ชื่อ-นามสกุล
  รองศาสตราจารย์ ดร. ขวัญชนก นัยจรัญ  
  Assoc. Prof. Dr. Khwanchanok Naijarun
ตำแหน่ง: รองศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: nkhwanchanok@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ศศ.ด. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556
2 ค.ม. (การสอนภาษาไทย) จุฬาลงกรณณ์มหาวิทยาลัย 2551
3 ศศ.บ. (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2549
 
ความเชี่ยวชาญ
ทักษะภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, การสอนวิชาภาษาไทย, งานวิจัยเพิ่อท้องถิ่น , วรรณกรรมวิจารณ์
 
ความสนใจ
งานวิจัยท้องถิ่น, วรรณคดีไทย วรรณคดีวิจารณ์และเปรียบเทียบ สุนทรียศาสตร์ วัฒนธรรมศึกษา คติชนวิทยา, Ecocriticism
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: Jarernpanit, T., & Naijarun, K. . (2024). “Good Citizenship”: The Ideals of Moral Politics and Democracy in the Short Stories of Phan Wan Fah Award Between 2016 to 2021. Journal of Politics and Governance, 14(1), 63–75. Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jopag/article/view/268503
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2567). การพัฒนาความสามารถในการอ่านออกเสียงสำหรับงานผู้ประกาศ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ โดยเน้นภาระงานร่วมกับการใช้กรณีตัวอย่างสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(1), 1-16. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/EDUCU/article/view/263855/179590
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ภูมินทร์ ภู่กัน, อุษณียาภรณ์ ยังพูล, อาคิฬา วาที และขวัญชนก นัยจรัญ. 2566. พนมนาคา : ตัวตนและอัตลักษณ์ของสัตว์ในมุมมองการวิจารณ์เชิงนิเวศ. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 10(1), 39-51. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdi-aru/article/view/261073
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และอิศรา รุ่งทวีชัย. 2566. ความหมายในชีวิต : บทสังเคราะห์แนวคิดสู่ปฏิบัติการทางวรรณกรรมวิจารณ์. วารสารอักษราพิบูล. 4(2), 103-120. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/APBJ/article/view/262890/178034
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2566).บทปริทัศน์หนังสือ The Power of Meaning อะไรทำให้ชีวิตคนเรามีความหมาย. วารสารอักษราพิบูล, 4(1), 158-166. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/APBJ/article/view/263521/179132
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2566. วิถีเกษตร พิธีกรรม และธรรมชาติในนวนิยายของน้ำน่าน. หนังสือรวบรวมผลงานวิจัย-วิชาการวัฒนธรรมการเกษตร 2, รัตนพล ชื่นค้า (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และวาสินี มีเครือเอี่ยม. 2565. การพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงอาหารโดยใช้ทุนทางวัฒนธรรมของบ้านวังหาด ตำบลตลิ่งชัน อำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร, 13(1), 54-67. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/article/download/255278/171002/959756
อ้างอิง: ดนุพล พุ่มสลิด และขวัญชนก นัยจรัญ. 2565. อีสานบ้านเฮา : พินิจสารคดีในมุมมองการวิจารณ์เชิงนิเวศ. ในวารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 9(2), 141-148.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ, วาสินี มีเครือเอี่ยม และอรรถพล รอดแก้ว. 2565. การใช้เรื่องเล่าและภูมิปัญญาพื้นบ้านในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์น้ำตาลโตนดของตำบลบ้านยาง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก. วิวิธวรรณสาร, 6(2),137-154.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2565. สองทศวรรษแห่ง "ตุลาคม" : พลวัตแห่งความ (ไม่) เปลี่ยนแปลง. วารสารอักษราพิบูล, 3(1), 115-122.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. จากวรรณกรรมสู่การสร้างจิตสำนึกเชิงนิเวศสำหรับเยาวชน : กรณีศึกษานวนิยายเยาวชนรางวัลแว่นแก้ว. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 16(1),71-84. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/.../download/249469/170861/
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. การพัฒนาชุดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบตกผลึกเพื่อส่งเสริม ความสามารถในการวิจารณ์วรรณกรรมของนักศึกษาปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 49(3),1-13.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2563. มอง ‘หุบผาราชินี’ ผ่านมุมมองสตรีนิยม. วารสารอักษราพิบูล. 2(1),97-102. Retrieved from http://huso.psru.ac.th/2017/AksaraPibul/download/Aksara_Pibul_Journal_2_1.pdf
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2564). เด็กเก็บว่าว (The Kite Runner) : การล่มสลายของมนุษยธรรม ภายใต้ศักดิ์ศรีแห่งชนชั้น. วารสารอักษราพิบูล, 2(2), 115-122. จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/APBJ/article/view/255444/171703
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Khwanchanok Naijarun. (2020). “KHON NAI NITHAN” (PEOPLE IN STORY): THE RELATIONSHIIP BETWEEN HUMANS AND ANIMALS FROM A PERSPECTIVE OF ECOCRITICISM. In Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences. Vol.21(2): 322-336.
