ชื่อ-นามสกุล
 อาจารย์เคลน บุณยานันต์  
 Mr. Klen Boonyanant
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055230597
อีเมล์: klen.b@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ค.ม. (อุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2563
2 ศษ.บ. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2561
3 ศป.บ. (ดนตรีสากล) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2558
4 ศศ.ม. (วิทยาการดนตรีและนาฏศิลป์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2557
5 ศษ.บ. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2556
6 ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2554
 
ความเชี่ยวชาญ
อุดมศึกษา, การวัดและประเมินผลการศึกษา, เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, ดนตรีสากล, ดนตรีศึกษา, มานุษยวิทยาการดนตรี, ภาษาอังกฤษ
 
ความสนใจ
ดนตรี, ภาษาศาสตร์, มานุษยวิทยา, Music Education, Ethnomusicology, Linguistics, Anthropology, Cultural Studies, Music and Dance Studies, Educational Studies, Ethnic Studies
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การสอนดนตรีมลายูระดับอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซีย: กรณีศึกษาการสอนดนตรีกาเมลันในมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติมาเลเซีย. วารสารครุพิบูล, 7(1), 108-119.
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และอรุณี หงษ์ศิริวัฒน์. (2563). แนวทางการพัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาดนตรีศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ . วารสารครุพิบูล, 7(2), 243-258.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: น้ำทิพย์ คงทน, จอมอัศวิน นาคอ่อน, วรินธรณ์ พรมภักดี, นุชจรีย์ สุวรรณ์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวประกอบจังหวะตามแนวคิดการสอนดนตรีของดาลโครซร่วมกับเทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านเขาสมอแคลง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2399-2413.
อ้างอิง: ดุรงค์ฤทธิ์ เป็นพุ่ม, นิพาพรรณ แก้วดวงใหญ่, สุทธิรักษ์ ปิ่นทอง, เอกบุรุษ เพาะปลูก, ชยพล สุทธิ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการปฏิบัติแซกโซโฟนตามแนวคิดของเดวีส์ สำหรับนักเรียนชุมนุมดนตรีสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพรหมพิรามวิทยา อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2414-2430.
อ้างอิง: กฤตตะวัน เดชบุรัมย์, วิโรจน์ แซ่หลอ, บุรินทร์ สุขสวัสดิ์, ภาณุเดช ละโส, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการอ่านและร้องโน้ตสากลเบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายร่วมกับเทคนิคกระบวนการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2431-2447.
อ้างอิง: เปรมฤทัย จันทรี, ศุภกรณ์ เรืองนุกูล, ทิพรัตน์ เกยเมือง, สุภาภัค พูนดังหวัง, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์แพร่ระบาดเชื้อไวรัส COVID-19 สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2448-2463.
อ้างอิง: อิงกรณ์ ประเสริฐชัย, กัญญารัตน์ จันทร์วังทอง, นันทพงศ์ ปันอ่วม, กฤษฎา ศรสุรินทร์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการร้องโน้ตตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟร่วมกับเทคนิคการสอนแบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนสวนเมี่ยงวิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2464-2477.
อ้างอิง: ปริญลดา อาจหาญ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะกีต้าร์พื้นฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮโรว์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงครามฝ่ายปฐมวัยและประถมศึกษา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2478-2494.
อ้างอิง: พงศ์พิสุทธิ์ ภู่แก้ว, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการอ่านโน้ตแบ่งมือฆ้องวงใหญ่โดยใช้แนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันร่วมกับวิธีการสอนแบบ นิรนัย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2495-2511.
อ้างอิง: ทิพปภา แอ่นดอย, สราวุฒิ สระทองมี, ปฏิภาณ เพ็ญแสง, ปฏิภาณ ไทยตรง, ชัยอนันต์ สาวิกัน, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนอ่านโน้ตและบรรเลงเปียโนตามแนวคิดของโคดายร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือสำหรับนักเรียนชมรมวงโยธวาทิตระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนพิจิตรพิทยาคม จังหวัดพิจิตร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2512-2528.
