|
 |
|
ตำแหน่ง: - |
สังกัดหน่วยงาน:
- |
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน:
- |
อีเมล์: - |
|
|
|
|
|
ลำดับการศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
ปีการศึกษาที่จบ |
1 |
วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา) |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
2563 |
2 |
M.Eng (Transportation Engineering) |
Asian Institute of Technology |
2555 |
3 |
B.Eng (Civil Engineering) เกียรตินิยมอันดับ 1 |
King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang |
2553 |
|
|
|
|
|
Transportation Engineering, Traffic Engineering, Civil Engineering, Logistics and Supply Chain |
|
|
|
|
Geographic Information System (GIS), Highway Design and Construction, Transportation Economics, Transportation Modelling, Traffic System, Logistics System |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์ |
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
Pochan, J., Pichayapan, P., & Arunotayanun K. (2020). A Modeling Framework of Hierarchical Earthquake Relief Center Locations Under Demand Uncertainty. International Journal of GEOMATE, 18 (65), 23-33. |
|
 |
อ้างอิง: |
เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์. (2562). ปัจจัยที่มีผลกับการใช้พลังงานในการขนส่งในภาคเหนือของประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1(1), 46-67. Pochan, J., Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., & Arunotayanun, K. (2016). Factors Affecting to the Transportation Energy Consumption in Northern Region of Thailand using Multiple Regression Analysis Models. Industrial Technology and Engineering Pibulsongkram Rajabhat University Journal, 1(1), 46-67. |
|
 |
อ้างอิง: |
เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ นัฐพร นวกิจรังสรรค์. (2561). การพัฒนาแบบจำลองด้านการขนส่งตามวิธีการตัดสินใจแบบต่อเนื่อง 4 ขั้นตอน เพื่อคาดการณ์ปริมาณผู้โดยสารที่ใช้รถขนส่งสาธารณะในมหาวิทยาลัย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(6), 804-814.
Pochan, J., Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., & Nawakitrangsan, N. (2018). Developing Transportation Model based on 4-Steps Sequential Decision Method for Passenger Demand Forecasting of Public Transportation in University. Journal of Science and Technology Mahasarakham University, 37(6), 804-814. |
|
 |
อ้างอิง: |
วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ นัฐพร นวกิจรังสรรค์. (2561). การพัฒนาแบบจำลองฟัซซีแรนดอมยูทิลิตีสำหรับการเลือกรูปแบบการเดินทางด้วยระบบรางของนักท่องเที่ยวระหว่างเมืองในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรณีศึกษารถไฟทางคู่สายเด่นชัย – เชียงราย. วารสารปาริชาต, 31(3), 185-197.
Wichitphongsa, W., Pochan, J., Settasuwacha, D., & Nawakitrangsan, N. (2018). Development of Fuzzy Random Utility Model for Travel Mode Choice by Rail Transport of Tourist in ASEAN Economic Community: A Case Study of Double-Track Rail link Den Chai - Chiang Rai. Parichart Journal, 31(3), 185-197. |
|
 |
อ้างอิง: |
ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การประเมินความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุบริเวณจุดตัดทางรถไฟ กรณีศึกษาสถานีรถไฟคลองแงะ-ควนเนียง จังหวัดสงขลา. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, 19(1), 99-110.
Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2018). The Risk Assessment of Accident at Highway-Railway Grade Crossing (HRGC): A Case Study of Khlong Ngae-Khuan Niang Train Station, Songkhla Province. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, 19(1), 99-110. |
|
 |
อ้างอิง: |
เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี และ เอกภูมิ บุญธรรม. (2560). การพัฒนาแบบจำลองแบบต่อเนื่องเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งในมหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 10(2), 24-37.
Pochan, J., Wichitphongsa, W., Phongsaksri, J. & Boonthum, E. (2017). The Development of a Model for an Investment Feasibility Analysis of Transport Infrastructure in a University. Industrial Technology Lampang Rajabhat University Journal, 10(2), 24-37. |
|
 |
อ้างอิง: |
ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2559). การศึกษาความปลอดภัยทางถนนในเขตชุมชนเมือง: กรณีศึกษาอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 6(1), 129-141.
Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2016). The Study of Road Safety in Small Urban Area: A Case Study of Pai District, Mae Hongson Province. Journal of Srivanalai Vijai, 6(1), 129-141. |
|
 |
อ้างอิง: |
เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, วชิระ วิจิตรพงษา และ จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี. (2559). การวิเคราะห์หาสัดส่วนการลงทุนตามพันธกิจเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศ โดยใช้การเปรียบเทียบเชิงคู่ และการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น. วารสารศรีวนาลัยวิจัย, 6(2), 1-10.
Pochan, J., Settasuwacha, D., Wichitphongsa, W., & Phongsaksri, J. (2016). An Analysis of the Proportion of Investment by the Mission for Excellence University Using Pair-Wise Comparison and Analytic Hierarchy Process. Journal of Srivanalai Vijai, 6(2), 1-10. |
|
- |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ |
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
Pochan, J., Pichayapan, P., & Arunotayanun K. (2020). Development of Travel Demand Models under Earthquake by Using Spaghetti and Meatballs Method and Four-Step Transportation Model. 42th International Conference on Engineering, Technology and Applied Science (ETAS-42), Japan, 24-35. |
|
 |
อ้างอิง: |
Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2020). An Intercity Freight Mode Choice Model : A Case Study of High Speed Rail Link Northern Line Thailand (Bangkok – Chiangmai). MATEC Web of Conferences: 2019 8th International Conference on Transportation and Traffic Engineering (ICTTE 2019), New Zealand, 308, 1-5. |
|
 |
อ้างอิง: |
วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ปรีดา พิชยาพันธ์. (2562). แบบจำลองการเลือกรูปแบบการเดินทางของผู้ใช้บริการขนส่งสาธารณะ เพื่อส่งเสริมการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ ในจังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 12, ประเทศไทย, 782-791. Wichitphongsa, W., Pochan, J., & Pichayapan, P. (2019). Discrete Choice Model for Public Transport Users Mode Choice Behaviour for Promoting Non-Motorised Transport in Chiang Mai Region. The 12th National Conference of Phuket Rajabhat University, Thailand, 782-791. |
|
 |
อ้างอิง: |
ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4, ประเทศไทย, 980-992.
Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2018). Road Safety Audit of Pibulsongkram Rajabhat University. The 4th National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand, 980-992. |
|
 |
อ้างอิง: |
ชัยวัฒน์ แสงศรีจันทร์, กฤษณุ ศุภจิตรานนท์, ดุษฎี สถิรเศรษฐทวี, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2560). การศึกษาความเหมาะสมเพื่อปรับปรุงทางแยกในเขตสถานศึกษา กรณีศึกษา: สี่แยกคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, ประเทศไทย, 349-356.
Sangsrichan, C., Satirasetthavee, D., Supachitranon, K., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2017). The Feasibility Study of an Intersection in University Area; A Case Study of Manudsart Intersection, Naresuan University. The 22nd National Convention on Civil Engineering, Thailand, 349-356. |
|
 |
อ้างอิง: |
วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ เจษฎากร โนอินทร์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางจักรยาน เพื่อส่งเสริมมาตรการเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ในเขตเทศบาลเมืองน่าน. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 388-399.
Wichitphongsa, W., Pochan, J., Settasuwacha, D., & Noin, J. (2017). Factors Affecting the Development of Cycling Route Network to Promote Non-Motorize Transportation in Nan Municipality. The 3rd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 388-399. |
|
 |
อ้างอิง: |
ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา และ กฤษณะ กลิ่นดี. (2560). การศึกษาพฤติกรรมการขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลเมื่อขับผ่านจุดตัดทางรถไฟ. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 1-7.
Settasuwacha, D., Pochan, J., Wichitphongsa, W., & Klindee, K. (2017). A Study of Passenger Car Driving Behavior when Approaching at Highway – Railway Grade Crossing. The 3rd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 1-7. |
|
 |
อ้างอิง: |
เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์. (2560). การพัฒนาแบบจำลองเพื่อประเมินผลกระทบด้านการจราจรในมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 23-32.
