ชื่อ-นามสกุล
   
ตำแหน่ง: -
สังกัดหน่วยงาน: -
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: -
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 กศ.ด. (การทดสอบและวัดผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร 2540
2 ค.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2532
3 กศ.บ. (คณิตศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร 2522
 
ความเชี่ยวชาญ
สถิติวิเคราะห์ทางสังคมศาสตร์, การศึกษา, วิจัย วัดผล ประเมินผล สถิตประยุกต์ ประกันคุณภาพ, วิจัยและประเมินผล, วิจัยและประเมินผลทางการศึกษา, งานประกันคุณภาพการศึกษา, ระเบียบวิธีวิจัย, การประเมินโครงการ, ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
 
ความสนใจ
สถิติประยุกต์, Research , Quality assurance, Evaluation, Measurement
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: สาริศา แจ่มหะไทย .สุขแก้ว คำสอน และ อุเทน ปุ่มสันเที๊ยะ.(2566).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ิ่องการแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแม่ระหัน โดยใช้แบบฝึกทักษะ.ครุศึกษาวิชาการ .ครั้งที่ 4 .( เมญายน 2566 )มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ชฎาพร วิวรชัย และ สุขแก้ว คำสอน (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้แบบฝึกทักษะ : รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ 2565 วันที่ 5 มีนาคม 2565. สาขาคณิตศาสตร์
อ้างอิง: ปภากร โสประดิษฐ์ ภัคพล ปรีชาศิลป์ และ สุขแก้ว คำสอน (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้แบบฝึกทักษะ : รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ 2565 วันที่ 5 มีนาคม 2565. สาขาคณิตศาสตร์
อ้างอิง: วีระยุทธ บัวชุม และ สุขแก้ว คำสอน. (2565). การประเมินโครงการน้อมนำศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนด้านตามรอยพระยุคลบาทสถานศึกษาเทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ โรงเรียนบ้านแก่งหว้าแก่งไฮ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3.วาสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น. 8(16) ประจำปี 2565
อ้างอิง: ภูมิมินทร์ วันจันทร์ ภัคพล ปรีชาศิลป์ และ สุขแก้ว คำสอน (2565). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับคอร์ดของวงกลม ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจ่านกร้อง โดยการใช้โปรแกรม THE GEOMETER’S SKETCHPAD (GSP) : รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษา ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ 2565 วันที่ 5 มีนาคม 2565. สาขาคณิตศาสตร์
อ้างอิง: สวนีย์ เสริมสุข และ สุขแก้ว คำสอน.(2565).การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรม. ปีที่ 8 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2565 (TCI 2)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน ปัณณวิชญ์ใบกุหลาบและคณะ.(2565).การประเมินผลการใช้หลักสูตรท้องถิ่นในการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย.พิษณุโลก.วารสารครุพิบูล ปีที่ 9 ฉบับที่ 1(มกราคม-มิถุนายน) หน้า 136-148
อ้างอิง: พีรพัฒน์ แสงรุ่ง สุขแก้ว คำสอน และ อุเทน ปุ๋มสันเที๊ยะ (2565) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิด TPACK เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้นเพื่อส่งเสริมความเข้าใจมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 . วารสารบัณฑิตวิจัย. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 13 ฉบับที่ 21 (กรกฎาคม-มีนาคม 2565)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: จันทรัตน์ สารีคำ สุขแก้ว คำสอน และสวนีย์ เสริมสุข. (2564). สภาพการจัดกิจกรรมเสริมสร้างจิตสาธารณะของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: บุญครอง กุลดี และ สุขแก้ว คำสอน .(2564). กลยุทธ์การปฏิบัติราชการโดยใช้หลักธรรมาภิบาลด้านการมีส่วนร่วมทางการบริหารในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมสึกษาพิจิตร เขต 1. วารสารมนุษยศาสาตร์และสังคมศาสตร์ พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ณัฐริณีย์ น้อยจันทร์ สุขแก้ว คำสอน และ อดุลย์ วังศรีคูณ. (2564). การพัฒนารูปแบบการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ด้วยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางอาชีพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 41. วารสารมนุษยศาสาตร์และสังคมศาสตร์ พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ภัทรพงษ์ สุขเกิด ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ และ สุขแก้ว คำสอน. (2564). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนประวัติศาสาตร์เพื่อส่งเสริมการคิดเชิงระบบ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 อุตรดิตถ์. วารสารคุรุพิบูล. 13(2), 85-96
