ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด  
  Dr. Nattawut Khaosaad
ตำแหน่ง: อาจารย์
ตำแหน่งบริหาร: รองคณบดีคณะครุศาสตร์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 0817178093
อีเมล์: nattawut.kh@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ด. (พลังงานทดแทน) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2559
2 วท.ม. (พลังงานทดแทน) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2551
3 วท.บ. (ฟิสิกส์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2549
4 ป.บัณฑิต (ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู) มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 2549
 
ความเชี่ยวชาญ
การศึกษา, สิ่งแวดล้อม/พลังงาน/ทรัพยากรธรรมชาติ, ศาสตร์พระราชา, พลังงานทดแทน เน้นทางด้านแสงอาทิตย์ และชีวมวล
 
ความสนใจ
ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์, สิ่งแวดล้อม/พลังงาน/ทรัพยากรธรรมชาติ, Educational Studies, งานวิจัยท้องถิ่น, เทคโนโลยีสำหรับการศึกษา, การศึกษา/เทคนิคการจัดการเรียนรู้/พลังงานทดแทน, Science Education, พลังงานทดแทน, การจัดการด้านพลังงาน, วิจัยการศึกษา วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา, ฟิสิกส์ พลังงานทดแทน, นวัตกรรม
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง และอนุพล อัคพิน. (2564). สมรรถนะของระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบเชื่อมต่อเข้าสายส่งของอาคารอุบัติเหตุโรงพยาบาลยุพราชตะพานหิน จังหวัดพิจิตร. วารสารวิชาการพลังงานทดแทน สู่ชุมชน ปี 4 ฉบับที่ 2. 35-40
อ้างอิง: ภานุมาศ หมอสินธ์ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด สุวิมล อิสริยานนท์ อินทิรา มุงเมือง กานดา สุขทุม. (2564). พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์กับการผลิตสื่อการสอนออนไลน์. วารสารวิชาการ สถาบันวิทยาการจัดการแห่งแปซิฟิค สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, Vol.7 No.2, 464-473. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pacific/issue/view/17026
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ธีรารัตน์ จีระมะกร ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ ประพิธาริ์ ธนารักษ์. (2563). การประเมินการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ของการปลูกอ้อยในจังหวัดบุรีรัมย์. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปีที่ 25 (ฉบับที่ 1) มกราคม – เมษายน พ.ศ. 2563. 256-269
อ้างอิง: อนุพล อัคพิน วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ธีรภัทร์ พุ่มพลอย ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ มลวิภา เมืองพระฝาง และเฉลิมชัย สังโยคะ. (2563). ผลกระทบจาการให้บริการวิชาการการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน ณ ตำบลวังน้ำขาวอำเภอบ้านด่านลานหอยจังหวัดสุโขทัย.วารสารวิชาการพลังงานทดแทน สู่ชุมชน ปี 3 ฉบับที่ 1. 73-80
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ประพิธาริ์ ธนารักษ์ ว่าที่ร้อยตรีศักย์ชัย เพชรสุวรรณ และ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ปัจจัยที่มีแนวโน้มต่อการตัดสินใจเลือกใช้ก๊าซชีวภาพของร้านอาหาร ในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก. Science and Technology. RMUTT Journal. Vol.7 No.1 (2017) : 105-114.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Nattawut Khaosaad Nipon Ketjoy Sarayouth Vaivudh and Kobsak Sriprapha. (2016). Development of mathematical equation for photovoltaic array internal resistance measurement under operating conditions. Applied Mechanics and Materials. ISSN: 1662-7482, Vol. 839, pp 59-64.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Nipon Ketjoy, Chatchai Sirisamphanwong and Nattawut Khaosaad. Performance evaluation of 10 kWp photovoltaic power generator under hot climatic condition. Energy Procedia 2013;34:291–7
อ้างอิง: นิพนธ์ เกตุจ้อย ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ และฐิติพร เจาะจง.การลดลงของกำลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เกิดจากความต้านทานภายใน. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 32 ฉบับที่ 5 กันยายน – ตุลาคม 2556. หน้าที่ 547 – 554.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: สุพัตรา พาแกดำ อาริษา ต่างสันเทียะ เฉลิมชัย สังโยคะ และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด. (2565). การพัฒนากิจกรรมการทำของเล่นเครื่องบินร่อน เรื่อง แรงและแรงลัพธ์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดมหาวนาราม. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ในวันที่ 11 มีนาคม 2565. หน้า 168 - 179
อ้างอิง: นันทนา วงคำจันทร์ กรรณิการ์ ลือชา และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง การเกิดเสียงของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ในวันที่ 11 มีนาคม 2565. หน้า 180 - 191
อ้างอิง: พิมพ์นิภา พระพิมพ์ วัชรี วงศ์ปัญญา และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด. (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง โครงสร้างภายในโลกและการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลก ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ร่วมกับผังมโนทัศน์และเทคนิคการใช้คำถาม. การประชุมวิชาการระดับชาติ “ครุศาสตร์ศึกษา” ครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ในวันที่ 11 มีนาคม 2565. หน้า 217 - 228
