเพื่อการพัฒนาสภามหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม" 23-24 กันยายน 2559 โดยสถาบันคลังสมอง
อ้างอิง: โครงการอบรม"การเรียนการสอนในยุค 4.0 เพื่อสร้างบัณฑิตให้เป็นนักปฏิบัติ" วันที่ 19 ธ.ค. 59 วิทยากร ผศ.ดร.สุกัญญา สมไพบูลย์ จัดโดยกองมาตรฐานวิชาการและประกันคุณภาพการศึกษา มรพส.
อ้างอิง: การอบรมสัมมนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น ประจำปี 2559 มรการบรรยายช่วงที่ 1 หัวข้อ “แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาที่สอง” โดยเจแปนฟาวเดชั่น กรุงเทพฯ วันที่ 17 ธันวาคม 2559 Certificate No. 28TE403-177
อ้างอิง: การอบรมสัมมนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น ประจำปี 2559 ในการบรรยายช่วงที่ 2 หัวข้อ “การวิจัยอาจารย์ชาวไทยรุ่นใหม่-รุ่นกลางและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อมูลการทำวิจัยเพื่อตีพิมพ์ลงวารสารที่อยู่ในฐาน TCI โดยเจแปนฟาวเดชั่น กรุงเทพฯ วันที่ 17 ธันวาคม 2559 Certificate No. 28TE403-184
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: โครงการความร่วมมือกับสหภาพยุโรป เรื่อง TQF and The Development of Professional Standards Framework. เชียงใหม่: คณะกรรมการการอุดมศึกษา. พฤษภาคม 2558
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำผลการเรียนรู้ Learning Outcomes โดยรศ.ดร.บัณฑิต ทิพากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
อ้างอิง: โครงการอบรมผู้ประเมินประกันคุณภาพระดับหลักสูตร โดยผศ.ปราณี พรรณวิเชียร (ก.พ.2558)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการเรียนรู้กับการทำงานสำหรับผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา โดยสกอ. ณ จังหวัดเชียงใหม่ (พ.ค.2558)
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ "เขียนผลงานวิชาการอย่างไรไม่ให้ละเมิดลิขสิทธิ์" โดย ผศ.มานิต จุมปา (ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการเรื่อง "การเขียน การผลิต และการเผยแพร่ตำรา หนังสือวิชาการระดับอุดมศึกษา" โดยสำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: วิทยากร โครงการ “พัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ” คณะศิลปะศาสตร์ ม.พะเยา วันที่ 20 พ.ค. 2560 (ศธ.0590.24/ว.158) ลงวันที่ 8 พ.ค.2560
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: วิทยากรเทคนิคการนำเสนอผลงานวิชาการและการเขียนผลงานเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 20 กรกฎาคม 2560 (ควจ. 409/2560)
ชื่อโครงการ: วิทยากรก้าวสู่การเตรียมพร้อมเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการทางด้านภาษาญี่ปุ่น หลักสูตรภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ วันพุธที่ 26 กรกฎาคม 2560 (ศธ. 0533.03/346)
ชื่อโครงการ: วิทยากร โครงการ “พัฒนาอาจารย์เข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ” คณะศิลปะศาสตร์ ม.พะเยา วันที่ 20 พ.ค. 2560 (ศธ.0590.24/ว.158) ลงวันที่ 8 พ.ค.2560
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: วิทยากรโครงการการประชุมเชิงปฏิบัติการการเขียนมคอ. 3 และมคอ. 5 วันที่ 27 มกราคม 2559 มหาวิทยาลัยพิษณุโลก (มพล.สนอ.0201/022)
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยายพิเศษ “การประเมินผลการเรียนรู้และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามาตรฐานผลการเรียนรู้” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา วันที่ 16 มีนาคม 2559