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: กู้เกียรติ ศิริพานิชสมบูรณ์, สุขแก้ว คำสอน, เกรียงศักดิ์ สุวรรณวัจน์. (2563). แนวทางการพัฒนาความสามารถในด้านการจัดการเรียนรู้ของพระสอนศีลธรรมในโรงเรียนจังหวัดกำแพงเพชร. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญาทรรศน์. 15(1) , 11-24. (TCI 2)
อ้างอิง: สิรธญา แก้วเนย, สุขแก้ว คำสอน, อำไพ นงเยาว์. (2563). การศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมความสามารถของครูด้านการจัดการความรู้ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 14(1), 111-126. (TCI 1)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อุทัย ไทยกรรณ์, สุขแก้ว คำสอน, และเกรียงศักดิ์ สุวรรณวัจน์. (2562). รูปแบบการบริหารงานวิชาการสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา, วารสารมนุษยศาสตร์ศาสตร์เเละสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 13(1), 88-104. (TCI กลุ่ม 1)
อ้างอิง: ปิยพงศ์ สอนลบ, สุขแก้ว คำสอน, และฐิติอาภา ตั้งค้าวานิช. (2562). รูปแบบการให้ความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการป้องกันโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง, วารสารมนุษยศาสตร์ศาสตร์เเละสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 13(1), 167-185. (TCI กลุ่ม 1)
อ้างอิง: วิรัช พานซ้าย, สุขแก้ว คำสอน. (2562). การพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันปัญหาพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, วารสารมนุษยศาสตร์ศาสตร์เเละสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 13(1), 135-149. (TCI กลุ่ม 1)
อ้างอิง: บรรดิษฐ์ ม่วงอ่อง, สุขแก้ว คำสอน, เกรียงศักดิ์ สุวรรณวัจน์. (2562). การพัฒนารูปแบบการนิเทศเพื่อส่งเสริมสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของครูโรงเรียนอนุบาลสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.13(2),(1-16). (TCI กลุ่ม1)
อ้างอิง: อิทธิพงษ์ ตั้งสกุลเรืองไล, สุขแก้ว คำสอน. (2562). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาระบบการบริหารจัดการสอบออนไลน์และคลังข้อสอบเพื่อให้ข้อมูลย้อนกลับสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีตอบสนองข้อสอบ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 13(2),(533-550). (TCI กลุ่ม 1)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2561 ). แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมในการเพิ่มคุณภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครู. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ( TCI 1) ปีที่ 12 (ฉบับที่ 2 ) เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม หน้า 22 – 35
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2561).รูปแบบการพัฒนาสภาพแวดล้อมเพื่อเพิ่มคุณภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครูโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences 18(1), 2560. Page: 209-216
อ้างอิง: ณัฐชานันท์ นุเสน, ชุมพล เสมาขันธ์, และสุขแก้ว คำสอน. (2561). กระบวนการพัฒนาครู ด้านการวัดและประเมินผล ตามสภาพจริง โรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(2)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และสวนีย์ เสริมสุข. (2561). การศึกษาสภาพการฝึกปฏิบัติในชุดวิชา“การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา2(Internship II)” นักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. Veridian E-Journal Silapakorn University, 11(2). 2936-2950.
