ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุชาดา เจียพงษ์  
  Asst. Prof. Dr. suchada giaphong
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: suchada_kr@hotmail.com
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 อ.ด. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร 2553
2 ศศ.ม. (ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล 2547
3 ศศ.บ. (ภาษาศาสตร์) - 2542
 
ความเชี่ยวชาญ
ภาษาไทย, ภาษาศาสตร์ภาษาไทย
 
ความสนใจ
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ กนิษฐา รอดเป้า ชนนิกานต์ โฉมงาม เบ็ญจรัตน์ ไผ่งาม และอนุช สุวรรณเชษฐ์. (2565). การวิเคราะห์ชื่อละครที่ออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) 2565. หน้า 1-14.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์. (2565). คำยืมภาษาต่างประเทศในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน : การศึกษารูปแบบคำและการจำแนกประเภทความหมาย. วารสารอารยธรรมศึกษาโขง- สาละวิน, ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน) 2565. หน้า 96-120.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ บุญญาดา จิระสวัสดิ์วงษ์ และวรากร เพิ่มอุสาห์ . (2564). คำยืมภาษาบาลี สันสกฤตในสมุทรโฆษคำฉันท์ : การวิเคราะห์รูปคำละความหมาย.วารสารวิวิธวรรณสาร, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) 2564. หน้า 237-254.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ จุฬาลักษณ์ อุทัยแสน และมิรันตี นาคสวัสดิ์. (2564). ศัพท์โบราณในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. วารสารวิวิธวรรณสาร, ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน- ธันวาคม) 2564. หน้า 203-222.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ อนิสรา รัศมีเจริญ ขนิษฐา ใจมโน บุญเหลือ ใจมโน.(2564). ลักษณะความหมาย ของคำซ้อนในภาษาไทอาหม ภาษาไทลื้อ และภาษาลาว. วารสารพิฆเนศวร์สาร. ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2564. หน้า 83-92.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์.(2562). คำคล้ายในภาษาไทย : การวิเคราะห์รูปคำและความหมาย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน-ธันวาคม 2562. หน้า 49-58.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ และสนม ครุฑเมือง. (2560). นิทานพื้นบ้านอาเซียน : การวิเคราะห์ความเชื่อและภาพสะท้อนสังคม. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. ปีที่ 11 ฉบับพิเศษ 1 มีนาคม-พฤษภาคม 2559. หน้า 343-358.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์.(2560). อายุของผู้พูดกับการเลือกใช้คำบุรุษสรรพนามบุรุษที่ 1 และ 2 : การศึกษาเปรียบเทียบรูปคำและการใช้คำ. วารสารวิวิธวรรณสาร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2560. หน้า 105-130.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ (2556).สำนวนไทยเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต:การวิเคราะห์การจำแนกประเภทความหมายเปรียบ. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่10 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน-ธันวาคม 2556. หน้า 31-48.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ (2554).สังคมและวัฒนธรรมที่สะท้อนจากการใช้คำบุรุษสรรพนาม: การศึกษาเปรียบเทียบคำบุรุษสรรพนามในภาษาไทย 4 ถิ่น. วารสารคณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2554. หน้า 66-89.
ปี พ.ศ. 2550 (2007)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์. (2550). คำบุรุษสรรพนามในลิลิตพระลอ: การศึกษาตามแนวภาษาศาสตร์สังคม. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 29 (ฉบับพิเศษ 2550). หน้า 73-79.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ ปาริฉัตร ผ่องศรี และรุ่งนภา พึ่งศักดิ์. (2561). การศึกษาคำยืมภาษาต่างประเทศที่ปรากฏในพจนานุกรมคำใหม่ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2561. หน้า 717-727.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ ธิาดารัตน์ พรมส้มซ่า และวรรณิศา ชาญประโคน. (2561). การใช้วรรณยุกต์ผิดในภาษาไทย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลวิจัยครั้งที่ 3 "Thailand 4.0 นวัตกรรมการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน" วันที่ 23-24 มีนาคม 2561. หน้า 781-785.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ ชยาลินี ไฝแก้ว และดารารัตน์ จันทร. (2561). การใช้คำเรียกขานภาษาหล่ม อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลวิจัยครั้งที่ 3 "Thailand 4.0 นวัตกรรมการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน" วันที่ 23-24 มีนาคม 2561. หน้า 806-816.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์. (2560). ผลสัมฤทธิ์การใช้เอกสารประกอบการสอนเรื่อง คำคล้าย : ความหมายและการใช้ของนักศึกษารายวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลวิจัยครั้งที่ 3 "Thailand 4.0 นวัตกรรมการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน" วันที่ 23-24 มีนาคม 2560. หน้า 81-95.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ สิทธิพร ตุ้มปุก และคณะ. (2560). การตั้งชื่อร้านค้าในจังหวัดพิษณุโลก : กรณีศึกษาการใช้ภาษาและที่มาของการตั้งชื่อ. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลวิจัยครั้งที่ 3 "Thailand 4.0 นวัตกรรมการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน" วันที่ 23-24 มีนาคม 2560. หน้า 78-92.