ชื่อโครงการ: วิทยากรโครงการอบรมการทำวิจัยทางญี่ปุ่นศึกษา วันที่ 24 เมษายน 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อโครงการ: วิทยากรฝึกอบรมโครงการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่) รุ่นที่ 4 วันที่ 24-25 พ.ค.2559 ณ ห้องประชุมสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มรพส. (ภาคทฤษฎี การออกแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ/การเลือกตัวอย่างและการวิเคราะห์ข้อมูล)
ชื่อโครงการ: วิทยากรเสวนาแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านงานวิจัย มนุษย์-สังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 22 กรกฎาคม 2559 (คมส.ว 400/2559)
ชื่อโครงการ: วิทยากรเสวนา เรือง “บทบาทหน้าที่ของผู้แทนสมาชิกสมาคมศิษย์เก่าที่คาดหวังและแนวคิดการจัดงานวันรำลึกพระคุณครู เชิดชูศิษย์พิบูล” วันเสาร์ที่ 8 ต.ค.2559 ชั้น 4 อาคาร E-library มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อโครงการ: วิทยากร “การนำเสนองานวิจัยอาจารย์ชาวไทยรุ่นใหม่-รุ่นกลางและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อมูลการทำวิจัยเพื่อตีพิมพ์ลงวารสารที่อยู่ในฐาน TCI ” จัดโดยสมาคมครูภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นแห่งประเทศไทยร่วมกับเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม 2559 ห้องป
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนมคอ.3 และ มคอ.5 วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช วันที่ 27 กรกฏาคม 2558
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยายพิเศษ “เรียนอย่างไรให้เก่ง 4 ทักษะ” หลักสูตรภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 21 พฤศจิกายน 2558
ชื่อโครงการ: วิทยากรโครงการการประชุมเชิงปฏิบัติการการเขียนมคอ. 3 และมคอ. 5 วันที่ 25 ธันวาคม 2558 มหาวิทยาลัยพิษณุโลก (มพล.สนอ.0502/510)
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อโครงการ: 16-25 มกราคม 2555 ล่ามภาษาญี่ปุ่นในการอบรมเรื่อง “การสร้างธรรมาภิบาลสาธารณสุข” ความร่วมมือระหว่างสภาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศญี่ปุ่น (Clair) จังหวัดฟุกุโอกะและเทศบาลนครจังหวัดพิษณุโลก ระยะเวลา 1 สัปดาห์กับ 3 วัน 40 ชม./สัปดาห์
ชื่อโครงการ: 31 ตุลาคม 2555 - 9 พฤศจิกายน 2555 ปฎิบัติงานในหน้าที่ล่ามภาษาญี่ปุ่นให้กับเทศบาลนครพิษณุโลก “การส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดพิษณุโลก” ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Clair) จังหวัดนางาซากิและเทศบาลนครจังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
ชื่อโครงการ: มิถุนายน 2554-ตุลาคม 2554 อาจารย์พิเศษระดับปริญญาตรีและปริญญาโทภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
ชื่อโครงการ: 10 กุมภาพันธ์ 2553 ปฏิบัติในหน้าที่ล่ามภาษาญี่ปุ่นให้กับ “การบรรยายสรุปศักยภาพของจังหวัดพิษณุโลกในการพัฒนาระบบโลจิสติกส์” ณ ศาลากลางจังหวัดพิษณุโลกให้แก่คณะเจ้าหน้าที่ฑูตจากญี่ปุ่น
ชื่อโครงการ: 14-27 กุมภาพันธ์ 2553 ปฎิบัติงานในหน้าที่ล่ามภาษาญี่ปุ่นให้กับเทศบาลนครพิษณุโลก “การอบรมผจญเพลิงในอาคาร” ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Clair) สถานีดับเพลิงเมืองคิตะคิวชูและเทศบาลนครจังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: 13-26 สิงหาคม 2553 ปฎิบัติงานในหน้าที่ล่ามภาษาญี่ปุ่นให้กับเทศบาลนครพิษณุโลก “การอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรม” ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Clair) จังหวัดนีกาตะและเทศบาลนครจังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