Pochan, J., Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., & Arunotayanun, K. (2017). Developing Model for Traffic Impact Assessment in University: A Case Study of Pibulsongkram Rajabhat University. The 3rd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 23-32. |
|
 |
อ้างอิง: |
เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การจัดลำดับความสำคัญของจุดติดตั้งอุปกรณ์สยบความเร็วกรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 733-743.
Pochan, J., Wichitphongsa, W., Settasuwacha, D., & Rattanapong, S. (2017). The Priority of Speed Calming Devices Installed Location: A Case Study of Pibulsongkram Rajabhat University. The 3rd National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand, 733-743. |
|
 |
อ้างอิง: |
วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2559). แบบจำลองการประเมินโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งในเขตพื้นที่ชายแดน: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงราย. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2, ประเทศไทย, 68-75.
Wichitphongsa, W., Pichayapan, P., Settasuwacha, D., & Pochan, J. (2016). The Evaluation Model of Transportation Infrastructure in Border Cities: A Case Study of Chiang Rai Province. The 2nd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 68-75. |
|
 |
อ้างอิง: |
สัจจากาจ จอมโนนเขวา, สุกฤษฎิ์ เพชรสวัสดิ์, วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2559). โมเดลการวัดคุณภาพการให้บริการรถขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม: การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2, ประเทศไทย, 61-67.
Jomnonkwao, S., Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2016). Measurement Modeling of Public Transit Services in Pibulsongkram Rajabhat University: An Application of Confirmatory Factor Analysis. The 2nd National Conference of Industrial Technology, Thailand, 61-67. |
|
 |
อ้างอิง: |
วชิระ วิจิตรพงษา, นพดล กรประเสริฐ, ปาลินี สุมิตสวรรค์ และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2558). การประเมินประสิทธิภาพและความคุ้มค่าของทางแยกแบบจำกัดการข้ามและกลับรถ: กรณีศึกษาทางแยกบริเวณหน้ามหาวิทยาลัยพะเยา. การประชุมวิชาการการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 10, ประเทศไทย.
Wichitphongsa, W., Kronprasert, N., Sumitsawan, P., & Pochan, J. (2015). Evaluation the Value and Effectiveness of Intersections Restricted Crossing U-Turn: A Case Study Intersection in front of University of Phayao. The 10th National Transport Conference, Thailand. |
|
 |
อ้างอิง: |
อรรถวิทย์ อุปโยคิน, เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, พิมพ์สิริ โตวิจิตร, และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2558). การคัดเลือกที่ตั้งสำหรับศูนย์โลจิสติกส์ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, ประเทศไทย.
Upayokin, A., Arunotayanun, K., Towijit, P., & Pochan, J. (2015). Selection of the Location of Logistics Park Using Geographic Information System (GIS) and Multi Criteria Analysis (MCA). The 20th National Convention on Civil Engineering, Thailand. |
|
 |
อ้างอิง: |
สฤษดิ์พงศ์ นิใจ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ปิยวรรณ สิริประเสริฐศิลป์. (2558). การคัดเลือกบุคคลที่มีขีดความสามารถเพื่อเข้าทำงานในองค์กร โดยใช้การวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 ธุรกิจเทคโนโลยี การจัดการและนโยบายนวัตกรรม, ประเทศไทย.
Nijai, S., Pochan, J., & Siripraseotsin, P. (2015). Talent Selection for Organization Using Multi Criteria Analysis. The 1st Technopreneurship, Innovation Management and Policy Conference, Thailand. |
|
 |
อ้างอิง: |
ปรีดา พิชยาพันธ์, บุญส่ง สัตโยภาส, เจษฎา โพธิ์จันทร์, สิริภพ จึงสมาน และ ชาครีย์ บำรุงวงศ์. (2557). การประเมินความเหมาะสมแนวเส้นทางโดยการวิเคราะห์แบบหลายหลักเกณฑ์ และวิธีการปรับฐานคะแนนปัจจัยแบบเอกภาพ. การประชุมวิชาการการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 9, ประเทศไทย.