อ้างอิง: พันธ์กร แย้มประดิษฐ์, ปิยพัฒน์ เสวกวรรณ์, นพรัตน์ แซ่ลิ้ม, เอกภพ วิเศษรัตน์, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการอ่านและบรรเลงโน้ตดนตรีสากลสำหรับคีย์บอร์ดตามแนวคิดของคาร์ลออร์ฟร่วมกับรูปแบบการสอนแบบชัดแจ้ง สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2529-2543.
อ้างอิง: กฤตภาส อิวชาวนา, วีระชล เทศปาน, ศิวกร เรืองรอง, สิทธิศักดิ์ หิรัญประภา, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะกีตาร์ตามแนวคิดของดาลโครซร่วมกับทฤษฎีการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยของบลูม สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนวังทองพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2544-2560.
อ้างอิง: อารียา แซ่ลี, จิราวรรณ พูลสวัสดิ์, พรควิษณุ์ บูรณวิริยะพงศ์, ทิวากร ศรีหาวัตร, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนการปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิร่วมกับเทคนิคการสอนแบบจิ๊กซอว์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2561-2576.
อ้างอิง: เบญจรัตน์ กลมกลึง, จันทร์ทิมา คำจันทร์, อารีรัตน์ กองทอง, กานต์ธิดา บัวชุม, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนร้องโน้ตดนตรีสากลตามแนวคิดการสอนของโคดายร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านนาพราน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2577-2588.
อ้างอิง: เมธัส นพคุณ, เทพพิทักษ์ ปานสกุล, ปณต แหยมแก้ว, ศุภกิจติ์ โภครักษา, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนร้องโน้ตตามแนวคิดของโคดายร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ TGT สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจ่าการบุญ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2589-2601.
อ้างอิง: นาฏยา สีเดือน, กุลพัฒน์ ทรัพย์นาคี, เจนณรงค์ ไผ่งาม, ภูมินทร์ ชื่นแสงมอญ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทรัมเป็ตเบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟร่วมกับเทคนิคการสอนแบบ TAI สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนท่าทองพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2602-2617.
อ้างอิง: ปกรณ์ จิตต์ประสงค์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการอ่านโน้ตดนตรีสากลตามแนวคิดการสอนของโคดายร่วมกับการสอนแบบ Active Learning สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2618-2629.
อ้างอิง: เจตศรินทร์ ทัพมาก, เติมตระกลู มาเนียม, ธวัชชัย มีศิล, สาธิต สมัครสิกิจ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนกีตาร์พื้นฐานตามแนวคิดของซูซูกิร่วมกับเทคนิคการสอนแบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2630-2645.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ณัฏฐากร หวีวงษ์มา, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการจับคอร์ดกีตาร์และการดีดจังหวะตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิร่วมกับทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2019-2033.
อ้างอิง: พงศธร คงอินทร์, เคลน บุณยานันต์, และสุรศักดิ์ อุสาหะกานนท์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออเบื้องต้นตามแนวคิดของดาลโครซสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาลัย จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2034-2042.
อ้างอิง: พงศ์พิสุทธิ์ ภู่แก้ว, ณัฐกฤต เปรมกิจพรพัฒนา, ทอฝัน เชิดเชื้อ, จิรเมธ เวลาสิงห์, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการปฏิบัติฆ้องวงใหญ่ขั้นพื้นฐานตามแนวคิดของดาลโครซร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2043-2055.
อ้างอิง: ภาศกร ติ้สา, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องโครงสร้างคอร์ดและการพัฒนาการจับคอร์ดกีตาร์ตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดมหาวนาราม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2056-2069.
อ้างอิง: ปฏิภาณ อ่อนพรมราช, ปกรณ์ จิตต์ประสงค์, ฉัตธัญ เมืองหลวง, ปสันน์ วัฒนะ, ธัญชนก เรืองงิ้ว, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการปฏิบัติกีตาร์ขั้นพื้นฐานตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2070-2080.