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: พรวิภา สายทอง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ชมพูนุท ศรีฟ้า. (2564). การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่องงานและพลังงาน ในรายวิชาปฏิบัติการวิทยาศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษาแบบ 5E ร่วมกับกลวิธีจิ๊กซอร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสวรรค์อนันต์วิทยา วันที่ 27 มีนาคม 2564 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง และอนุพล อัคพิน. (2563).การศึกษาสมรรถนะของระบบเซลล์แสงอาทิตย์แบบเชื่อมต่อเข้าสายส่งของอาคารอุบัติเหตุโรงพยาบาลยุพราชตะพานหิน จังหวัดพิจิตร.งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13 ระหว่างวันที่ 5 – 7 พฤศจิกายน 2563 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ณิชกานต์ อยู่พ่วง อุษณีย์ ดวงบ้านยาง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ อัญญณี สุวรรณโรจน์. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปรากฏการณ์การขึ้นตกของดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI). การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2. วันที่ 21 มีนาคม 2562 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: จุฑามาศ จอมสาร คงคณัณ ศรีระพงษ์ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ อัญญณี สุวรรณโรจน์.การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ โดยการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องดินน่ารู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดคุ้งวารี (อาพันอุปถัมภ์) จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2. วันที่ 21 มีนาคม 2562 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: พรทิพย์ ทันเที่ยง หฤทยา ทองเพ็ชร ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ อัญญณี สุวรรณโรจน์. การสร้างชุดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 5 เรื่อง บรรยากาศของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1โรงเรียนวัดยางเอน (ประชานุเคราะห์). การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2. วันที่ 21 มีนาคม 2562 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: วรัญญู คงสีไพร นงนุช กันแย้ม ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ อัญญณี สุวรรณโรจน์. การพัฒนาแบบฝึกการคานวณปริมาณความร้อน เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนนครไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2. วันที่ 21 มีนาคม 2562 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ขวัญเรือน ป้อมมอญ วิวัฒน์ พิพัฒน์ศาสตร์ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ อัญญณีสุวรรณโรจน์.การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดคุ้งวารี(อาพันอุปถัมภ์) ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและดวงอาทิตย์. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2. วันที่ 21 มีนาคม 2562 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ดวงใจ แซ่หลอ วรรณา ม่วงทอง บุญชอบ อินทโชติ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ อัญญณี สุวรรณโรจน์. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างทักษะการทา งานเป็นทีม โดยการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง สถานะของสสาร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดศรีวิสุทธาราม (วิไลราษฎร์อุปถัมภ์). การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 2. วันที่ 21 มีนาคม 2562 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุกัญญา กกกนทา กิตยาพร ม่วงปั้น ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และมลวิภา เมืองพระฝาง. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง ลมฟ้าอากาศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้น. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1. วันที่ 29 มีนาคม 2561 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
อ้างอิง: กาญจนา นาคบาตร์ นพพร มีช้าง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และมลวิภา เมืองพระฝาง. การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่สอนโดยใช้ชุดกิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่อง การเปลี่ยนรูปพลังงาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1. วันที่ 29 มีนาคม 2561 ณ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
อ้างอิง: วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ เฉลิมชัย สังโยคะ และ ธีรภัทร์ พุ่มพลอย อรพรรณ ธนะขว้าง และ มลวิภา เมืองพระฝาง. ผลกระทบจากการจัดการเรียนการสอนโดยการใช้สื่อการสอน เรื่องพลังงาน เครื่องกล และการเคลื่อนที่. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2561.วันที่ 23 มีนาคม 2561 ณ วังจันทน์รีเวอร์วิว มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: กัณฑรีรัตน์ ศรีเบญจมาศ ธีรภัทร์ พุ่มพลอย วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ1 และ มลวิภา เมืองพระฝาง1การศึกษาแนวทางการพัฒนาปัญหาหนี้สินของเกษตรกร พื้นที่เทศบาลท้ายดง อำเภอวังโป่งจังหวัดเพชรบูรณ์. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2561. วันที่ 23 มีนาคม 2561 ณ วังจันทน์รีเวอร์วิว มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด อนุพล อัคพิน ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ มลวิภา เมืองพระฝาง ธีรภัทร์ พุ่มพลอย และเฉลิมชัย สังโยคะ. ผลกระทบจากการให้บริการวิชาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต. งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 11 ประจาปี 2561. ระหว่างวันที่ 28 – 30 พฤศจิกายน 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ
อ้างอิง: มลวิภา เมืองพระฝาง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ เฉลิมชัย สังโยคะ และอรพรรณ ธนะขว้าง. การเสริมสร้างศักยภาพผู้เรียน โดยใช้กิจกรรมสะเต็มศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฏกรุงเก่า ประจำปี 2561. ระหว่างวันที่ 13-14 ธันวาคม 2561 ณ หอประชุม มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: กมลชนก ปลื้มบุญ นฤมล คารศ นิภาวรรณ สังข์แสง วนิดา เกตุสาคร วิชุอร ทองทา สุกัญญา กกกนทา สุทธินี มีบุญ อรพรรณ จันทรมณี ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ และ อรพรรณ ธนะขว้าง. การศึกษาปริมาณการเกิดก๊าซชีวภาพจากการหมักมูลของสัตว์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2560.