ชื่อโครงการ: พฤษภาคม 2552- ตุลาคม 2553 อาจารย์พิเศษภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ชื่อโครงการ: บรรยายพิเศษให้กับนิสิตปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาต่างประเทศ รายวิชา 2223741 (30 มิถุนายน 2552)
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร พ.ศ. 2565-2567
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (ศธ.0527.03.01(4)/11541) วันที่ 23 พ.ค.2560
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (พิษณุโลก) วันที่ 29 พ.ค.2560 (ศธ.0583.13/372)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ วารสารวิชาการ “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ” ศธ.64.14/0376 ลงวันที่ 11 เมษายน 2560
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยนเรศวร วันที่ 22 พฤษภาคม 2560 ลงวันที่ 24 เมษายน 2560 (ศธ.0527.02/1198)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการการประชุมวิชาการ ฝ่ายพิจารณาบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์ : “มนุษยศาสตร์:ความจริงกับพลังแห่งความฝัน (Humanities: Realities and Power of Dreams) ซึ่งจัดในวันที่ 14-15 พ.ย. 2559 ณ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศธ.6393(
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท มหาวิทยาลัยนเรศวร (เรื่องการศึกษาผลสัมฤทธิ์และความคงทนในการเรียนรู้ฯ) วันที่ 30 มิถุนายน 2560 (ศธ 0527.02/2152 ลงวันที 23 มิ.ย.60)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกวันที่ 12 ก.ค. 2560 (ศธ 0527.02/2207 ลงวันที่ 28 มิ.ย.2560)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (๒๙ เมษายน ๒๕๕๙) งานวิทยานิพนธ์ เรื่อง เปรียบเทียบคำขู่ในเพลงกล่อมเด็กญี่ปุ่นกับไทย” (ศธ.0527.02/1600)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏอยุธยา ประจำปีการศึกษา 2558 วันที่ 4 ก.ค. 2559 (ศธ.0550.3/384)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทย คณะ ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 11 กรกฎาคม 2559 (คคศ.ว 455/2559)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรสาขาวิชาวิศวกรรมโลจิสติกส์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 26 กรกฎาคม 2559 (คทอ. 0677/2559)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา หลักสูตร ศศ.บ.ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก วันที่ 27 กรกฎาคม 2559 (ศธ.0583.13/930)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัยวารสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์) (Kasetsart Journal of Social Sciences) หนังสือเชิญวันที่ 1 กรกฎาคม 2559
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (ศธ.0527.03.01(4)/11541)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเรื่อง “การนำเสนอแนวทางการพัฒนาหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2552 และเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2558 (บว.ว 883/2559)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: วิทยากร “การนำเสนองานวิจัยอาจารย์ชาวไทยรุ่นใหม่-รุ่นกลางและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และข้อมูลการทำวิจัยเพื่อตีพิมพ์ลงวารสารที่อยู่ในฐาน TCI ” จัดโดยสมาคมครูภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นแห่งประเทศไทยร่วมกับเจแปนฟาวน์เดชั่น กรุงเทพฯ วันเสาร์ที่ 17 ธันวาคม 2559 (Ref.
