ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วิรัชยา อินทะกันฑ์  
  Asst. Prof. Dr. Wirachya Intakan
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: wirachya.i@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (คหกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2567
2 วท.ม. (คหกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2555
3 ศษ.บ. (คหกรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552
 
ความเชี่ยวชาญ
-
 
ความสนใจ
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง และไพรวัลย์ ประมัย.(2566). การพัฒนาอาหารพื้นถิ่นสู่สำรับอาหารเพื่อการท่องเที่ยวโดยใช้ชุมชนเป็นฐานกรณีศึกษา หมู่บ้านท่าโพธิ์ ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก . สักทอง:วารสารมนุษยศาสตร์และสังคม. 29(4). 188-206.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง กีรติญา สอนเนยและกุลชญา สิ่วหงวน. (2565) การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นสำหรับชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กรณีศึกษา:หมู่บ้านคลองช้างใหม่ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก.การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565,มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: วันทนา แดงเรือง จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง และวิรัชยา อินทะกันฑ์.(2565). การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียภาษามือไทยด้านคหกรรมศาสตร์ สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคม. 28(3). 163-175.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง กีรติญา สอนเนย และกีรติ ตันเรือน. (๒๕๖๔). การใช้แป้งข้าวหอมมะลิท่อนทดแทนแป้งสาลีในผลิตภัณฑ์บราวนี่กรอบ: คุณภาพ เนื้อสัมผัสและองค์ประกอบทางเคมี.วารสารวิชาการ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, ๑๓(๑๗), ๑๒-๒๔.
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ และกุลชญา สิ่วหงวน. (๒๕๖๔). การพัฒนาตำรับอาหารพื้นเมืองสู่สำรับอาหารเพื่อการท่องเที่ยว อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, ๒๓(๑), ๓๓ – ๔๔.
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ และอภิญญา มานะโรจน์. (๒๕๖๒). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมลูกจัน.Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, ๒๐(๒), ๔๕๐ -๔๕๙.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง กีรติญา สอนเนย กุลชญา สิ่วหงวน และธนพล กิจพจน์ . (2566). ผลของการเสริมใยอาหารจากลูกจันต่อองค์ประกอบทางเคมีและการยอมรับของผู้บริโภคในไอศกรีมลูกจัน.การประชุมวิชาการผลงานวิจัยระดับชาติ 50 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (หน้า 545-556).เชียงราย:มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ กีรติญา สอนเนย ศรีไพร พรมชาติ ธนัชพร แสนประสิทธิ์และสมพงษ์ เทศราช. (2566). การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก.รายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ประจำปี 2566 ครั้งที่ 8 การวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs).10-18.พิษณุโลก.มหาวิืยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ กุลชญา สิ่วหงวน นัทยาภรณ์ เมืองแดง พิศุทธ์ พรมสมบูรณ์ และอารียา ใจโฮ้งลำ. (๒๕๖๒). การทดแทนแป้งมันสำปะหลังด้วยผงลูกจันในลอดช่องสิงคโปร์.การประชุมวิชาการระดับชาติ สวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๒ “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” (หน้า ๘๐-๘๗). กรุงเทพมหานคร: โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร.
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง บัณฑิตา ทับทิมเพชรางกูล ธีรวุฒิ ภูมิชูชิด และพัฒน์ธนรัฐ อัครแก้วเพชร. (๒๕๖๒). การศึกษาตำรับอาหารพื้นบ้านชาวไทยวนกรณีศึกษา : หมู่บ้านสมอแข ตำบลสมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.การประชุมวิชาการระดับชาติ สวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๒ “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” (หน้า ๑๐๕-๑๑๘). กรุงเทพมหานคร: โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร.