อ้างอิง: มลวิภา เมืองพระฝาง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ เฉลิมชัย สังโยคะ และ อรพรรณ ธนะขว้าง. ระบบเสริมศักยภาพทางการเรียนเพื่อพัฒนาทักษะและสมรรถนะของนักศึกษาครูในศตวรรษที่ 21 รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ สังคมความรู้และดิจิทัล ครั้งที่ 3 ในระหว่างวันที่ 14-15 ธันวาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร, หน้า 126-134.
อ้างอิง: วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ มลวิภา เมืองพระฝาง อรพรรณ ธนะขว้าง และ เฉลิมชัย สังโยคะ. ผลกระทบจากการจัดการเรียนการสอนโดยการใช้สื่อการเรียนการสอนด้านพลังงานทดแทน. งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2560.
อ้างอิง: ชนมน ศรีพระจันทร์ รุ่งอรุณ วรพฤติสกุล ณัฐรินันท์ คัญใหญ่ ศิริพร ศรีไตรรัตน์ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ มลวิภา เมืองพระฝาง อรพรรณ ธนะขว้าง และเฉลิมชัย สังโยคะ. การศึกษาอัตราส่วนผสมระหว่างปุ๋ยถ่านกับดินที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นข้าว. งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2560.
อ้างอิง: ศิริพร ศรีไตรัตน์ ชนมน ศรีพระจันทร์ รุ่งอรุณ วรพฤติสกุล ณัฐรินันท์ คัญใหญ่ ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด อรพรรณ ธนะขว้าง มลวิภา เมืองพระฝาง เฉลิมชัย สังโยคะ ประพิธาริ์ ธนารักษ์ และ พิสิษฏ์ มณีโชติ. การศึกษาปริมาณการเกิดก๊าซชีวภาพจากการหมักมูลของสัตว์ด้วยแหล่งน้ำที่แตกต่างกัน. งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2560.
อ้างอิง: ณัฐรินันท์ คัญใหญ่ อรพรรณ ธนะขว้าง ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด มลวิภา เมืองพระฝาง และเฉลิมชัย สังโยคะ. การศึกษาคุณภาพน้ำของแม่น้ำน่านที่ไหลผ่านตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2560.
อ้างอิง: รุ่งอรุณ วรพฤติสกุล มลวิภา เมืองพระฝาง ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด อรพรรณ ธนะขว้าง และเฉลิมชัย สังโยคะ. การศึกษาความเป็นไปได้ในการบำบัดน้ำเสียโดยวิธีการธรรมชาติของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2560.
อ้างอิง: ศิริพร ศรีไตรัตน์ อรพรรณ ธนะขว้าง ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด มลวิภา เมืองพระฝางเฉลิมชัย สังโยคะ. การศึกษาการเจริญเติบโตของต้นข้าว โดยการใช้แหล่งน้ำที่แตกต่างกัน. งานประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2560.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ เฉลิมชัย สังโยคะ อรพรรณ ธนะขว้าง ประพิธาริ์ ธนารักษ์ พิสิษฏ์ มณีโชติ และวีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง. ผลกระทบจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ eDLTV ร่วมกับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์. การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9. พฤศจิกายน 2559.
อ้างอิง: ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด เฉลิมชัย สังโยคะ ธีรภัทร์ พุ่มพลอย อรพรรณ ธนะขว้าง1 ธีรรุจน์ เมืองเหลือ1 ประพิธาริ์ ธนารักษ์ และพิสิษฏ์ มณีโชติ. การศึกษาตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ต่อการตัดสินใจผลิตก๊าซชีวภาพของร้านอาหารในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก. การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9. พฤศจิกายน 2559.
อ้างอิง: กมลชนก ปลื้มบุญ วรรณนา กล่อมแก้ว สุกัญญา กกกนทา ฐิติพร เจาะจง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ อรพรรณ ธนะขว้าง ธีรภัทร์ พุ่มพลอย ประพิธาริ์ ธนารักษ์ และพิสิษฏ์ มณีโชติ. การศึกษาปริมาณการเกิดก๊าซชีวภาพจากเศษผักผลไม้เหลือทิ้ง. การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9. พฤศจิกายน 2559.