อ้างอิง: บุญญารัตน์ รังษีสุริยะชัย, สุขแก้ว คำสอน, และศิริวิมล ใจงาม. (2561). การพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตตามแนวจิตตปัญญาศึกษาของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย, วารสารมนุษยศาสตร์ศาสตร์เเละสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 12(2) (TCI 1)
อ้างอิง: บุศรินทร์ ใจวังโลก, สุขแก้ว คำสอน และเกรียงศักดิ์ สุวรรณวัจน์. (2561). การศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาความสามารถด้านการจัดการเรียนรู้ ของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3, วารสารมนุษยศาสตร์ศาสตร์เเละสังคมศาสตร์บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2(12) (TCI 1)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน. (2561). หลักการสร้างเครื่องมือการวิจัยในชั้นเรียนให้มีคุณภาพ. T-VET Journal. สถาบันการอาชีวศึกษาภาคเหนือ 3. 2(4), 4-25.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข. (2560 ). กลยุทธ์การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก .วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ( TCI 2) ปีที่ 11 (ฉบับที่ 1 ) เดือน มกราคม-มิถุนายน หน้า 22 - 35
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข(2560) การศึกษาความต้องการในการนิเทศตามการรับรู้ของนักศึกษา ชุดวิชา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Internship 2) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม .กรุงเทพ วารสาร veridian มหาวิทยาลัยศิลปกร (TCI 1 ) ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน -ธันวาคม
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2560).รูปแบบการบริหารงานวัดและประเมินผลในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน  สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์, ปีที่ 28 ฉบับที่ 3, 2560. Page: 179-192
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2560).รูปแบบการพัฒนาครูเชิงปฏิบัติการผ่านวงจรคุณภาพเรื่องการสร้างแบบวัดการรู้การอ่านสำหรับครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิษณุโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, ปีที่ 11 ฉบับที่ 2,  2560. Page: 59-73
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2559). การประเมินความต้องการจำเป็นด้านการสร้างแบบทดสอบของครูสังกัดการศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดพิษณุโลก. RAJABHAT JOURNAL OF SCIENCES , HUMANNITIES @ SOCIAL SCIENCES. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (TCI 1) ปีที่ 17 ( ฉบับที่ 1). 108 - 121
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ (2558). การศึกษาคะแนนพัฒนาการความสามารถด้านการวิจัยของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ( TCI 2) ปีที่ 9 (ฉบับที่ 2) หน้า 29-50
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน. (2557). แนวทางการดำเนินกิจกรรมของแหล่งเรียนรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชนจอมทอง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ( TCI 2 ) ปีที่ 7 (ฉบับที่ 1 ). หน้า 22 - 37
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน. (2556). การศึกษาความสามารถด้านการวิจัยของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารครุศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ปี่ที่ 1 (ฉบับที่ 1)
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน. (2555). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเค้าโครงการวิจัยของนักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยวิธีการสอนแบบ เอสทีเอดี (STAD). วารสารครุพิบูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: สาริศา แจ่มหะไทย .สุขแก้ว คำสอน และ อุเทน ปุ่มสันเที๊ยะ.(2566).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ิ่องการแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแม่ระหัน โดยใช้แบบฝึกทักษะ.ครุศึกษาวิชาการ .ครั้งที่ 4 .( เมญายน 2566 )มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: ภูมินทร์ วันจันทร์ สุขแก้ว คำสอน และ ภคพล ปรีชาศิลป์ (2565).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เรื่องทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับคอร์ดของวงกลมนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจ่าการบุญโดยการใช้โปรแกรมจีเอสพี ครุศาสตร์ศึกษา (11 มีนาคม 2565) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
อ้างอิง: ชฎาพร วิวรชัย สุขแก้ว คำสอน (2565).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระคณิตศาตร์เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้แบบฝึกทักษะ ครุศาสตร์ศึกษา (11 มีนาคม 2565) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