อ้างอิง: เดชาวัต สุวรรณมาศ, มณีนุช มีคำ, อภิญญา พรมสา และขวัญชนก นัยจรัญ. (2563). นวนิยายเรื่อง “อมตะ”: การวิเคราะห์ความเป็นอมตะตามกฎไตรลักษณ์ในพระพุทธศาสนาและการโคลนนิ่งทางวิทยาศาสตร์ ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2: 108 – 124.
อ้างอิง: จุฑาลักษณ์ จันทวงษ์ ภัณฑิลา กนกาวลี และขวัญชนก นัยจรัญ. (2563). เลือดข้นคนจาง: การวิเคราะห์สถานภาพและบทบาทของตัวละครที่ส่งผลต่อระบบคิดของสตรีในครอบครัวคนจีนพลัดถิ่น ใน วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม -ธันวาคม), น.245-262
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2563. บทปริทัศน์หนังสือรวมเรื่องสั้นชุดแผนขจัดความโง่ของประชาชน. วารสารอักษราพิบูล. 1(2),106-110. Retrieved from http://huso.psru.ac.th/2017/AksaraPibul/download/Aksara_Pibul_Journal_1_2.pdf
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2563. บทความแนะนำหนังสือ Colorful. วารสารอักษราพิบูล. 1(1),90-94. Retrieved from http://huso.psru.ac.th/2017/AksaraPibul/download/Aksara_Pibul_Journal_1_1.pdf
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ, กฤษณา ชาญณรงค์ และเปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์. (2562). การศึกษามรดกภูมิ ปัญญาทางวัฒนธรรมตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ใน วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย นเรศวร, ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม): 77-92.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และกฤษณา ชาญณรงค์. (2562). บทบาทหน้าที่ของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ในการสร้างอัตลักษณ์ชุมชน ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ใน วารสารวิชาการ Veridian E- Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย, ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม).
อ้างอิง: จิราวดี บุญปวง, ปาริฉัตร จันทัพ และขวัญชนก นัยจรัญ. (2562). หลงไฟ : การวิเคราะห์ตัวละครโดย ใช้ทฤษฎีลำดับขั้นแรงจูงใจ ของ อับราฮัม มาสโลว์ ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 101 - 122.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2562). อุปลักษณ์สัตว์ในนวนิยาย เรื่อง “คนในนิทาน” : สัตว์ศึกษาตามมุมมองการวิจารณ์เชิงนิเวศ ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี. ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม): 1-25.
อ้างอิง: เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ และขวัญชนก นัยจรัญ. (2562). พุทธศักราชอัสดงกับทรงจำของทรงจำของแมวกุหลาบดำ : ความสัมพันธ์เชิงอำนาจในครอบครัวของคนจีนพลัดถิ่น ใน Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences. ปีที่ 20 ฉบับที่ 2: 418-433.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2562). การศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาการเลี้ยงสุนัขสายพันธุ์บางแก้วในจังหวัดพิษณุโลก ใน Veridian E – Journal, Silpakorn. ปีที่ 12 ฉบับที่ 6: 2579 – 2590.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2561). การวิเคราะห์ภาพสะท้อนวิถีชีวิตประชาธิปไตยในเรื่องสั้นรางวัล พานแว่นฟ้า พ.ศ. 2545-2556 ใน วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 15 ฉบับ ที่ 3 กันยายน-ธันวาคม: 39-55.