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการการประชุมวิชาการ ฝ่ายพิจารณาบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์ : “มนุษยศาสตร์:ความจริงกับพลังแห่งความฝัน (Humanities: Realities and Power of Dreams) ซึ่งจัดในวันที่ 14-15 พ.ย. 2559 ณ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศธ.6393(
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (๑๑ มีนาคม ๒๕๕๘) งานวิทยานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติต่อการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตามหลักสูตรวิชาภาษาญี่ปุ่นของนิสิตสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทย
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (๒๔ เมษายน ๒๕๕๘) งานวิทยานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาภาพตัวแทนของตัวละครชายในวรรณกรรม เรื่อง โคะโคะโระ ของ นัทสึเมะ โซเซคิและความเสน่หาในเพศเดียวกันที่ปรากฏฝนสำนวนการแปลภาษาไทย (ศธ.๐๕๒๗.๐๒/๑๒๑
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (๓ มิถุนายน ๒๕๕๘) งานวิทยานิพนธ์ เรื่อง การจัดการเรียนการสอนการฟังภาษาญี่ปุ่นโดยใช้ภาพยนตร์การ์ตูนสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย วารสารญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 31 ฉบับที่ 1 TCI กลุ่ม 1 (๒๕ พฤษภาคม ๒๕๕๘)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลยนเรศวร (๒ กรกฎาคม ๒๕๕๘) งานวิทยานิพนธ์เรื่อง "การออกเสียงพยัญชนะท้านาสิก /N/ ในภาษาญี่ปุ้่นของนิสิตสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร (ศธ ๐๕๒๗.๐๒/๒๐๖๐)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (๒๖ มิถุนายน ๒๕๕๘) งานวิทยานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาข้อผิดพลาดในการใช้คำบ่งชี้ ko so และ a ของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น มหาวิทยาลัยนเรศวร (ศธ ๐๕๒๗.๐๒/๒๐๓๓)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสอบวิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร (๓ มิถุนายน ๒๕๕๘) งานวิทยานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพล่ามภาษาญี่ปุ่น : กรณีศึกษาล่ามที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม เขตนิคมอุตสาหกรรมภาคเหนือ (ศธ
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความในการประชุมวิชาการระดับชาติญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 9 (17-18 ธันวาคม 2558) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ วารสารวิชาการราชภัฏอุตรดิตถ์ (TCI กลุ่ม 2) ศธ. 0535.8/157 ลงวันที่ 21 กรกฏาคม 2558
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: วิทยากรงานสัมมนาครูสอนภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 17 โดยคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 13 มีนาคม 2557
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิชาการ วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ศธ.๖๓๙๓(๑๐)/๑๙๓๙) ลงวันที่ ๑๘ เมษายน ๒๕๕๗
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิชาการ วารสารภาษาและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เรื่อง “วิเคราะห์การประเมินผลวิชาภาษาญี่ปุ่นของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เปรียบเทียบกับ JLPT:เพื่อพัฒนาบัณฑิตสู่มาตรฐานสากล”2557
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบร่างรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา (๑๗ มกราคม ๒๕๕๗) ศธ. ๖๖๑๑/๑๒๔๙
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความเพื่อจัดทำเอกสารหลังการประชุมวิชาการระดับชาติสมาคมญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบร่างรายงานวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 4
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาข้อเสนอโครงการวิจัย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (กรรมการภายนอก) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยานิพนธ์เรื่อง Youda Souda Rashii กับความเข้าใจของผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นชาวไทย (ประกาศ ณ วันที่ ๘ พ.ย. ๒๕๕๖)
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ทรงคุณวุฒิอ่านบทความวิจัย ในการประชุมวิชาการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 8 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อหนังสือ:
ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น, สนพ.แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตีพิมพ์ครั้งที่ 1กรกฏาคม 2557
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อหนังสือ:
คำกริยาวิเศษณ์ นิ โตะอิจิ สนพ.ภาษาและวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ตีพิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2556 ตีพิมพ์ครั้งที่ 2 ตุลาคม 2556
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อหนังสือ:
80 คำกริยาวิเศษณ์ลงท้ายด้วย “ริ” สนพ.ภาษาและวัฒนธรรม สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น ตีพิมพ์ครั้งที่ 1 กันยายน 2555 ตีพิมพ์ครั้งที่ 2 ตุลาคม 2555
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อลิขสิทธิ์: ภาษาศาสตร์ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อลิขสิทธิ์: "82 คำกริยาวิเศษณ์ นิ โตะ อิชิ
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อลิขสิทธิ์: "80 คำกริยาวิเศษณ์ลงท้ายด้วย "ริ"
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.