อ้างอิง: ชนิกา จำปา นพรัตน์ นิ่มแสง ประภาพรรณ จันทร์พรม ปรียานุช จันทร์เนย รัตนาภรณ์ มีสุข วิลาวัลย์ อ้นเวียง สาวิตรี สีทัดแอ อรพรรณ ธนะขว้าง ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด เฉลิมชัย สังโยคะ ประพิธาริ์ ธนารักษ์ และพิสิษฏ์ มณีโชติ. การศึกษาการดูดซับก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ของต้นไม้จากการใช้รถยนต์ของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์). การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 9. พฤศจิกายน 2559.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ ประพิธาริ์ ธนารักษ์ พิสิษฏ์ มณีโชติ วิกานต์ วันสูงเนิน และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด. การประเมินผลกระทบจากการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตก๊าซชีวภาพ. บทความสาขาการจัดการพลังงานในชุมชน. การประชุมวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 8 (TREC8th). พฤศจิกายน, 2558.
อ้างอิง: N. Khaosaad, N. Ketjoy, S. Vaivudh and K. Sriprapha.(2015). Development of mathematical equation for photovoltaic array internal resistance measurement under operating conditions. Proceedings of the 1st International Conference on Energy. School of Renewable energy Technology, Naresuan University, Thailand
อ้างอิง: นิพนธ์ เกตุจ้อย ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ และคงฤทธิ์ แม้นศิริการศึกษาแนวทางการปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้าจากระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์โดยใช้ระบบโครงข่ายอัจฉริยะ. การประชุมเชิงวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 11 (E-NETT 11th). มิถุนายน, 2558.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: Ketjoy N. Chimtavee A. Ngoenmeesri R. Khaosaad N. and Konyu M, Performance Improvement On 120 kWp PV System Of PV Microgrid System. The 6th World Conference on Photovoltaic Energy Conversion (WCPEC). Kyoto, Japan, November, 2014.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: นิพนธ์ เกตุจ้อย ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ และคงฤทธิ์ แม้นศิริ. การลดลงของสมรรถนะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดไมโครซิลิกอนที่ส่งผลต่อโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่, การประชุมเชิงวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 9 (E-NETT 9th). พฤษภาคม, 2556.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด คงฤทธิ์ แม้นศิริ และนิพนธ์ เกตุจ้อย, การลดลงของสมรรถนะแผงเซลล์แสงอาทิตย์ในโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่, การประชุมเครือข่ายวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 4 (EENET 2012). เมษายน, 2555.
อ้างอิง: นิพนธ์ เกตุจ้อย, ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด, ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ และฐิติพร เจาะจง, การลดลงของกำลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่เกิดจากความต้านทานภายใน ,การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8 (E-NETT 8th). พฤษภาคม, 2555.
อ้างอิง: คงฤทธิ์ แม้นศิริ, นิพนธ์ เกตุจ้อย, รัฐพร เงินมีศรี, ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และ ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์,การประเมินทางด้านเทคนิคและทางด้านเศรษฐศาสตร์ของโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์แบบติดตั้งอยู่กับที่และแบบเคลื่อนที่ตามดวงอาทิตย์ในประเทศไทย, การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8 (E-NETT 8th). พฤษภาคม, 2555.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: นิพนธ์ เกตุจ้อย ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ฐิติพร เจาะจง คงฤทธิ์ แม้นศิริ, การศึกษาประสิทธิภาพและสมรรถนะของระบบเซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้แผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบไมโครซิลิกอน, การประชุมเชิงวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 7 (E-NETT 7th). พฤษภาคม, 2554.
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด นิพนธ์ เกตุจ้อย. อัตราการลดลงของกำลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่ติดตั้งใช้งานจริง.การประชุมเชิงวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 6 (E-NETT 6th). พฤษภาคม, 2553.
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
อ้างอิง: คงฤทธิ์ แม้นศิริ และนิพนธ์ เกตุจ้อย. ระบบเตือนภัยแบบไร้สายพลังงานแสงอาทิตย์. วารสาร Energy Plus กระทรวงพลังงาน. ฉบับที่ 21 มกราคม – มีนาคม 2552. หน้าที่ 15 – 17.
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด คงฤทธิ์ แม้นศิริ และนิพนธ์ เกตุจ้อย. การปรับปรุงและพัฒนารูปแบบการใช้งานระบบบ้านพลังงานแสงอาทิตย์. การอนุรักษ์พลังงาน. การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 (E-NETT 5th). พฤษภาคม, 2552.
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด คงฤทธิ์ แม้นศิริ และนิพนธ์ เกตุจ้อย. ระบบเตือนภัยแบบไร้สายพลังงานแสงอาทิตย์. พลังงานกับการประยุกต์ใช้. การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 (E-NETT 5th). พฤษภาคม, 2552.