อ้างอิง: ปิยาพัชร ศรีสวัสดิ์, เรวดี ศิริไกรวัฒนาวงศ์, อิทุอร โพธิ์เรือง, ขวัญชนก นัยจรัญ, เปรมวิทย์ วิวัฒน เศรษฐ์. (2561). รากนครา : การศึกษาโดยใช้แนวทางการวิจารณ์เชิงนิเวศ ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 37 ฉบับที่ 6 (พฤศจิกายน - ธันวาคม): 18 – 28.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ (2560). การศึกษาคุณค่าของภูมินามในตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (2560). Page: 61-72
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และคณะ. (2559). การศึกษาภูมินามโดยเครือข่ายชุมชน ตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 35 ฉบับที่ 4.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2557). การวิเคราะห์ภาพสะท้อนวิถีชีวิตประชาธิปไตยจากบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2557). การวิเคราะห์ภาพสะท้อนค่านิยมของไทยจากนิทานพื้นบ้าน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราขภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 33 ฉบับที่ 6.
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2551). ผลการใช้รูปแบบการเรียนการสอนด้วยวิธีวิจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวรรณคดีไทยและความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 วิทยาลัยนาฏศิลป สังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวัฒนธรรม. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วาสินี มีเครือเอี่ยม และขวัญชนก นัยจรัญ. 2566. ตลาดสีเขียว : การพัฒนาพื้นที่การขายสินค้าชุมชนตามแนวคิดเศรษฐกิจแบบ BCG ของตำบลราวต้นจันทร์ อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 15. น.76-86. Retrieved from https://pkruconf.pkru.ac.th/images/conf15/proceeding/proceeding_15_update.pdf
อ้างอิง: โกวิท บุญด้วง และขวัญชนก นัยจรัญ. 2566. การศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางการพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3. เอกสารสืบเนื่องการประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 19 พ.ศ.2566 (ICE 2023) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. น.749-761.
อ้างอิง: อภิสิทธิ์ สุขชัยสงค์ และขวัญชนก นัยจรัญ. (2566). ปาฏิหาริย์รักแม่โพสพ : การวิเคราะห์มโนทัศน์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติตามแนวการวิจารณ์เชิงนิเวศ. หนังสือบทความวิจัย โครงการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 12 กลุ่มการวิจัย: มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ด้านภาษาไทย), น.25-39. Retrieved from http://www.prc.up.ac.th/pdf/12/13.%20หนังสือบทความวิจัยภาษาไทย.pdf
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: เบญจวรรณ ศรีทานันท์, แววพลอย สุขนวล และขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. นวนิยายเรื่องกลิ่นกาสะลอง: การวิเคราะห์ตัวละครโดยใช้ทฤษฎีจิตวิเคราะห์. Phayao Research Conference 10. พะเยา : มหาวิทยาลัยพะเยา, นฺ3624-3639.
อ้างอิง: ณัฐพร นาคแก้ว และขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. หุบเขากินคน: วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่ามนุษย์กับสัตว์ตามมุมมองการวิจารณ์เชิงนิเวศ. Phayao Research Conference 10. พะเยา : มหาวิทยาลัยพะเยา, น4004-4019.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. "การสร้างจิตสำนึกเชิงนิเวศผ่านตัวละครสัตว์ในนวนิยายเยาวชนรางวัลแว่นแก้ว" ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการวิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 14, 389-401. Retrieved from http://www.human.nu.ac.th/HUSOC14/25640823nation.pdf
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: รสสุคนธ์ นาขุม, พัชจีรา จันทร์ทอง, นิธีการต์ ขำสว่าง, วินิตา แตงน้อย และ ขวัญชนก นัยจรัญ. 2563. นว นิยาย เรื่อง “COLORFUL” : การวิเคราะห์บุคลิกภาพของตัวละครเอกตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ใน รายงานการประชุมสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 474 – 483.