Pichayapan, P., Satayopas, B., Pochan, J., Chuengsman, S., & Bamrungwong. C. (2014). Route Alignment Evaluation by Multi Criteria Analysis and Unified Value-Normalize Method. The 9th National Transport Conference, Thailand. |
|
 |
อ้างอิง: |
เกรียงไกร อรุโณทยานันท์, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2557). การพัฒนาแบบจำลองการคัดเลือกตำแหน่งที่ตั้งศูนย์กระจายสินค้า ภายใต้ความเสี่ยงภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทย โดยวิธีการเมตาฮิวริสติค. การประชุมวิชาการการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 9, ประเทศไทย.
Arunotayanun, K., Pichayapan, P., & Pochan, J. (2014). Development of Distribution Center Location Choice Models under Natural Disaster Risks in Thailand using Metaheuristic Approaches. The 9th National Transport Conference, Thailand. |
|
 |
อ้างอิง: |
Tansawat, T., Pochan, J., & Mofadal, A. (2012). Transport Energy Consumption Model for Thailand Provinces. The 5th ATRANS Symposium, Thailand. |
|
-
|
|
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
|
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
โครงการฝึกอบรม "สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่" รุ่นที่ 4, สำนักงานคณะกรรมกรรมวิจัยแห่งชาติ (วช.) |
|
 |
อ้างอิง: |
โครงการฝึกอบรม "การกำหนดราคากลางและแนวทางการคำนวณราคากลางงานก่อสร้าง ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์" รุ่น 5, สำนักบริการวิชาการ, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
|
 |
อ้างอิง: |
โครงการฝึกอบรม "เพิ่มความแข็งแกร่งทางวิชาชีพครู" รุ่น 2, คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
|
|
|
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์รองรับโครงการก่อสร้างรถไฟ ลาว-จีน (ช่วงบ่อเต็น-เวียงจันทน์)”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (มกราคม พ.ศ. 2562 – มกราคม พ.ศ. 2563) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์เพื่อพัฒนาเมืองชายแดน บริเวณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะที่ 2”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (ม.ค. 2562 - ม.ค. 2563) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาเพื่อยกระดับระเบียงเศรษฐกิจ LIMEC ให้สอดคล้องกับกรอบความร่วมมือ ACMECS”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (มกราคม พ.ศ. 2562 – มกราคม พ.ศ. 2563) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การประเมินผลกระทบด้านการจราจรเพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง : กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา”, สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยพัฒนา ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงของประเทศไทย (พ.ศ. 2562) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาพฤติกรรมและความเหมาะสมในการเชื่อมต่อการเดินทางภายในสถานีรถไฟความเร็วสูง เพื่อรองรับกับสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา”, สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยพัฒนา ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีฯ (พ.ศ. 2562) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การจัดการความปลอดภัยทางถนนสำหรับเส้นทางท่องเที่ยว กรณีศึกษาทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (จังหวัดพิษณุโลก – จังหวัดเพชรบูรณ์)”, สนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ตุลาคม พ.ศ. 2560 - กันยายน พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การถ่ายทอดและขยายผลงานวิจัยด้านโลจิสติกส์อย่างยั่งยืนสู่กลุ่มเป้าหมายบนระเบียงเศรษฐกิจหลวงพระบาง อินโดจีน และ เมาะลำไย”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (เมษายน พ.ศ. 2561-กันยายน พ.ศ. 2561 |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาแนวทางการแก้ไขข้อจำกัดของน้ำหนักรถบรรทุกอ้อยที่เหมาะสม”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (ธันวาคม พ.ศ. 2560 - ธันวาคม พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาความต้องการและข้อมูลด้านระบบโลจิสติกส์ของคน สินค้า และบริการ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาโซ่อุปทานการท่องเที่ยวบนเส้นทางภาคเหนือตอนล่าง 1 ประเทศไทย และเมืองดานัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (ธันวาคม พ.ศ. 2560 - พฤศจิกายน พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “แผนงานวิจัยการพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์น้ำตาลที่มีประสิทธิภาพ”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (พฤษภาคม พ.