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ กีรติญา สอนเนย วรรณิสา สุดวังยาง สุกัญญา ไทรนนทรี และอารีย์ โฉมวานิช. (๒๕๖๒). การศึกษาตำรับอาหารพื้นบ้านชาวไทยทรงดำ กรณีศึกษา ตําบลบ่อทอง อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติ สวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ ๒ “วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” (หน้า ๙๖-๑๐๔). กรุงเทพมหานคร: โรงแรมเดอะรอยัลริเวอร์ กรุงเทพมหานคร.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกัณฑ์ (2561).การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมกล้วยน้ำว้า. รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4, มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 2560. Page: 1119-1125
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกัณฑ์ (2561).การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมกล้วยน้ำว้า. รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4, มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 2560. Page: 1119-1125
อ้างอิง: ธัญญาภรณ์ อ้ายหมื่น ปรางทิพย์ บุญธรรม อุทุมพร แก่นเพชร รัตนาภรณ์ ศรีสะอาด และวิรัชยา อินทะกันฑ์. (๒๕๖๑). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมข้าวเหนียวดำ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ ราชภัฏกรุงเก่า วิจัย นวัตกรรม สู่การใช้ประโยชน์ ( หน้า ๓๑๕-๓๑๙).พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
อ้างอิง: ธนัญญา เอกสิทธิโชค รัชนี เรือนก้อน ศศิวรรณ พงษ์พันธ์ ศราวุฒิ โค้วสกุล และวิรัชยา อินทะกันฑ์. (๒๕๖๑). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมมันเทศสีม่วง.การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี ๒๕๖๑ ราชภัฏกรุงเก่า วิจัย นวัตกรรม สู่การใช้ประโยชน์ ( หน้า ๓๖๐-๓๗๘).กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ช่อฟ้า กลิ่นจันทร์ พลูทรัพย์ แก้วทองคำ วิรัชยา อินทะกันฑ์ และนัฐตะวัน ล้วนลอย. (๒๕๖๐). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมกล้วยน้ำว้า.การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ ๔ นวัตกรรมและเทคโนโลยีขับเคลื่อนประเทศไทย ๔.๐ (หน้า ๑๑๑๙-๑๑๒๕).กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: กิ่งกาญจน์ สำเริง น้ำฝน ฉ่ำไกร สุสิตรา สิงโสม และวิรัชยา อินทะกันฑ์. (๒๕๕๙). พฤติกรรมการบริโภคขนมไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ครั้งที่ ๓ (หน้า ๓๗๕-๓๘๓).กำแพงเพชร: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: วิทวัฒน์ ยินดี, จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง, วิรัชยา อินทะกันฑ์, กุลชญา สิ่วหงวน, ศรีไพร พรมชาติ และ กีรติญา สอนเนย. (2567). การสร้างสรรค์ชุดขันหมากประยุกต์สำหรับธุรกิจร้านดอกไม้. รายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ประจำปี 2567 ครั้งที่ 9 “การวิจัย และนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” พิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: รุ่งอรุณ ช้างบุญ, จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง,กีรติญา สอนเนย, กุลชญา สิ่วหงวน, ศรีไพร พรมชาติ และ วิรัชยา อินทะกันฑ (2567). การออกแบบสื่อทำมือสำหรับครูปฐมวัยในโรงเรียนบ้านตลุกหิน จังหวัดพิจิตร. รายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ประจำปี 2567 ครั้งที่ 9 “การวิจัย และนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” พิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
อ้างอิง: สุสิตรา สิงโสม, วิรัชยา อินทะกันฑ์, ศรีไพร พรมชาติ, ธีรพงษ์ พงษ์พวง, ธนพร ติชะพันธุ์, สิทธิชัย เสือมั่น และวันทนา แดงเรือง (2567). การพัฒนาสื่อวิดีทัศน์อาหารพื้นถิ่นสำหรับการท่องเที่ยว กรณีศึกษาหมู่บ้านท่โพธิ์หมู่ที่8 ตำบลจอมทอง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ประจำปี 2567 ครั้งที่ 9 “การวิจัย และนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน” พิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง กีรติญา สอนเนย กุลชญา สิ่วหงวน และธนพล กิจพจน์ . (2566). ผลของการเสริมใยอาหารจากลูกจันต่อองค์ประกอบทางเคมีและการยอมรับของผู้บริโภคในไอศกรีมลูกจัน.การประชุมวิชาการผลงานวิจัยระดับชาติ 50 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.เชียงราย:มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.(ใบตอบรับ)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ กีรติญา สอนเนย ศรีไพร พรมชาติ ธนัชพร แสนประสิทธิ์ และสมพงษ์ เทศราช.(2566).การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นอำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก.งานประชุมวิชาการพิบูลสงคราม ครั้งที่ 8 .มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.(ใบตอบรับ)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง กีรติญา สอนเนยและกุลชญา สิ่วหงวน. (2565) การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นสำหรับชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กรณีศึกษา:หมู่บ้านคลองช้างใหม่ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก.การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565,มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: งานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 14 วันที่2 พฤศจิกายน 2559
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 3 จัดขึ้นโดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาแพงเพชร วันที่ 22 ธันวาคม 2559
อ้างอิง:
อ้างอิง: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร 22 ธันวาคม 2560 ณ อาคารทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
อ้างอิง: การประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ ครั้งที่1 “ความสร้างสรรค์และนวัตกรรมก้าวสู่ประเทศไทย 4.0” วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ้างอิง: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 23 มีนาคม 2561
อ้างอิง: มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร 22 ธันวาคม 2560 ณ อาคารทีปังกรรัศมีโชติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร
อ้างอิง: ธนัญญา เอกสิทธิโชค รัชนี เรือนก้อน ศศิวรรณ พงษ์พันธ์ ศราวุฒิ โค้วสกุลและวิรัชยา อินทะกันฑ์ (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมมันเทศสีม่วง.งานประชุมวิชาการประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี พ.ศ. 2561.วันที่21-22 พฤศจิกายน 2561. ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อ้างอิง: ธัญญาภรณ์ อ้ายหมื่น ปรางทิพย์ บุญธรรม อุทุมพร แก่นเพชร รัตนาภรณ์ ศรีสะอาด และวิรัชยา อินทะกันฑ์.การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมข้าวเหนียวดำ. การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2561 ราชภัฏกรุงเก่า วิจัย นวัตกรรม สู่การใช้ประโยชน์. ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. 13-14 ธันวาคม 2561.
อ้างอิง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง กีรติญา สอนเนยและกุลชญา สิ่วหงวน. (2564) การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นสำหรับชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กรณีศึกษา:หมู่บ้านคลองช้างใหม่ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก.การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565,มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: การประเมินผลกระทบทางสังคม Social Impact Assessment (SIA)และการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน Social Return on Investment (SROI) วิทยากรโดย คุณเศรษฐภูมิ บัวทอง และทีมนักวิจัย วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: “การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Backward Curriculum Design)”
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมทักษะ Soft Skills ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน “AUN-QA implementation and Gap Analysis”
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การพัฒนาผลงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
อ้างอิง: การพัฒนาหัวข้อวิจัยระดับดุษฏีบัณฑิตที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์เพื่อการท้องถิ่น
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับกระบวนการวิศวกรสังคม ระหว่างวันที่ 20-22 มีนาคม 2566
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรเทคนิคการพิจารณาโครงการจริยธรรมในมนุษย์ (สำหรับคณะกรรมการ)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ (Paper Camp)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักการเขียน Protocol & ICF อย่างถูกต้องตามหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (สำหรับผู้วิจัย)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ในหัวข้อ “ BCG CANVAS FOR RESEARCHER ” วิทยากรโดย ดร.ปรเมษฐ์ ชุ่มยิ้ม ที่ปรึกษาอาวุโส เมืองนวัตกรรมอาหาร สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ณ ห้องประชุมปางอุบล โรงแรมวังจันทน์ริเวอร์วิว พิษณุโลก (Onsite)
อ้างอิง: กิจกรรมอบรมใหความรู้ทำอย่างไรให้สถานที่ผลิตผ่านมาตรฐาน อย.
