ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กาญจนา วงศ์กระจ่าง  
  Asst. Prof. Dr. Kanjana Wongkrajang
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: kanjana_w@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (เคมีประยุกต์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2554
2 วท.ม. (เคมีประยุกต์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2549
3 วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2543
 
ความเชี่ยวชาญ
เคมีเภสัชและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
 
ความสนใจ
Chemistry and Applied Chemistry, วิธีการทำขนมหวาน และเบเกอรี่, Bioactive compounds, Natural Product, การพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรและนวัตกรรมจากภูมิปัญญา
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Yuan Lin, Kanjana Wongkrajang, Xiaofei Shen, Ping Wang, Zongyuan Zhou, Thipphawan Chuprajob, Nilubon Sornkaew, Na Yang, Lijuan Yang, Xiaoxia Lu, Ratchanaporn Chokchaisiri, Apichart Suksamrarn, Guolin Zhang, Fei Wang. (2022). Discovery of diarylheptanoids that activate α7 nAchR-JAK2-STAT3 signaling in macrophages with anti-inflammatory activity in vitro and in vivo. Bioorganic & Medicinal Chemistry, 66, 116811.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Wisanee Wisanwattana, Kanjana Wongkrajang, Dong-yi Cao, Xiao-ke Shi, Zhong-hui Zhang, Zong-yuan Zhou, Fu Li, Qing-gang Mei, Chun Wang, Apichart Suksamrarn, Guo-lin Zhang and Fei Wang. (2021). Inhibition of Phosphodiesterase 5 Promotes the Aromatase-Mediated Estrogen Biosynthesis in Osteoblastic Cells by Activation of cGMP/PKG/SHP2 Pathway. Front.Endocrinol, doi.org/10.3389/fendo.2021.636784
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Sunantha Thakthuang, Orawan Wonganan, Kanjana Wongkrajang. (2020). Inhibition of α -Glucosidase Activity and Thin Layer Chromatography Screening Test of Some Weed Extracts. Agricultural Sci. J., 51: 1 (Suppl.), 365-369.
อ้างอิง: อนงค์ ศรีโสภา และ กาญจนา วงศ์กระจ่าง. (2020). การพัฒนาสูตรชาสมุนไพรใบหม่อนผสมสมุนไพรให้กลิ่นหอมที่มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านเอนไซม์กลูโคซิเดส. Thai Journal of Science and Technology. 9(2), 218-229.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Thapakorn Somboon, Phadtraphorn Chayjarung, Vijakhana Pilaisangsuree, Parintorn Keawracha, Porntawan Tonglairoum, Anupan Kongbangkerd, Kanjana Wongkrajang, Apinun Limmongkona. (2019). Methyl jasmonate and cyclodextrin-mediated defense mechanism and protective effect in response to paraquat-induced stress in peanut hairy root. Phytochemistry, 163, 11–22.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: กาญจนา วงศ์กระจ่าง และ อรุณ จันทร์คำ. (2560). ผลของสารสกัดเอทานอลของดอกดาวเรืองต่อการเจริญเติบโตของผักกาดหอม. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 9(9), 97-111.
อ้างอิง: กาญจนา วงศ์กระจ่าง และปณิธาน สุระยศ. (2560). การศึกษาผลของวิธีการสกัดและชนิดมอร์แดนท์ต่อคุณภาพของสีย้อม และการศึกษาสารในสีย้อมดอกดาวเรือง. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์., 9(10), 112-122.
อ้างอิง: Fu Li, Bao-Wen Du, Dan-Feng Lu, Wen-Xuan Wu, Kanjana Wongkrajang, Lun Wang ,Wen-Chen Pu, Chang-Lu Liu, Han-Wei Liu, Ming-Kui Wang and Fei Wang. (2017). Flavonoid glycosides isolated from Epimedium brevicornum and their estrogen biosynthesis-promoting effects. Sci Rep, 7, 7760.
อ้างอิง: Orawan Wonganan, Yu-jiao He, Xiao-fei Shen, Kanjana Wongkrajang, Apichart Suksamrarn, Guo-lin Zhang and Fei Wang. (2017). 6-Hydroxy-3-O-methyl-kaempferol 6-O-glucopyranoside potentiates the anti-proliferative effect of interferon α/β by promoting activation of the JAK/STAT signaling by inhibiting SOCS3 in hepatocellular carcinoma cells. Toxicology and Applied Pharmacology, 336, 31–39.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ปิยนุช เจริญผล และ กาญจนา วงศ์กระจ่าง. (2558). การศึกษาระบบตัวทำละลายที่เหมาะสมของการสกัดและปริมาณฟีนอลิก ฟลาโวนอยด์และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากใบดาวเรือง. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 7(7), 17-27.