อ้างอิง: ศรัญญา เชื้อพรมมา, ปริญลดา อาจหาญ, อรจิรา คลังมณี, กมลวรรณ คุ้มครุฑ, ณัฐพล บับภาบุญ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการร้องโน้ตด้วยสัญลักษณ์มือตามแนวคิดของโคดายร่วมกับเทคนิคการใช้เกมประกอบการสอน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2081-2091.
อ้างอิง: ณัฐพงษ์ อินทรง, สิทธิชัย เฟื่องอิ่ม, วิชิต คำอ้ายล้าน, สาธิต สีหะวงษ์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการตีกลองแขกตามแนวคิดของเดวีส์ สำหรับนักเรียนชุมนุมดนตรีไทยระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนจ่าการบุญ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2092-2101.
อ้างอิง: ธนภณ แสงศิริ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการปฏิบัติมะโหน่งเบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนวัดโป่งหม้อข้าว จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2114-2123.
อ้างอิง: เอกรัตน์ ยั่งยืนวัฒนกุล, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาบทเรียนเรื่องประเภทเครื่องดนตรีตะวันตกและการประสมวงโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาลัย จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2124-2132.
อ้างอิง: พรนภา มีชำนาญ, เคลน บุณยานันต์, สุรศักดิ์ อุสาหะกานนท์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์เรื่องลักษณะของวงดนตรีไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีจังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2133-2141.
อ้างอิง: วนิดา ขวัญนาง, สุจิตรา แก้วชัยสิทธิ์, สุทธิพงษ์ อินธิตก, ศศิตรา ชุ่มเย็น, สุรีพร ปั้นแสง, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). ความคิดเห็นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2143-2154.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: สุภาวดี พรมช่วย, สุนิสา ออมสิน, สุภาวรรณ บุญช่วย, วันทนา เทียนสว่าง, ชาญณรงค์ มานักฆ้อง, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีสากล. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 294-304.
อ้างอิง: กฤษณะ แก้วบัวคำ, ณัฐวัตร สุริยวงค์, อรนลิน หมีดง, นิชกมล ยะลา, ปรัชญากรณ์ ยุพา, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). ชุดการสอนทักษะการตีกลองขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้เทคนิคการสอนรูปภาพแทนตัวโน้ต : กรณีศึกษาโรงเรียนดนตรี I Can Play. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 323-331.
อ้างอิง: ณัฎฐากร หวีวงษ์มา, ภัทรชน แก้วสุริยะ, กิตติพงษ์ ตรีเศียร, คณากร พรมด่วน, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การศึกษาปัญหาในการฝึกซ้อมดนตรีของนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 332-340.
อ้างอิง: พรนภา มีชำนาญ, ฐิตินันต์ โหนนา, สิริทิพย์ ศรีนุเสน, สุชาดา ราชวงศ์, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนในการเรียนการสอนของสาขาวิชาดนตรีศึกษาและสาขาวิชาดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 385-393.
อ้างอิง: อภิรติ เจริญรูป, รัชชานนท์ อินกองงาม, นิติชัย ชมโลก, นรเศรษฐ์ พะหงษา, จิรวัฒน์ สวัสดี, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การพัฒนาชุดการสอนคีย์บอร์ดเรื่องคอร์ดเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามแนวคิดของธอร์นไดค์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 452-459.