อ้างอิง: นภัสวรรณ เจ๊กพ่วง, ลลนา ปิงเมือง, วรพรรณ โพธิ์บาทะ, โสรญา จันทิมา และขวัญชนก นัยจรัญ. 2563. “พุทธศักราชอัสดงกับทรงจำของทรงจำของแม่กุหลาบดำ: บทบาทและสถานภาพของตัวละครชายในครอบครัวคนจีนพลัดถิ่น. ใน รายงานการประชุมสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 460 – 473.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2561). การศึกษาผลการใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี ที่มีต่อความสามารถในการอ่าน ตีความ และการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัยครั้งที่ 7.
อ้างอิง: ฌิชกมล คำรินทร์, ศิริรัตน์ จันทร์ทอง และขวัญชนก นัยจรัญ. (2561). การวิเคราะห์ภาพสะท้อน สังคมจากรวมเรื่องสั้นชุดอสรพิษ ของแดนอรัญ แสนทอง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4.
อ้างอิง: ช่อผกา ดวงมาลา, โชติวรรณ เขียวบุตร และขวัญชนก นัยจรัญ. (2561). เรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2555-2556 : การวิเคราะห์การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4.
อ้างอิง: พรพารัตน์ สุขชาวนา, เปรมวิทย์ วิวัฒนเศรษฐ์ และขวัญชนก นัยจรัญ. (2561). นวนิยายชุด “ลูกไม้ ของพ่อ” : การวิเคราะห์เชิงนิเวศสำนึก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4.
อ้างอิง: พนิตนันท์ บุญมี, วิมลรัตน์ จ่ายก และขวัญชนก นัยจรัญ. (2561). การวิเคราะห์ความขัดแย้งใน เรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ ชุด อสรพิษ ของแดนอรัญ แสงทอง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ.(2560).เรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2554-2556: การวิเคราะห์วิถีชีวิตประชาธิปไตย. บทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ "พะเยาวิจัย", วันที่ 26-27 ม.ค. 60. Page: 2792-2801
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2557). การพัฒนาความสามารถในการอ่านอย่างมีวิจารณญาณ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ โดยใช้การสอนด้วยกลวิธีสืบสอบ. รายงานการประชุมสืบเนื่อง นเรศวรวิจัยครั้งที่ 10.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และอัญชลี เลากลาง. (2556). การศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอนอ่านอย่างมีวิจารณญาณของครูภาษาไทยในระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. รายงานการประชุมสืบเนื่อง การประชุมวิชาการกลุ่มราชภัฏ.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2555). การวิเคราะห์ภาพสะท้อนวิถีชีวิตประชาธิปไตยจากบทละครพูดพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. รายงานการประชุมสืบเนื่อง นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 8.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: นำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (๒๕๖๐). เรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2554-2556: การวิเคราะห์วิถีชีวิตประชาธิปไตย ใน รายงานกระประชุมสืบเนื่องพะเยาวิจัยครั้งที่ ๖ . พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา,(หน้า ๒๗๙๑-๒๘๐๑).
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. (2561). การศึกษาผลการใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี ที่มีต่อความสามารถในการอ่านตีความและการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมทางวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัยครั้งที่ 7.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2561. "การศึกษาผลการใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี ที่มีต่อความสามารถในการอ่านตีความและการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม." ใน การประชุมวิชาการรัดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 7 วันที่ 25-26 มกราคม 2561.