อ้างอิง: ปภากร โสประดิษฐ์ สุขแก้ว คำสอนและภคพล ปรีชาศิลป์ (2565).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มวิชาคณิตศาตร์เรื่องโจทย์ปัญหาร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้แบบฝึกทักษะ ครุศาสตร์ศึกษา (11 มีนาคม 2565) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: วิทวัส เณรหลำ และสุขแก้ว คำสอน. (2561). การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18. ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2560).ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัยสถาบันของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17, 21 กรกฎาคม 2560. Page: 605-619
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2560).การประเมินโครงการพัฒนานักศึกษาด้วยกิจกรรมนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17, 21 กรกฎาคม 2560. Page: 620-630
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: สาริศา แจ่มหะไทย .สุขแก้ว คำสอน และ อุเทน ปุ่มสันเที๊ยะ.(2566).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่ิ่องการแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและการลบเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง วิชาคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านแม่ระหัน โดยใช้แบบฝึกทักษะ.ครุศึกษาวิชาการ .ครั้งที่ 4 .มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: วิทวัส เณรหลำ,สุขแก้ว คำสอน และ กีรติ จันทรมณี (2561). การศึกษาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนประถมศึกษาขนาดเล็กที่มีผลคะแนนการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐานสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 .บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ปัทมา ศรีอนทร์ และ สุขแก้ว คำสอน (2562). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้นกลุ่มสาระคณิคศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รร.พุทธชินราช โดยใช้แบบฝึกทักษะ .
อ้างอิง: ธัญญกมน โพธิ์พันธ์ และสุขแก้ว คำสอน (2562).เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกลุ่มสาระคณิตศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รร.พุทธชินราช โดยใช้กระบวนแก้ปัญหาของโพลยา
อ้างอิง: บุญญรัตน์ รังษีสุริยะชัย สุขแก้ว คำสอน และศิริวิมล ใจงาม. (2561) เรื่อง การพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตตามแนวจิตตปัญญาศึกษาของนักศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. พิษณุโลก วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561
อ้างอิง: ธีระศักดิ์ จุไรและ สุขแก้ว คำสอน.(2562). เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องรายรับรายจ่าย กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยใช้แบบฝึกทักษะ
อ้างอิง: ธัญวรรณ กลิ่นจันทร์ และสุขแก้ว คำสอน(2562).เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤมธิ์ทางการเรียนเรื่องการลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยใช้แบบฝึกทักษธ
อ้างอิง: ปัทมา ศรีอินทร์ และสุขแก้ว คำสอน.(2562).เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้นกลุ่มสาระคณิคศาสตร์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รร.พุทธชินราช โดยใช้แบบฝึกทักษะ
อ้างอิง: ธัญญกมล โพธิ์พันธ์ และ สุขแก้ว คำสอน .(2562).เรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวกลุ่มสาระคณิตศาสตร์นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รร.พุทธชินราช โดยใช้กระบวนแก้ปัญหาของโพลยา
อ้างอิง: นิกุล กองช้าง และ สุขแก้ว คำสอน.(2562). เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้สัญญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 โรงเรียนจ่าการบุญ โดยใช้แบบฝึกทักษะ
อ้างอิง: สุดารักษ์ ถนอมพวง และสุขแก้ว คำสอน .(2562).เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาปริมาตรและความจุของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 โรงเรียนจ่าการบุญ โดยใช้แบบฝึกทักษะ
อ้างอิง: ชัยวัฒน์ ยะหลวง และสุขแก้ว คำสอน.(2562). เรื่อง การศึกาษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องความยาวรอบรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 4 โรงเรียนจ่าการบุญโดยใช้แบบฝึกทักษะ
อ้างอิง: ธีระศักดิ์ จุไรและ สุขแก้ว คำสอน.(2562). เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องรายรับรายจ่าย กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยใช้แบบฝึกทักษะ