อ้างอิง: จิรภัทร มีชัย, อัครชัย จันทะคะมุด, พินิจ พนัสจุฑาบูลย์, ภานุวัฒน์ กองแก้ว, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การพัฒนาชุดการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีตะวันตกเรื่องขั้นคู่ สำหรับนักศึกษาสาขาดนตรีศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามทฤษฎีการเรียนรู้้ของเพียเจต์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1365-1373.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: บุญเติม ฉ่ำเฉื่อย, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดฝึกทักษะเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก ตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายและการเรียนรู้แบบร่วมมือ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 1-12.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบสาขาวิชาดนตรีระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศมาเลเซียและประเทศไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2561 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เล่ม 2, 273-280.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: อิงกรณ์ ประเสริฐชัย, กัญญารัตน์ จันทร์วังทอง, นันทพงศ์ ปันอ่วม, กฤษฎา ศรสุรินทร์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการร้องโน้ตตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟร่วมกับเทคนิคการสอนแบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนสวนเมี่ยงวิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2464-2477.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: บุญเติม ฉ่ำเฉื่อย, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดฝึกทักษะเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก ตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายและการเรียนรู้แบบร่วมมือ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 1-12. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อานนท์ ชูช่วย, สมพล ศรีผึ้ง, ธิปไตย สุนทร, และเคลน บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนทักษะในด้านการอ่านค่าของตัวโน้ตดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 13-21. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: สิทธพงษ์ ราชวงศ์, เอกลักษณ์ สมากร, ธิปไตย สุนทร, และเคลน บุณยานันต์. (2562). ผลการใช้นวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาการปรบมือไม่ตรงจังหวะเพลงรักเมืองไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 90-94. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: พรนภา มีชำนาญ, ฐิตินันต์ โหนนา, สิริทิพย์ ศรีนุเสน, สุชาดา ราชวงศ์, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนในการเรียนการสอนของสาขาวิชาดนตรีศึกษาและสาขาวิชาดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: ณัฎฐากร หวีวงษ์มา, ภัทรชน แก้วสุริยะ, กิตติพงษ์ ตรีเศียร, คณากร พรมด่วน, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาปัญหาในการฝึกซ้อมดนตรีของนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: กฤษณะ แก้วบัวคำ, ณัฐวัตร สุริยวงค์, อรนลิน หมีดง, นิชกมล ยะลา, ปรัชญากรณ์ ยุพา, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). ชุดการสอนทักษะการตีกลองขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้เทคนิคการสอนรูปภาพแทนตัวโน้ต : กรณีศึกษาโรงเรียนดนตรี I Can Play. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: จิรภัทร มีชัย, อัครชัย จันทะคะมุด, พินิจ พนัสจุฑาบูลย์, ภานุวัฒน์ กองแก้ว, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีตะวันตกเรื่องขั้นคู่ สำหรับนักศึกษาสาขาดนตรีศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามทฤษฎีการเรียนรู้้ของเพียเจต์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: สุภาวดี พรมช่วย, สุนิสา ออมสิน, สุภาวรรณ บุญช่วย, วันทนา เทียนสว่าง, ชาญณรงค์ มานักฆ้อง, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีสากล. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: อภิรติ เจริญรูป, รัชชานนท์ อินกองงาม, นิติชัย ชมโลก, นรเศรษฐ์ พะหงษา, จิรวัฒน์ สวัวดี, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนคีย์บอร์ดเรื่องคอร์ดเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามแนวคิดของธอร์นไดค์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การศึกษาที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ | Outcome based education
อ้างอิง: Basic Classroom Research for Guitar Teachers
อ้างอิง: TPACK MODEL
อ้างอิง: การพัฒนาหลักสูตร OBE
อ้างอิง: Instructional Media Development for Guitar Teachers
อ้างอิง: Lesson Learned from Inservice Music Teachers for Guitar Pedagogy Class
อ้างอิง: Basic Pedal Effects and Application for Live Performance
อ้างอิง: Basic Guitar Maintenance and Repair
อ้างอิง: Basic Finger Style Guitar
อ้างอิง: Classical Guitar Master Class
อ้างอิง: การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อ้างอิง: ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมการนำเสนอผลงานวิจัยนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพด้านดนตรี"ทักษะในศตวรรษที่ 21 สู่การเรียนรู้ดนตรี"
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพด้านดนตรี "Music Culture of East Asia and South East Asia",วันที่ 21มกราคม 2558 ห้องประชุมนนทรี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ส่วนวังจันทน์
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2541 (1998)
ชื่อรางวัล: ชนะเลิศระดับประเทศ, การแข่งขัน Guitar Festival, Yamaha Music, Thailand
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: The Australian Kodaly Certificate in Music Education - Primary Level 1
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.