อ้างอิง: หลักสูตรการสุขาภิบาลสำหรับผู้สัมผัสอาหาร ตามกฏกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561
อ้างอิง: ic3 digital literacy certification
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อการส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ส้มแผ่น ณ ชุมชนผู้ผลิตส้มแผ่นบ้านบางสะพาน ตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมพัฒนาอาชีพหลักสูตรระยะสั้น (หลักสูตรอาชีพการประดิษฐ์ของชำร่วย) ณ เทศบาลตำบลพลายชุมพล ในวันจันทร์ที่ 22 สิงหาคม 2565
อ้างอิง: ผ่านการอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง มาตรฐานการปกป้องอาสาสมัครในงานวิจัย : Human Subjects Protection-Standard Course (สำหรับผู้วิจัย)
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่อโครงการ: โครงการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ(โรงเรียนผู้สูงอายุ) วิชา อาชีพสำหรับผู้สูงอายุ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อโครงการ: โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทผ้าและเครื่องแต่งกายจากอัตลักษณ์ท้องถิ่น อำเภอเมืองเก่า จังหวัดสุโขทัย วันที่ 15-16 กุมภาพันธ์ 2566 ณ กลุ่มผ้าปาริชาติ ตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมศักยภาพกลุ่มแปรรูปสมุนไพรตำบลดงประคำ อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก : กิจกรรมทบทวนแผนพัฒนาเชิงพื้นที่และวิเคราะห์ศักยภาพผลิตภัณฑ์ชุมชนโดยพิจารณาจากตลาดที่เพิ่มช่องทางการจำหน่าย วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น.
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาจักสานเพื่อส่งเสริมการขายให้กับผลิตภัณฑ์อาหารของหมู่บ้านจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ณ หมู่บ้านจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 3 – 4 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 09.00 – 16.30 น.
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ "หลักสูตรการทำการบูรรูปองุ่น" วันที่ 21 เมษายน 2566 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก เวลา 9.00 - 12.00 น.
ชื่อโครงการ: โครงการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(โรงเรียนผู้สูงอายุ)อบรมอาชีพผู้สูงอายุวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ห้องประชุมเทศบาลตำบลพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก เวลา 9.00 - 12.00 น.
ชื่อโครงการ: โครงการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ(โรงเรียนผู้สูงอายุ)อบรมหลักสูตรบัวลอยน้ำขิง วันที่ 12 พฤษภาคม 2566 ณ ตึกคหกรรมศสาตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม เวลา 9.00 - 12.00 น.
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อรางวัล: ได้รับรางวัล​การนำเสนอผลงานบรรยายระดับดีเด่น ด้านการศึกษาและศิลปวัฒนธรรม ในการประชุม​วิชาการ​พิบูล​สงคราม​วิจัย​ ครั้ง​ที่​ 8​ ประจำปี​ 2566
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อรางวัล: ได้รับรางวัลนำเสนอผลงานอยู่ในระดับดีกลุ่มที่ 2 ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม "การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นสำหรับชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีกรณีศึกษา: หมู่บ้านคลองช้างใหม่ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก"
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อรางวัล: ได้รับรางวัลชมเชย อันดับ 2 ในการเข้าร่วมนำเสนอผลงานแนวปฏิบัติที่ดีด้านการเรียนการสอนสู่บัณฑิตนักปฏิบัติ "โครงการสัมมนาการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา ครั้งที่ 7" มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 21 กรกฎาคม 2564
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ผ่านการอบรมหลักสูตรการสุขาภิบาลสำหรับผู้สัมผัสอาหาร ตามกฏกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ic3 digital literacy certification
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: วิรัชยา อินทะกันฑ์ จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง กีรติญา สอนเนยและกุลชญา สิ่วหงวน. (2565) การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นสำหรับชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถี กรณีศึกษา:หมู่บ้านคลองช้างใหม่ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก.การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565,มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ได้รับรางวัลนำเสนอผลงานอยู่ในระดับดีกลุ่มที่ 2 ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม "การพัฒนาสำรับอาหารพื้นถิ่นสำหรับชุมชนท่องเที่ยว OTOP นวัตวิถีกรณีศึกษา: หมู่บ้านคลองช้างใหม่ ตำบลวัดโบสถ์ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก"
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ผ่านการอบรมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง มาตรฐานการปกป้องอาสาสมัครในงานวิจัย : Human Subjects Protection-Standard Course (สำหรับผู้วิจัย)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตร GCP online training “ แนวทางการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH-GCP:E6(R2))”
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: National Research Council of Thailand (NRCT) and Forum for Ethical Review Committee in Thailand (FERCIT)
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: การจดทะเบียนประเภทอนุสิทธิบัตร จากกรมทรัพย์สินทางปัญญา ในชื่อผลงาน สูตรบราวนี่กรอบจากแป้งข้าวหอมมะลิท่อน
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.