ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. มนตรา ศรีษะแย้ม  
  Asst. Prof. Dr. Montra Srisayam
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: srisayam_ssy@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (ชีวเวชศาสตร์) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2557
2 วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2553
3 วท.บ. (จุลชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2550
 
ความเชี่ยวชาญ
-
 
ความสนใจ
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: มนตรา ศรีษะแย้ม (2561).Inhibition of two stages of melanin synthesis bysesamol, sesamin and sesamolin.. Asian Pacific Journal of Tropical Biomedicine, 2560. Page:  886-895
อ้างอิง: มนตรา ศรีษะแย้ม (2561).การสำรวจสเตียรอยด์ในยาชุดและยาสมุนไพรในตำบลบ้านโสก อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์.  วารสารเภสัชกรรมไทย, 2560. Page: 216-224
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: มนตรา ศรีษะแย้ม (2560).การสำรวจสเตียรอยด์ในยาชุดและยาสมุนไพรในตำบลบ้านโสก อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารเภสัชกรรมไทย, ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 (2560). Page: 216-224
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: มนตรา ศรีษะแย้ม (2557).ฤทธิ์ต้านออกซิเดชันในหลอดทดลองของเมล็ดงา ขาว ดำ และแดง. วารสาร เภสัชศาสตร์อีสาน ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 พ.ค.-ส.ค. 2557, 2557/2. Page: 137-146
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: มนตรา ศรีษะแย้ม (2561).การประเมินองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดเฮกเซนจากหมุยและโปร่งฟ้า. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 11 , 2560. Page: 1744-1754
อ้างอิง: มนตรา ศรีษะแย้ม (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยากลุ่ม NSAIDsเพื่อบรรเทาอาการปวดประจำเดือนชนิดปฐมภูมิของนักศึกษาหญิงมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2560. Page: 821-828.
อ้างอิง: มนตรา ศรีษะแย้ม (2561).ผลของการให้ความรู้โรคไข้เลือดออกร่วมกับการประเมินความชุกลูกน้ำยุงลายต่อพฤติกรรมป้องกันโรคไข้เลือดออกของประชาชนและค่าดัชนีความชุกลูกน้ำยุงลายในตำบลเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์.. การประชุมวิชาการสุขศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 18 เรื่อง "การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ยุค 4.0, 2560. Page: 165-176
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: พีรวัส สอนทุ่ง, ศิริวรรณ อินทร์อยู่, นนทพร รัตนจักร์ และมนตรา ศรีษะแย้ม. (2567). การศึกษาผลของแบคทีเรียกรดแลคติก NR27 ในการเสริมฤทธิ์การยับยั้งแบคทีเรียของคีเฟอร์. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 9 “การวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
อ้างอิง: Anong srisopa, Nareeluk Nakaew, Nitra Nuengchamong and Montra Srisayam. Chemical and biological properties of marigold aqueous extracts. IFFA 2018, January 22-24, 2018.
อ้างอิง: ไพรินทร์ หละวัน, อรุณลักษณ์ โชตินาครินทร์, มนตรา ศรีษะแย้ม. (2562). การศึกษาฤทธิ์การยับยั้งแบคทีเรียและต้านอนุมูลอิสระของคีเฟอร์นมข้าวกล้องงอก. การประชุมวิชาการเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 16 ประจำปี 2562 วันที่ 3 กรกฎาคม 2562 ณ อาคารคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อ้างอิง: พัชราภา เหมเงิน, อนงค์ ศรีโสภา และ มนตรา ศรีษะแย้ม. (2562). การเปรียบเทียบวิธีการสกัด ปริมาณแอนโทไซยานินและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของมะม่วงหาวมะนาวโห่และลูกหว้า. การประชุมวิชาการเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 16 ประจำปี 2562 วันที่ 3 กรกฎาคม 2562 ณ อาคารคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อ้างอิง: ณัฐริกา ขันเงิน, อรุณลักษณ์ โชตินาครินทร์ และ มนตรา ศรีษะแย้ม. (2562). การศึกษาสารสกัดจากลูกหว้าและมะม่วงหาวมะนาวโห่ในการยับยั้งจุลินทรีย์ก่อโรค.การประชุมวิชาการเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 16 ประจำปี 2562 วันที่ 3 กรกฎาคม 2562 ณ อาคารคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อ้างอิง: กัลยา สนิทนอก, มนตรา ศรีษะแย้ม และ อนงค์ ศรีโสภา. (2562). ปริมาณฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์ และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในสารสกัดน้ำของดอกดาวเรือง. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ 6 ประจำปี 2562 วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร.
อ้างอิง: Sarita Sangthong, Punyawatt Pintathong, Montra Srisayam and Phanuphong Chaiwut. (2019). Extraction of bioactive compounds from Syzygium cumini (L.) skeels. Proceeding of Cosmetic & Beauty International Conference 2019 Sustainable Cosmetic & Beauty Innovations, 7-9 October 2019, Mae Fah Luang University, Chiang Rai.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม BCG CANVAS FOR RESEARCHER โดย ดร. ปรเมษฐ์ ชุ่มยิ้ม วันที่ 6 มกราคม 2566 เวลา 08.30-16.30 น.
อ้างอิง: โพรโบโอติก จุลินทรีย์มีชีวิตกับการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม
อ้างอิง: ความท้าทายในการกล่าวอ้างผลิตภัณฑ์อาหารเชิงสุขภาพ
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรความปลอดภัยทางชีวภาพ(Biosafety)และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) สำหรับบุคลากรหรือผู้ที่สนใจทั่วไป ในระหว่างวันที่ 15 - 16 มิถุนายน 2566 เวลา 08.30 – 17.00 น. ณ ห้องประชุม 301 ชั้น 3 อาคารเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: โครงการ “การพัฒนาผลงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ” โดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ ศาสตราจารย์ ดร.ปิยะ โควินท์ท วีวัฒน์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ในวันอังคารที่ 14 มีนาคม 2566 เวลา 08.30-12.00 น.
อ้างอิง: เสริมสมรรถนะอาจารย์ แนวคิดจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างนวัตกรรม วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 เวลา 08.30-16.30 น.
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.