ชื่อ-นามสกุล
 นางสาวอัจฉราพร แย้มเหม็น  
 Miss Adcharaporn Yammen
ตำแหน่ง: บรรณารักษ์ ระดับ ชำนาญการ
สังกัดหน่วยงาน: สำนักงานผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 0
อีเมล์: adcharaporn@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ศศ.บ. (บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์) สถาบันราชภัฏพิบูลสงคราม 2547
 
ความเชี่ยวชาญ
บรรณารักษ์, ห้องสมุด, การวิเคราะห์หมวดหมู่หนังสือและการลงรายการหนังสือ, การสืบค้นข้อมูล
 
ความสนใจ
เทคโนโลยี, ห้องสมุด, ระบบและโปรแกรมที่เกี่ยวกับห้องสมุด
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อัจฉราพร แย้มเหม็น, จิตราภรณ์ ไกรฤทธิ์. (2562). การตรวจสอบคุณภาพรายการทรัพยากรสารสนเทศในฐานข้อมูล ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. PULINET Journal. 6(3), 28-35. ค้นจาก https://pulinet.oas.psu.ac.th/index.php/journal/article/view/372/372
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: อัจฉราพร แย้มเหม็น. (2566). การพัฒนาบทเรียนผ่านเว็บ เรื่อง การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน (NLM) ของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 13” (น.89-101). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: อัจฉราพร แย้มเหม็น, อมรรัตน์ ศรีละออ. (2563). ความคาดหวังของครูบรรณารักษ์ที่มีต่อการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในเขตจังหวัดพิษณุโลก สุโขทัย และอุตรดิตถ์กับสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 (น. 912-923). สงขลา: สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อัจฉราพร แย้มเหม็น, และจิตราภรณ์ ไกรฤทธิ์. (2562). การตรวจสอบคุณภาพรายการทรัพยากรสารสนเทศใน ฐานข้อมูลห้องสมุดอัตโนมัติ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงคราม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ PULINET ครั้งที่ 9 (น. 2-898-2-906). ชลบุรี: สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: อัจฉราพร แย้มเหม็น. (2565). การพัฒนาบทเรียนผ่านเว็บ เรื่อง การจัดหมวดหมู่ระบบหอสมุดแพทย์แห่งชาติอเมริกัน (NLM) ของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อัจฉราพร แย้มเหม็น. (2562). การพัฒนาระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติการเข้าใช้บริการห้องสมุด คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏบูลสงคราม. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง จริยธรรมในการวิจัยมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมแบบเรื่อง อนาคตห้องสมุดยุคดิจิทัล โดย ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์
อ้างอิง: โครงการเตรียมความพร้อมบุคลากรสำนักวิทยบริการฯ เข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น
อ้างอิง: การอบรมและทดสอบ PSRU Digital test
อ้างอิง: อบรมการใช้งาน Microsoft Office 365
อ้างอิง: การประชุมสัมมนา เรื่อง “เกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ (EdPEx) ฉบับปี 2567-2570” ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (หมวด 4 และผลลัพธ์ที่เกี่ยวข้อง) ครั้งที่ 5
อ้างอิง: การอบรม PSRU EdPEx Coaching หมวดที่ 3-4 (ครั้งที่ 2)
อ้างอิง: การออกแบบเชิงสร้างสรรค์สำหรับห้องสมุดยุคชีวิตวิถีใหม่ โดย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย
อ้างอิง: (MHESI) Introduction to ScienceDirect for research (TH) โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคและแนวทางการนำเอาเกณฑ์ EdPEx สู่การปฏิบัติ กองนโยบายและแผนมหาวิทยาลัรยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมในหัวข้อ Generative AI ผู้ช่วยอัจฉริยะในยุคดิจิทัล โดย สำนักวิทยบริการฯ มหาวิทยาลัรยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: บรรยายพิเศษ เรื่อง นวัตกรรมการวิจัยและพัฒนา : ความท้าทายของสังคมแห่งกำรเรียนรู้เพื่อตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน(SDGs) โดย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
อ้างอิง: การฝึกอบรมเพื่อพัฒนาและยกระดับการบริหารจัดการองค์กรสู่สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย สำนักวิทยบริการฯ มรพส.
อ้างอิง: การอบรมเครื่องมือการบริหารผลงานที่ได้ใจและได้งาน (OKRs) โดย สำนักวิทยบริการฯ มรพส.
อ้างอิง: การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการดับเพลิงขั้นต้นและการฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ โดย สำนักวิทยบริการฯ มรพส.