อ้างอิง: รสสุคนธ์ นาขุม, พัชจีรา จันทร์ทอง, นิธิกานต์ ขำสว่าง, วินิตา แตงน้อย และขวัญชนก นัยจรัญ. 2563. นวนิยายเรื่อง Colorful : การวิเคราะห์บุคลิกภาพของตัวละครเอกตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: นภัสวรรณ เจ๊กพ่วง, ลลนา ปิงเมือง, โสรญา จันทิมา และขวัญชนก นัยจรัญ. 2563. พุทธศักราชอัสดงกับทรงจำของทรงจำของแมวกุหลาบดำ : บทบาทและสถานภาพของตัวละครชายในครอบครัวคนจีนพลัดถิ่น. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: เบญจวรรณ ศรีทานันท์, แววพลอย สุขนวล และขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. นวนิยายเรื่องกลิ่นกาสะลอง: การวิเคราะห์ตัวละครโดยใช้ทฤษฎีจิตวิเคราะห์. Proceeding Phayao Research Conference10. หน้า 3624-3639.
อ้างอิง: ณัฐพร นาคแก้ว และขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. หุบเขากินคน: วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ตามมุมมองวรรณกรรมวิจารณ์เชิงนิเวศ. Proceeding Phayao Research Conference10. หน้า4004-4019.
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ธันวดี ศรีธาวิรัตน์ และคณะ. 2566. พลิกฟื้นทุนวัฒนธรรมแห่งสวรรคโลก มนต์เสน่ห์นิเวศศิลป์ กวีและวัฒนธรรมแห่งลุ่มน้ำยม อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. (กำลังดำเนินการวิจัย โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท))
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และธัญณ์ณภัทร์ เจริญพานิช. (2565). รางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ.2559 - 2564 : แนวคิดทางสังคมและการปลูกฝังอุดมการณ์ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยผ่านเรื่องสั้นร่วมสมัย (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2565)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และคณะ. (2565). วัฒนธรรมอาหารพื้นถิ่น : การสร้างอัตลักษณ์สู่การยกระดับการท่องเที่ยวเชิงอาหารบนฐานเศรษฐกิจสีเขียว ของตำบลบ้านยาง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีงบประมาณ 2565)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. จากวรรณกรรมสู่การสร้างจิตสำนึกเชิงนิเวศสำหรับเยาวชน : กรณีศึกษา นวนิยายสำหรับเยาวชนรางวัลแว่นแก้ว. (ได้รับงบประมาณสนันสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2564. การพัฒนานวัตกรรมตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบตกผลึกเพื่อส่งเสริมความสามารถในการวิจารณ์วรรณกรรมของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. (ได้รับงบประมาณสนับสนุนการวิจังยจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: วาลิกา โพธิ์หิรัญ และคณะ. 2563. การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัยภารกิจ Ongoing ฝ่ายวิจัยเพื่อท้องถิ่น ประเด็นการท่องเที่ยวโดยชุมชนในเขตภาคเหนือตอนล่าง. (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)).
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2562. การศึกษาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมการเลี้ยงสุนัขสายพันธุ์บางแก้วในจังหวัดพิษณุโลก. (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
อ้างอิง: วาลิกา โพธิ์หิรัญ และคณะ. 2562.การใช้กระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยการพัฒนาภาพลักษณ์อย่างมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชนภาคเหนือตอนล่าง. เข้าถึงได้จากhttps://elibrary.trf.or.th/project_contentTRFN.asp?PJID=RDG62N0001.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2562. คนในนิทาน : การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสัตว์ตามมุมมองการวิจารณ์เชิงนิเวศ. (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มรภ.พิบูลสงคราม).
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2561. การศึกษามรดกวัฒนธรรม ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
อ้างอิง: ศุภลักษณ์ วิริยะสุมน และคณะ. 2561. การพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนด้วยกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่นและยกระดับเครือข่ายการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนภาคเหนือตอนล่างสู่การจัดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. เข้าถึงได้จากhttps://elibrary.trf.or.th/project_contentTRFN.asp?PJID=RDG61N0010
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2560.การศึกษาผลการใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี ที่มีต่อความสามารถในการอ่านตีความ และการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม. ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มรภ.พิบูลสงคราม.