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด นิพนธ์ เกตุจ้อย. การศึกษาสเปกตรัมของรังสีดวงอาทิตย์ในจังหวัดพิษณุโลก. พลังงานกับการประยุกต์ใช้. การประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 5 (E-NETT 5th). พฤษภาคม, 2552.
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด นิพนธ์ เกตุจ้อย วัฒนพงษ์ รักษ์วิเชียร. การศึกษาการลดลงของประสิทธิภาพรายปีของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ภายใต้สภาวะการใช้งานจริง. บทความสาขาพลังงานแสงอาทิตย์. การประชุมเชิงวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 4 (E-NETT 4th). พฤษภาคม, 2551
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด นิพนธ์ เกตุจ้อย. ตัวแปรที่มีผลต่อการลดลงของกำลังไฟฟ้าสูงสุดของแผงเซลล์แสงอาทิตย์, การประชุมเครือข่ายวิชาการวิศวกรรมไฟฟ้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ครั้งที่ 1 (EENET 2008). พฤศจิกายน, 2551
อ้างอิง: ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด, คงฤทธิ์ แม้นศิริ, นิพนธ์ เกตุจ้อย. การประเมินศักยภาพระบบบ้านพลังงานแสงอาทิตย์ในเขตภาคเหนือตอนล่าง. บทความสาขาพลังงานแสงอาทิตย์. การประชุมวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1 (TREC). ธันวาคม, 2551.
อ้างอิง: รัฐพร เงินมีศรี, วิสุทธิ์ แช่มสะอาด, ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด, สรวิศ สอนสารี และ นิพนธ์ เกตุจ้อย. การทดสอบหาแรงดันไฟฟ้าสุดท้ายของแบตเตอรี่ตะกั่วกรดชนิด Deep Cycle 19 ภายใต้มาตรฐาน BS EN 60896 - 1: 199. เทคโนโลยีพลังงาน.การประชุมวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 1 (TREC). ธันวาคม, 2551.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ เฉลิมชัย สังโยฆะ อวยพร ดำริมุ่งกิจ อนุพล อัคพิน และธนชัย มะธิปิไขย. (2566). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนช่วงชั้นที่ 2 โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านรักไทยจากการใช้หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมสำหรับกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ เรื่องฝายชะลอความชุ่มชื้น โดยใช้โครงงานเป็นฐาน. งานประชุมวิชาการครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 5 นวัตกรราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ณ หอประชุมใหญ่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย วันที่ 28 ก.พ. 66
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
อ้างอิง: อนุพล อัคพิน วีระบูลย์กิตติ ชุมพรผ่อง ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด ธีรภัทร์ พุ่มพลอย ศักย์ชัย เพชรสุวรรณ มลวิภา เมืองพระฝาง และเฉลิมชัย สังโยคะ.(2562).ผลกระทบจากการให้บริการวิชาการการถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน ณ ตำบลวังน้ำขาว อำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย.การประชุมสัมมนาวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 12 ณ วิทยาลัยพลังงานทดแทนและสมาร์ตกริดเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ในวันที่ 6-8 พฤศจิกายน 2562
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาบุคลิกภาพครูวิทยาศาสตร์
อ้างอิง: โครงการพัฒนาความเป็นครูวิทยาศาสตร์
อ้างอิง: โครงการพัฒนาการจัดค่ายวิทยาศาสตร์
อ้างอิง: โครงการพัฒนาเทคนิคการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: อบรม EdPEx
อ้างอิง: อบรมพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร มรพส.