อ้างอิง: โครงการทบทวนวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์และแผนพัฒนางาน โดย สำนักวิทยบริการฯ มรพส.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: กิจกรรม Library Talk : – การประพฤติมิชอบในการวิจัย (Plagiarism/Falsification/Fabrication) – Authorship Misrepresentation (Ghost/Gift Authors) – วารสารหลอกลวง (Predator/Cloned/Hijacked Journals) – การประเมินคุณภาพวารสาร บทความ นักวิจัย – การคัดเลือกวารสารเพื่อการตีพิมพ์ โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: กระบวนการจำหน่าย(weeding) และการจัดการฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศในระบบห้องสมุดอัตโนมัติ โดย หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
อ้างอิง: สัมมนากฎหมาย “กฎหมายแพลตฟอร์มดิจิทัล” (Digital Platform Law) โดย สำนักงานกฎหมายเล็กซ์เพอร์ติส
อ้างอิง: การพัฒนาคลังข้อมูลดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการวิจัย โดย หอสมุดแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ้างอิง: การบรรยาย หัวข้อ มาตรฐานการจัดการข้อมูลในคลังสารสนเทศดิจิทัล โดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
อ้างอิง: การอบรม เรื่อง การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย (R to R) โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การบรรยาย เรื่อง เราจะทำอย่างไรในยุคโลกเดือด โดย หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
อ้างอิง: การบรรยาย เรื่อง แยกให้ได้ ทิ้งให้ถูก : เรียนรู้การคัดแยกขยะผ่านบอร์ดเกมการศึกษา และ กิจกรรมแข่งขันบอร์ดเกมด้านสิ่งแวดล้อม โดย หอสมุดและคลังความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
อ้างอิง: การประชุมทางวิชาการระดับชาติเรื่อง การพัฒนาห้องสมุดสู่ความยั่งยืน (Library Development Towards Sustainability) และประชุมใหญ่สามัญประจำปี พุทธศักราช ๒๕๖๖ โดย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย
อ้างอิง: การบรรยาย เรื่อง ก้าวใหม่ของมาตรฐานและเกณฑ์การประเมินห้องสมุดสีเขียว พ.ศ.2566 โดย หอสมุดและคัลงความรู้มหาวิทยาลัยมหิดล
อ้างอิง: อบรม เรื่อง การจัดการขยะและของเสียตามโมเดล BCG และการจัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยสำนักหอสมุดมหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ้างอิง: อบรมเรื่อง สำนักงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green office) โดย กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
อ้างอิง: อบรมการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนท่ามกลางวิกฤต สร้างจิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อ้างอิง: การอบรม เรื่อง “Board Game สร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อแหล่งเรียนรู้และสถานบันบริการสารสนเทศ” โดย สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพชรบุรี
อ้างอิง: อบรมใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการสืบค้น(ออนไลน์) ประจำปี 2566 โดย สำนักปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
อ้างอิง: การอบรม เรื่อง การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ รุ่นที่ 3 โดย สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “ทักษะดิจิทัล” สำหรับครูบรรณารักษ์ ครูผู้ปฏิบัติงานในห้องสมุด และบรรณารักษ์วิชาชีพ โดย สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ ร่วมกับ หลักสูตร ศศ.บ. (สารสนเทศศึกษา) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีน ครินทรวิโรฒ
อ้างอิง: การอบรมเรื่อง Better Work Performance with ChatGPT โดย The Blacksmith
อ้างอิง: Chula Lunch Talk: AI Series หัวข้อ ประเด็นจริยธรรมของ ChatGPT ที่ควรใส่ใจ เพื่อการใช้ AI อย่างสร้างสรรค์ โดย ศูนย์นวัตกรรมการเรียนรู้ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ้างอิง: การบรรยาย เรื่อง TK FORUM 2023 “Library Possible: The Creative Solutions for Better Library Service” โดย สถาบันอุทยาการดรียนรู้ (TK ParK)
อ้างอิง: อบรมการใช้ Turnitin
อ้างอิง: อบรมการใช้ Turnitin โดยสถาบันวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล
อ้างอิง: สัมมนาวิชาการ เรื่อง “สารสนเทศดิจิทัล: ความท้าทายในงานห้องสมุด จดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์”
อ้างอิง: การประชุมชี้แจงแนวทางการตรวจประเมินห้องสมุดสีเขียว ประจำปี พ.ศ. 2566
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Making the most of ACS Read & Publish with MHESI
อ้างอิง: ก้าวอย่างที่เปลี่ยนผ่านในงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศจากมาร์ก สู่ บิบเฟรมและลิงก์ท-ดาด้า
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการในกิจกรรมเตรียมความพร้อมการประกันคุณภาพด้วยเกณฑ์การประเมิน EDPEX
อ้างอิง: โครงการพัฒนาองค์กรสู่เกณฑ์มาตรฐาน EdPEx ปีการศึกษา 2565 กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้การเขียนผลการดำเนินงานเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศ
อ้างอิง: 4 hearts for library ใส่ใจ ได้ใจ เข้าใจ และรักษาใจเพื่อพัฒนากระบวนการห้องสมุด
อ้างอิง: อบบรมจัดซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟ
อ้างอิง: การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน”
อ้างอิง: เรื่องกลไกการลดก๊าชเรือนกระจก
อ้างอิง: มาตรฐานการปกป้องอาสาสมัครในงานวิจัย : Human Subjects Protection-Standard Course (ส าหรับผู้วิจัย)
อ้างอิง: อบรมพัฒนาสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) ระดับ 2
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ตามเอกสาร อว 0363/ 1910
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ตามเอกสาร อว 0363/ 1908
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ตามเอกสาร อว 0363/ 0572
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ตามเอกสาร อว 0363/ 0355
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ตามเอกสาร อว 0363/ 0354
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ตามเอกสาร อว 0363/ 2128
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง นักเอกสารสนเทศ ตามเอกสาร อว 0363/ ว 1074
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานและจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตำแหน่ง บรรณารักษ์ ตามเอกสาร อว 0363/ ว 0783
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง จริยธรรมในการวิจัยมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตร Basic Cybersecurity
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตร "อบรมพัฒนาสมรรถนะความสามารถด้านการใช้ดิจิทัล (Digital Literacy) ระดับ 2 โดย สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง มาตรฐานการปกป้องอาสาสมัครในงานวิจัย : Human Subjects Protection-Standard Course (สําหรับผู้วิจัย)
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.