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2560.เรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า พ.ศ. 2545 – 2556: การวิเคราะห์วิถีชีวิตประชาธิปไตย. (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ขวัญชนก นัยจรัญ และคณะ. 2559. งานวิจัยเรื่อง การศึกษาภูมินามโดยเครือข่ายชุมชนในตำบลเมืองบางขลัง อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.).
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: "การพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยเชิงพื้นที่ และสร้างเครือข่ายงานวิจัย“ จัดโดยมหาวิทยาลัยนเรศวร ณ โรงแรมท็อปแลนด์ จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประเมินผลกระทบทางสังคม (SIA) และผลตอบแทนทางสังคม (SROI)
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเทคนิคการพิจารณาโครงการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (สำหรับคณะกรรมการ) จัดโดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ TEAM TEACHING
อ้างอิง: หลักสูตรต้นแบบ “การคิดออกแบบ การโค้ชชิ่ง และการออกแบบชั้นเรียนนวัตกรรม” จัดโดยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: กิจกรรมเตรียมความพร้อมการประกันคุณภาพด้วยเกณฑ์การประเมิน AUN-QA
อ้างอิง: หลักสูตรเครื่องมือดิจิทัลสำหรับการประเมินสมรรถนะ รุ่น 1 จัดโดยคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: การใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญและการจัดการข้อมูลผลงานวิชาการ ณ ตึกไอที มรพส. วันที่ 3 พฤศจิกายน 2559 เวลา 15.00-16.30 น.
อ้างอิง: ส่งเสริมและพัฒนางานวิจัยสายมนุษยศาสตร์ : ความร่วมมือสถาบันวิจัยและพัฒนา 13.30-16.30 น 2/11/2559
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการสหกิจศึกษา หลักสูตร คณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษา รุ่นที่ 15
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: การสัมมนาการใช้ภาษาไทย
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: พี่เลี้ยงนักวิจัยชุมชน หนุนเสริมการทำวิจัย เรื่อง "การท่องเที่ยวเชิงเกษตรบนฐานทรัพยากรธรรมชาติโดยภาคีเครือข่ายเกษตรกรชุมชนตำบลบ้านแยง อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก " ตามกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สกสว.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: พี่เลี้ยงนักวิจัยชุมชน หนุนเสริมการทำวิจัย เรื่อง "การค้นหาอัตลักษณ์วิถีวัฒนธรรมสู่การท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายชุมชนตำบลบ้านยาง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก" ตามกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก สกว.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: พี่เลี้ยงนักวิจัยชุมชน หนุนเสริมการทำวิจัย เรื่อง "การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเพื่อพัฒนาขีดความสามารถชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวโดยการมีส่วนร่วมของเครือข่ายชุมชนบ้านวังหาดและ กศน.อำเภอบ้านด่านลานหอย จังหวัดสุโขทัย" ตามกระบวนการงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น (CBR) ได้รั
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสอบวิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสอบโครงร่างและสอบปริญญานิพนธ์ ของนิสิตระดับปริญญาตรี หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต โปรแกรมเกียรตินิยม คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบการศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสอบวิทยานิพนธ์หลักสูตรศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยา
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบการศึกษาค้นคว้าอิสระ หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาการสอนภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาคติชนวิทยา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยา
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อหนังสือ:
ขวัญชนก นัยจรัญ. (2566). วรรณกรรมวิจารณ์. พิษณุโลก: การพิมพ์ดอทคอม.
ชื่อหนังสือ:
ขวัญชนก นัยจรัญ และธัญณ์ณภัทร เจริญพานิช. 2566. พลเมืองอภิวัฒน์กับประชาธิปไตย บทสังเคราะห์เรื่องสั้นการเมืองไทยร่วมสมัยรางวัลพานแว่นฟ้า. ปทุมธานี: นาคร.