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการบริหารจัดการความเสี่ยงในองค์กร
อ้างอิง: อบรมการเขียนเอกสารด้านการรับใช้สังคม
อ้างอิง: อบรม EdPEX coaching ครั้งที่ 1 หมวดที่ 1+2
อ้างอิง: อบรม PLC online
อ้างอิง: อบรมโครงการพัฒนาเทคนิคการนำผลงานวิจัยสู่การนำประโยชน์เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติโครงการพัฒนาศักยภาพนักบริการวิชาการ กิจกรรมการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการบริหารโครงการวิจัยและพัฒนาจากการวางแผนสู่การประเมินผล
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการส่งเสริมศักยภาพนักบริการวิชาสู่นักวิจัยรับใช้ท้องถิ่นและสังคม กิจกรรม"การพัฒนาผลงานเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการรับใช้ท้องถิ่นและสังคม
อ้างอิง: กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประเมินผลตอบแทนทางสังคม
อ้างอิง: โครงการอบรมพัฒนาทักษะ Soft Skill ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (Social Engineer) เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน สำหรับคณาจารย์และบุคลากร
อ้างอิง: โครงการเสริมสร้างคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ
อ้างอิง: อบรมจริยธรรมในมุนษย์
อ้างอิง: โครงการ Paper camp 2023
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการยกระดับการประกันคุณภาพสู่เกณฑ์ AUN QA
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง SROI งบยุทธศาสตร์
อ้างอิง: อบรมการจัดทำรายงานงบยุทธศาสตร์
อ้างอิง: อบรมการออกแบบหลักสูตรและสื่อการเรียนรู้ในยุคดิจิตอล
อ้างอิง: โครงการอบรมและพัฒนาทักษะ DIGITAL LITERACY ของบุคลากร
อ้างอิง: โครงการยกระดับขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมก้าวสู่การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านกฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาฯ
อ้างอิง: อบรมโครงการพัฒนาเพื่อการใช้ประโยชน์ที่ดิน
อ้างอิง: โครงการ การประเมิน SIA & SROI รุ่นที่ 12
อ้างอิง: อบรมหลักสูตรการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ออนไลน์)
อ้างอิง: อบรม Team Teaching
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการเขียนตำรา หนังสือ และบทความวิจัย สำหรับการขอตำแหน่งทางวิชาการ
อ้างอิง: อบรมการเรียนรู้การใช้งาน ระบบ E-sign PSRU
อ้างอิง: อบรม AUNQA
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: หลักสูตรการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
อ้างอิง: หลักสูตรพัฒนาองค์ความรู้และเสริมสร้างเครือข่ายขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวพระราชดำริและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (พพร.) รุ่นที่ 7
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: อบรมหลักสูตรที่ 1 ฝายต้นน้ำลำธารเพื่อการฟื้นฟูนิเวศลุ่มน้ำตามแนวพระราชดำริ
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมอาจารย์ใหม่ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การจัดการข้อมูลผลงานวิชาการด้วย Google Scholar และระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
อ้างอิง: อบรมโครงการพัฒนาระบบอาจารย์ที่ปรึกษา
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมประกันคุณภาพระดับหลักสูตร ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมการเขียนโครงการวิจัยทางสังคม ณ ทรัพย์ไพรวัลย์ แกรน โฮเต็ล
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อโครงการ: โครงการจิตอาสาฟื้นฟูป่าชุมชนโดยการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น ณ ตำบลบ้านดง อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ปีที่ 4
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมกระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Ethics in Professional Learning Community : e-PLC)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการจิตอาสาฟื้นฟูป่าชุมชนโดยการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น ณ ตำบลบ้านดง อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ปีที่ 3” ภายใต้โครงการโครงการพัฒนากระบวนการคิดแบบวิทย์นอกห้องเรียน
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนอาทรอุทิศ
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาครูในโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนในถิ่นทุรกันดาร ณ โรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดนบ้านรักไทย
ชื่อโครงการ: โครงการจิตอาสาฟื้นฟูป่าชุมชนโดยการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น ณ ตำบลบ้านดง อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ปีที่ 2 ภายใต้โครงการกิจกรรมการพัฒนาท้องถิ่นด้วยศาสตร์
ชื่อโครงการ: โครงการการส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เพื่อเพิ่มศักยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21
ชื่อโครงการ: โครงการจิตอาสาสร้างฝาย ณ บริเวณต้นน้ำของน้ำตกไผ่สีทอง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: โครงการจิตอาสาฝนเลนส์แว่นสายตาสำหรับผู้ด้อยโอกาสร่วมสโมรสโรตารี่พุทธชินราช ณ วัดหนองหัวยาง ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: โครงการจิตอาสาฟื้นฟูป่าชุมชนโดยการสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น ณ ตำบลบ้านดง อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก ปีที่ 1”