ปี พ.ศ. 2548 (2005)
อ้างอิง: Suchada Jiaphong. (2005). Plang : New ethnic groups living in Thailand. Presented at an international conference at Yuxi university 2005. Page 200-215.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์. (2560). ผลสัมฤทธิ์การใช้เอกสารประกอบการสอนเรื่องคำคล้าย : ความหมายและการใช้. ที่ประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลวิจัย
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ และคณะ. (2560). การตั้งชื่อร้านค้าในจังหวัดพิษณุโลก : กรณีศึกษาการใช้ภาษาและที่มาของการตังชื่อ. ที่ประชุมวิชาการระดับชาติพิบุลวิจัย
อ้างอิง: Suchada Jiaphong, Parichat phongsri and Rungnapha Pungsak . (2018). A Study Foreign Loanwords in New Word Dictionary of the Royal Institute. Innovation and Education for Sustainable Development Goals (IESDC2018) Naresuan University, August 31st. P.717-727
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ บุญญาดา จิระสวัสดิ์วงษ์ และวรากร เพิ่มอุสาห์ . (2564). คำยืมภาษาบาลี สันสกฤตในสมุทรโฆษคำฉันท์ : การวิเคราะห์รูปคำละความหมาย.วารสารวิวิธวรรณสาร, ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม) 2564. หน้า 237-254.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์ จุฬาลักษณ์ อุทัยแสน และมิรันตี นาคสวัสดิ์. (2564). ศัพท์โบราณในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. วารสารวิวิธวรรณสาร, ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน- ธันวาคม) 2564. หน้า 203-222.
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์.(2564). คำยืมภาษาต่างประเทศในพจนานุกรมไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิษณุโลก : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์. (2564). ผ้าทอจังหวัดพิษณุโลก : การวิเคราะห์ความหมายและความเชื่อเพื่อเพ่ิมคุณค่าของผลผลิตสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์. พิษณุโลก : สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์. (2553). การศึกษาเปรียบเทียบคำบุรุษสรรพนามในภาษาไทย 4 ถิ่น . วิทยานิพนะ์ปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ปี พ.ศ. 2548 (2005)
อ้างอิง: สุชาดา เจียพงษ์. (2548). ภาษาถ่ิ่นลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์. อุตรดิตถ์ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
ปี พ.ศ. 2547 (2004)
อ้างอิง: สุชาดา เจียงพงษ์. (2547). การใช้คำทักทายของวัยรุ่นในปัจจุบัน : การวิเคราะห์เปรียบเทียบปัจจัยทางสังคมและการใช้ภาษาสุภาพ. อุตรดิตถ์ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
อ้างอิง: Suchada Jiaphong. (2004). Plang Grammar as Spoken in Huaynamkhun Village, Chiang Rai Province. M.A. Thesis in Linguistics, Mahidol University
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
-
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อหนังสือ:
สุชาดา เจีพงษ์. (2562). หลักภาษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. พิษณุโลก : สาชาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพิบูลสงคราม.
ชื่อหนังสือ:
สุชาดา เจีพงษ์. (2563). การเขียนเชิงวิชาการ. พิษณุโลก : สาชาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อหนังสือ: สุชาดา เจียพงษ์. (2558). คำคล้ายในภาษาไทย : ความหมายและการใช้. พิษณุโลก : โฟกัสพร้ินต์ติ้ง จำกัด.
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
ชื่อหนังสือ: สุชาดา เจียพงษ์ และสนม ครุฑเมือง. (2553). สารานุกรมวิถีชีวิตวัฒนธรรมไตยอง จังหวัดลำพูน. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ชื่อหนังสือ: สุชาดา เจียพงษ์ และสนม ครุฑเมือง. (2553). พจนานุรกรมไตยอง-ไทย และไทย-ไตยองจังหวัดลำพูน. ลำปาง : มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อรางวัล: รางวัลอาจารย์ผู้สอนดีเด่น ประจำปี 2562 ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: รางวัลอาจารย์ผู้มีผลงานบริการวิชาการดีเด่น ประจำปี 2561 จากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อรางวัล: รางวัลผู้นำเสนอผลงานวิจัยแบบบรรยายระดับดีมาก กลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ประจำปี 2558 ราชภัฏพิบูลสงครามวิจัย
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.