ชื่อหนังสือ:
ขวัญชนก นัยจรัญ. 2566. วิถีเกษตร พิธีกรรม และธรรมชาติในนวนิยายของน้ำน่าน. หนังสือรวบรวมผลงานวิจัย-วิชาการวัฒนธรรมการเกษตร 2, รัตนพล ชื่นค้า (บรรณาธิการ). กรุงเทพฯ: สถาบันภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมศึกษาราชนครินทร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อหนังสือ: ขวัญชนก นัยจรัญ. 2562. เอกสารคำสอนวิชาการอ่านเชิงวิเคราะห์วิจารณ์. พิษณุโลก: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อหนังสือ: ขวัญชนก นัยจรัญ และกฤษณา ชาญณรงค์. 2561. มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. พิษณุโลก: โฟกัสพริ้นติ้ง.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อหนังสือ: ขวัญชนก นัยจรัญ. ๒๕๕๙. เอกสารประกอบการสอนวิชาพัฒนาการอ่าน. พิษณุโลก: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ชื่อหนังสือ: ขวัญชนก นัยจรัญ และคณะ. 2559. ภูมินามตำบลเมืองบางขลัง. พิษณุโลก: โฟกัสพริ้นติ้ง.
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อรางวัล: บุคลากรดีเด่น ประเภทอาจารย์ที่มีผลงานด้านการวิจัย ประจำปี 2566 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัล นักวิจัยดีเด่นกลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อรางวัล: บุคลากรดีเด่น ประจำปี 2565 ประเภทอาจารย์ที่มีผลงานด้านการวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรดีเด่น สายวิชาการ ประจำปี 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รองชนะเลิศอันดับ 1 การนำเสนอแนวปฏิบัติที่ดีด้านการจัดการเรียนการสอนสู่บัณฑิตนักปฏิบัติกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในโครงการสัมมนาการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา (UKM ครั้งที่ 7)
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านผลงานตีพิมพ์ ประจำปีพุทธศักราช 2563 จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การนำเสนอผลงานการจัดการเรียนการสอนกลุ่มมนุษยศาสตร์ ในการสัมมนาเครือข่ายองค์กรการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา (UKM ครั้งที่ 6) วันที่ 29 กรกฎาคม 2563 หัวข้อนำเสนอ "การพัฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากษ์โดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน
ชื่อรางวัล: นักวิจัยดีเด่น รางวัลโล่พระราชทานในการจัดประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ "ราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 6 ราชภัฏ ราชภักดิ์"
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อรางวัล: รางวัลรองชนะเลิศ การนำเสนอผลงานกลุ่มวิชาเอก ในโครงการสัมมนาการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา UKM ครั้งที่ 5 วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2562 ในหัวข้อ "การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาพัฒนาการอ่าน เพื่อปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน สำหรับนักศ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรสายวิชาการดีเด่น ด้านการวิจัย ประจำปีพุทธศักราช 2561 จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: รางวัลชมเชย การนำเสนอผลงานกลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในโครงการสัมมนาการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา UKM ครั้งที่ 3 วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ.2560 ในหัวข้อ "การศึกษาผลการใช้กลวิธีอาร์ อี เอ พี ที่มีต่อความสามารถในการอ่านตีความและการคิดวิเครา
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: รางวัลผลงานวิจัยดีมากแบบบรรยาย กลุ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ในการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 4 (herp congress iv)
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: Certificate of Achievement Non-Degree Program หลักสูตร เครื่องมือดิจิทัลสำหรับการประเมินสมรรถนะ รุ่น 1
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ประกาศนียบัตรโครงการฝึกอบรมบุคลากรเพื่อการดำเนินงานของคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ประจำสถาบัน (Training Course for IRB Establishment and IRB Administrative staff) ครั้งที่ 2 ประจำปี 2565 (ด้านสังคมศาสตร์)
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อลิขสิทธิ์: ชุดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบตกผลึก: การวิจารณ์เชิงปฎิบัติ (ทะเบียนข้อมูลเลขที่ ว.049922)
ชื่อลิขสิทธิ์: ชุดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนแบบตกผลึก: การวิจารณ์เชิงทฤษฎี (ทะเบียนข้อมูลเลขที่ ว.049923)
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.