ชื่อโครงการ: โครงการการบริหารจัดการน้ำด้วยธนาคารน้ำใต้ดิน
ชื่อโครงการ: โครงการ Chevron Enjoy Science “สนุกวิทย์ พลังคิด เพื่ออนาคต” ระยะที่ 3
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: โครงการ Chevron enjoy science สนุกวิทย์ พลังคิด เพื่ออนาคต ระยะที่ 2
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาคุณภาพชุมชนบ้านโป่งสอ ตำบลน้ำกุ่ม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: โครงการสืบสานการศึกษาทางไกลเพื่อน้อง และโครงการ “เยาวชนทั่วถิ่นไทย เรียนรู้ได้ ใต้ร่มพระบารมี”
ชื่อโครงการ: การสร้างต้นแบบโครงข่ายระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าจากฝายร่วมกับระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
ชื่อโครงการ: การบริหารจัดการน้ำบนพื้นที่สูง และการประยุกต์ใช้พลังงานทดแทน
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: โครงการ Chevron enjoy science สนุกวิทย์ พลังคิด เพื่ออนาคต ระยะที่ 1
ชื่อโครงการ: โครงการสร้างฝายผลิตไฟฟ้า เพื่อพัฒนาป่าต้นน้ำ
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: โครงการอบรมการบริหารจัดการน้ำด้วยพลังงานทดแทน
ชื่อโครงการ: วิทยากรอบรมคูปองครู
ชื่อโครงการ: โครงการปั้นฝายเพื่อพ่อ
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านด่าน
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: วิทยากรอบรมคูปองครู
ชื่อโครงการ: วิทยากรอบรม 9 มาตรฐาน รุ่นที่ 1
ชื่อโครงการ: วิทยากรอบรม 9 มาตรฐาน รุ่นที่ 2
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมคุณภาพการศึกษาโรงเรียนตำรวจตระเวนชายแดน ในกิจกรรม “พัฒนาการศึกษาทางไกล และให้ความรู้ PBL using ICT”
ชื่อโครงการ: โครงการจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับหลัก นวัตบวร (I-CORE) เรื่องการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
ชื่อโครงการ: โครงการจัดค่ายความคิดให้กับนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยใช้ระบบ “นวัตบวร” (I-CORE) เป็นฐานการเรียนรู้
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อโครงการ: การตรวจสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าของแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบกลางแจ้ง กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สาขาดงบำเหน็จณรงค์ ขนาดกำลังผลิต 12.5 เมะวัตต์ บริษัท กันกุล เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน)
ชื่อโครงการ: การตรวจสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าของแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบกลางแจ้ง กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์สาขาด่านขุนทด ขนาดกำลังผลิต 12.5 เมะวัตต์ บริษัท กันกุล เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด (มหาชน)
ชื่อโครงการ: การประเมินประสิทธิภาพของเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้าและประเมินการเสื่อมสภาพการทำงานจริงของโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาด 8 เมกกะวัตต์ บริษัท เด็มโก้ จำกัด (มหาชน)
ชื่อโครงการ: การตรวจสอบคุณสมบัติของกระแสและแรงดันไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา ขนาดกำลังผลิต 1 เมกะวัตต์ บริษัท เด็มโก้ จำกัด (มหาชน)
ชื่อโครงการ: การตรวจสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าของแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบกลางแจ้งกรณีระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์บนหลังคา ขนาดกำลังผลิต 2.3 เมกะวัตต์ บริษัท กันกุล พาวเวอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด
ชื่อโครงการ: ทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟ้าของแผงเซลล์แสงอาทิตย์" สนับสนุนโดย บริษัท โซล่า พาร์ค จำกัด
ชื่อโครงการ: สอบเทียบเครื่องมือวัดความเข้มรังสีอาทิตย์ (Pyranometer) สนับสนุนโดย บริษัท เอฟ เอ เอส เอ็นจิเนียริ่ง จำกัด
ชื่อโครงการ: ทดสอบเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า เครื่องประจุไฟฟ้า และแบตเตอรี่ สนับสนุนโดย บริษัท ทีซัส อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด
ชื่อโครงการ: ทดสอบคุณภาพของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์แบบติดตั้งบนหลังคา บริษัท ศ. แสนดี จำกัด จังหวัดพิจิตร
ชื่อโครงการ: ทดสอบคุณภาพของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัท พลังงานบริสุทธิ์ จำกัด (มหาชน) (EA) จังหวัดลพบุรี
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อโครงการ: การตรวจสอบและประเมินโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ขนาดกำลังติดตั้ง 6.3 เมะวัตต์ บริษัท ซุปเปอร์ดรีม เพาเวอร์ จำกัด
ชื่อโครงการ: การประเมินประสิทธิภาพ คุณภาพ และความเสี่ยงของโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ บริษัท อินฟินิทกรีน จำกัด
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อโครงการ: ทดสอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์และอุปกรณ์ประกอบให้แก่บริษัท ทีซัส จำกัด และ บริษัท ลีโอนิคส์ จำกัด
ชื่อโครงการ: การตรวจสอบคุณภาพไฟฟ้าและระบบป้องกันเครื่องแปลงกระแสไฟฟ้าสำหรับโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ บริษัท เอสเอ็มเอ โซลาร์ (ไทยแลนด์) จำกัด
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
ชื่อโครงการ: ทดสอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์ให้แก่บริษัท แอล โซลาร์ 1 จำกัด