อ้างอิง: อรชร ไอสันเทียะ และ กาญจนา วงศ์กระจ่าง. (2558). การศึกษาระบบตัวทำละลายของการสกัดสารประกอบฟีนอลิก สารประกอบฟลาโวนอยด์และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระที่ดีที่สุดของดอกดาวเรือง วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 7(7), 28-40.
อ้างอิง: Nilubon Sornkaewa , Yuan Linb , Fei Wangb , Guolin Zhangb , Ratchanaporn Chokchaisiric , Ailian Zhangd , Kanjana Wongkrajang , Parichat Suebsakwonga , Pawinee Piyachaturawat and Apichart Suksamrarna. (2015). Diarylheptanoids of Curcuma comosa with Inhibitory Effects on Nitric Oxide Production in Macrophage RAW 264.7 Cells. Natural Product Communications, 10(1), 89-93.
อ้างอิง: Kamrai Woranoot, Paphitchaya Naree, Anupan Kongbangkerd, Kanjana Wongkrajang, Rattikarn Buaruaeng, Chonnanit Choopayak. (2015). Phytotoxic effects of Piper betle L. extracts on germination of Eclipta prostrata L. and Chloris barbata Sw. weeds. NU. International Journal of Science, 12(1), 11 -24.
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: Suksamrarn, A., Ponglikitmongkol, M., Wongkrajang, K., Chindaduang, A., Kittidanairak, S., Jankam, A., Yingyongnarongkul, B., Kittipanumat, N., Chokchaisiri, R., Khetkam, P., Piyachaturawat, P., (2008). Diarylheptanoids, new phytoestrogens from the rhizomes of Curcuma comosa: Isolation, chemical modification and estrogenic activity evaluation. Bioorg. Med. Chem. 16, 6891-6902.
ปี พ.ศ. 2546 (2003)
อ้างอิง: Suksamrarn, S., Wongkrajang, K., Kirtikara, K., Suksamrarn, A. (2003). Iridoid Glucosides from the Flowers of Barleria lupulina. Planta Med. 69, 877-879.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Patcharaporn Nopprang, Sornsawan Wijit Thapakorn Somboon, Kanjana Wongkrajang and Apinun Limmongkon. (2016). Antioxidant and phenolic compound of peanut sprout partial purification. Proceeding of The 5th International Biochemistry and Molecular Biology Conference, 24-26 May 2016.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: กาญจนา วงศ์กระจ่าง และ นันทวัน ปานอ่วม. (2557). ฟลาโวนอยด์ : สารต้านอนุมูลอิสระจากดอกดาวเรือง รายงานสืบเนื่องการประชุมทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยกำแพงเพชร. 265-274.
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง:
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
อ้างอิง: อรุณ จันทร์คำ และ กาญจนา วงศ์กระจ่าง.(2560). สารสกัดสมุนไพรไทยต่อการต้านมะเร็งและต้านอนุมูลอิสระ. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,9(9), 112-122
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ โครงการสนับสนุนการประเมินผลโครงการบริการวิชาการ SIA และ SROI
อ้างอิง: โครงการสร้างผู้ประกอบการ Micropreneur
อ้างอิง: PSRU Tech to Industry Convergence 2024
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการเขียนข้อเสนอโครงการและเตรียมความพร้อมในการรับทุนสนับสนุน Talent Mobility ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : การยกระดับงานวิจัยสู่นวัตกรรมเชิงพาณิชย์และการส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรมด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
อ้างอิง: โครงการจัดการความรู้ KM
อ้างอิง: Train The Trainer
อ้างอิง: Generative AI กับการเขียน Manuscript อย่างมีจริยธรรม
อ้างอิง: การพัฒนารูปแบบการสอน Team Teaching
อ้างอิง: อบรมพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการด้วยทรัพย์สินทางปัญญา เทคโนโลยีและนวัตกรรม
อ้างอิง: มาตรฐานความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ (ESPReL)
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ความไม่แน่นอนของการวัดทางเคมี
อ้างอิง: เทคนิคการเขียนบทความวิจัย
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมพัฒนาศักยภาพนักบริการวิชาการรับใช้สังคม
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมไทยที่นิยมด้วยสารสกัดเพื่อเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.