ศ. 2560 ถึง เมษายน พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การบูรณาการและการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างภาคเหนือตอนล่าง 1 ประเทศไทย และมณฑลเสฉวน สาธารณรัฐประชาชนจีน”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.) (มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง พฤษภาคม พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “งานศึกษาความเหมาะสมทางด้านเศรษฐกิจ วิศวกรรม และผลกระทบสิ่งแวดล้อม และสำรวจออกแบบรายละเอียดโครงข่ายสะพานมิตรภาพไทย - ลาว แห่งที่ 6 (อุบลราชธานี - สาละวัน)”, สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (มีนาคม พ.ศ. 2560 – มิถุนายน พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาระบบจัดเก็บค่าธรรมเนียมผ่านทางอัตโนมัติสำหรับรถบรรทุกบนทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง”, สนับสนุนโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2561) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาการพัฒนาระบบการผลิตแผ่นป้ายทะเบียนรถ”, สนับสนุนโดยกรมการขนส่งทางบก (พ.ศ. 2560) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การส่งเสริมการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน (เมืองปั่นได้ เมืองปั่นดีน่าน)”, สนับสนุนโดยเทศบาลเมืองน่าน (ธันวาคม พ.ศ. 2559 - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาและจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะจังหวัดเชียงใหม่”, สนับสนุนโดยสำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (มกราคม พ.ศ. 2559 - ธันวาคม พ.ศ. 2559) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “งานศึกษาความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม เศรษฐกิจ การเงิน และผลกระทบสิ่งแวดล้อมโครงการทางพิเศษ เพื่อจัดทำแผนแม่บททางพิเศษในจังหวัดเชียงใหม่”, สนับสนุนโดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ธันวาคม พ.ศ. 2557 - สิงหาคม พ.ศ. 2559) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดนครปฐม”, สนับสนุนโดยสำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดนครปฐม (พ.ศ. 2558) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การวางและจัดทำผังเมืองรวมจังหวัดเพชรบุรี”, สนับสนุนโดยสำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเพชรบุรี (พ.ศ. 2558) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “ทางหลวงแนวใหม่ สาย เชียงใหม่-ลำพูน”, สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (พ.ศ. 2557) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การจัดวางระบบจังหวัดลำปางให้เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงสินค้าและบริการทางบกของภาคเหนือ”, สนับสนุนโดยสำนักงานจังหวัดลำปาง (พ.ศ. 2557) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ "การประเมินผลโครงการก่อสร้างทางสายหลักเป็น 4 ช่องจราจร (ระยะที่ 2)", สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (พ.ศ. 2557) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ “การศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการก่อสร้างถนนเลี่ยงเมืองต้นเปา บริเวณแยก ทล.1014 สายบ่อสร้าง – ดอยสะเก็ด อำเภอสันกำแพง จังหวัดเชียงใหม่”, สนับสนุนโดยกรมทางหลวงชนบท (กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 – ตุลาคม พ.ศ. 2557) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการ "การศึกษาความเหมาะสมและผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น โครงการสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา (แห่งที่ 3) จังหวัดปทุมธานี", สนับสนุนโดยกรมทางหลวง (พ.ศ. 2556) |
|
|
|
|
|
|
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล |
|
|
|
 |
ชื่อโครงการ: |
อาจารย์พิเศษ, วิชา "วิศวกรรมฐานราก (Foundation Engineering)", คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยนเรศวร |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
อาจารย์พิเศษ, วิชา "การจัดการการขนส่งและกระจายสินค้า (Transportation and Distribution Management)", คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น |
|
|
|
|
|
|
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน |
|
|
|
|
 |
ชื่อรางวัล: |
Runner-Up Oral Presentation Award, The 3rd National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand. |
|
 |
ชื่อรางวัล: |
Best Oral Presentation Award, The 3rd National Conference on Pibulsongkram Research, Thailand. |
|
 |
ชื่อรางวัล: |
Champion Awards from Zeer Robotics Open (Transporter Robot), Thailand. |
|
|
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง |
|
|
|
 |
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: |
Controlled - Engineer License, Associate Engineer, Council of Engineers (COE), Thailand. |
|
|
|
|
|
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ |
|
|
|
|