ชื่อโครงการ: ทดสอบการติดตั้งโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์แม่สะเรียง 1 และ 3 ของบริษัท แม่สะเรียง โซลา จำกัด จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ชื่อโครงการ: ออกแบบและทดสอบการติดตั้งโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์แม่สะเรียง 2 ของบริษัท แม่สะเรียง โซลา จำกัด จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ชื่อโครงการ: ทดสอบการติดตั้งโรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์นภัสโซลาของบริษัท นภัสโซลา จำกัด จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
ชื่อโครงการ: ทดสอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์ให้แก่บริษัท โรจนะ เอ็นเนอร์จี จำกัด และบริษัท ไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด
ชื่อโครงการ: โครงการปรับปรุงระบบเซลล์แสงอาทิตย์ โรงเรียนห้วยปมพาด จังหวัดแม่ฮ่องสอน
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
ชื่อโครงการ: ทดสอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์และอุปกรณ์ประกอบให้แก่บริษัทไทยเอ-เย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
ชื่อโครงการ: จัดทำข้อกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของแผงเซลล์แสงอาทิตย์และอุปกรณ์ประกอบให้แก่สำนักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 11
ชื่อโครงการ: เก็บข้อมูลความเป็นไปได้ในการจัดตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์ ณ จังหวัดสุพรรณบุรี และจังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อโครงการ: ทดสอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์และอุปกรณ์ประกอบให้แก่บริษัทไทยเอ-เย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด บริษัทบางกอกโซลาร์ จำกัด และบริษัทพีซีซี ไพศาลสิน จำกัด
ปี พ.ศ. 2550 (2007)
ชื่อโครงการ: ทดสอบแผงเซลล์แสงอาทิตย์และอุปกรณ์ประกอบให้แก่บริษัท ไทยเอเย่นซี เอ็นยีเนียริ่ง จำกัด บริษัทบางกอกโซลาร์ จำกัด และบริษัทพีซีซี ไพศาลสิน จำกัด
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยผู้สร้างสรรค์ผลงานบริการวิชาการรับใช้สังคมดีเด่นกลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ชื่อรางวัล: รางวัลอาจารย์ที่ปรึกษาดีเด่น คณะครุศาสตร์
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรผู้สร้างผลงานหรือโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ ดีเด่น
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: นักวิจัยดีเด่น ระดับคณะ
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: นิพนธ์ เกตุจ้อย สุขฤดี สุขใจ รัฐพร เงินมีศรี และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด, (2556), อนุสิทธิบัตรเครื่องวัดความเข้มรังสีแสงอาทิตย์, เลขที่อนุสิทธิบัตร 7917, เลขที่คำขอจด: 1103001311, ออกให้ วันที่ 23 มีนาคม 2556, หมดอายุ วันที่ 30 ธันวาคม 2560.
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: นิพนธ์ เกตุจ้อย คงฤทธิ์ แม้นศิริ และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด, (2556), อนุสิทธิบัตรพัดลมที่ใช้งานจากพลังงานแสงอาทิตย์, เลขที่อนุสิทธิบัตร 8124, เลขที่คำขอจด : 1103001312, ออกให้ วันที่ 25 มิถุนายน 2556, หมดอายุ วันที่ 5 ธันวาคม 2560.
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: นิพนธ์ เกตุจ้อย ฉัตรชัย ศิริสัมพันธ์วงษ์ รัฐพร เงินมีศรี คงฤทธิ์ แม้นศิริ และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด, (2556), อนุสิทธิบัตรระบบติดตามดวงอาทิตย์ชนิดสองแกนแบบพลังงานภายในตัวสำหรับการขับเคลื่อน, เลขที่อนุสิทธิบัตร 8481, เลขที่คำขอจด: 1303000152, ออกให้ วันที่ 11 พฤ
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: นิพนธ์ เกตุจ้อย ณัฐวุฒิ ขาวสะอาด และรัฐพร เงินมีศรี, (2555), อนุสิทธิบัตรเรื่องระบบไฟฟ้าแสงสว่างแบบพกพาพลังงานแสงอาทิตย์, เลขที่อนุสิทธิบัตร 7185, เลขที่คำขอจด: 1103000933, ออกให้ วันที่ 23 พฤษภาคม 2555, หมดอายุ วันที่ 30 สิงหาคม 2560.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: นิพนธ์ เกตุจ้อย คงฤทธิ์ แม้นศิริ และณัฐวุฒิ ขาวสะอาด, (2554), อนุสิทธิบัตรเรื่องระบบเตือนไร้สายพลังงานแสงอาทิตย์, เลขที่อนุสิทธิบัตร 6400, เลขที่คำขอ: 0803001526, ออกให้ วันที่ 21 กรกฎาคม 2554, หมดอายุ 18 ธันวาคม 2557.
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: สื่อประกอบการสอนรายวิชาเทคโนโลยีพลังงานทดแทนสำหรับสถานศึกษา
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: สื่อการสอนระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบอิสระ
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: สื่อการสอนระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบเชื่อมต่อเข้าสายส่ง
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: สื่อการสอนระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยระบบก๊าซชีวภาพ
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: สื่อการสอนระบบผลิตพลังงานไฟฟ้าด้วยระบบแก๊สสิฟิเคชั่น
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: โมเดลสื่อการสร้างฝายผลิตไฟฟ้า เพื่อพัฒนาป่าต้นน้ำ
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: สื่อการสอนระบบผลิตก๊าซชีวภาพ ณ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: สื่อการเรียนการสอน PBL using ICT
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.