อ้างอิง: ธัญวรรณ กลิ่นจันทร์ และสุขแก้ว คำสอน(2562).เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤมธิ์ทางการเรียนเรื่องการลบจำนวนที่มีตัวตั้งไม่เกิน 100 กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยใช้แบบฝึกทักษธ
อ้างอิง: นิกุล กองช้าง และ สุขแก้ว คำสอน.(2562). เรื่อง การพัฒนาความสามารถในการใช้สัญญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ นักเรียนชั้นประถมปีที่ 3 โรงเรียนจ่าการบุญ โดยใช้แบบฝึกทักษ
อ้างอิง: ภูมินทร์ วันจันทร์ สุขแก้ว คำสอน และ ภคพล ปรีชาศิลป์ (2565).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์เรื่องทฤษฎีบทที่เกี่ยวกับคอร์ดของวงกลมนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนจ่าการบุญโดยการใช้โปรแกรมจีเอสพี ครุศาสตร์ศึกษา (11 มีนาคม 2565) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
อ้างอิง: ชฎาพร วิวรชัย สุขแก้ว คำสอน (2565).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระคณิตศาตร์เรื่องการแยกตัวประกอบของพหุนามดีกรีสูงกว่าสอง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้แบบฝึกทักษะ ครุศาสตร์ศึกษา (11 มีนาคม 2565) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
อ้างอิง: ปภากร โสประดิษฐ์ สุขแก้ว คำสอนและภคพล ปรีชาศิลป์ (2565).การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มวิชาคณิตศาตร์เรื่องโจทย์ปัญหาร้อยละของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก โดยใช้แบบฝึกทักษะ ครุศาสตร์ศึกษา (11 มีนาคม 2565) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
อ้างอิง: สวนีย์ เสริมสุข และ สุขแก้ว คำสอน .(2565).การศึกษาประสิทธิภาพการสอนตามการรับรู้ของนักศึกษาครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 16 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2565.
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน สุกัญญา สีสมบาและ สวนีย์ เสริมสุข (2564).การพัฒนากระบวนการเปลี่ยนแปลงมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา (ทุนงบประมาณแผ่นดิน จาก มรพส. ปี 64 : อยู่ในช่วงการดำเนินการ)
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และสวนีย์ เสริมสุข.(2563) การศึกษาองค์ประกอบพฤติกรรมจิตอาสาของนักศึกษาครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน สวนีย์ เสริมสุขและอุเทน ปุ่มสันเที๊ยะ.(2563) การพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิตจิตอาสาของเยาวชน ตามแนวพระราโชบาย.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข.(2562).การศึกษาประสิทธิภาพในการสอนตามการรับรู้ของนักศึกษาครูคณะครุศาสาตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน สวนีย์ เสริมสุข และ อุเทน ปุ่มสันเที๊ยะ.(2562). การพัฒนารูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการตามความคิดวิธีการแบบเปิดโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและความคิดรวบยอดผ่านองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2561 ). แนวทางการพัฒนาสภาพแวดล้อมในการเพิ่มคุณภาพการวิจัยในชั้นเรียนของครู. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ( TCI 1) ปีที่ 12 (ฉบับที่ 2 ) เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม หน้า 22 – 35
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข. (2561 ). การศึกษาสภาพและปัญหาการฝึกปฏิบัติในชุดวิชา “การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Internship 2)”วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ( TCI 2) ปีที่ 11 (ฉบับที่ 1 ) เดือน มกราคม-มิถุนายน หน้า 22 – 35
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข. (2561). การพัฒนาครูด้านการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อจัดกิจกรรมเสริมสร้างทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ให้กับนักเรียน ตามแนวคิดชุมชนการเรียนรู้วิชาชีพครู
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข. (2562). การพัฒนาความสามารถของครูในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เสริมสร้างทักษะในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนจากสื่อสารสนเทศภูมิปัญญาท้องถิ่น
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข. (2560 ). กลยุทธ์การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นแหล่งเรียนรู้ ตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก .วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ( TCI 2) ปีที่ 11 (ฉบับที่ 1 ) เดือน มกราคม-มิถุนายน หน้า 22 - 35
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ สวนีย์ เสริมสุข. (2560 ). การศึกษาความต้องการในการนิเทศตามการรับรู้ของนักศึกษา ชุดวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Internship2) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วารสาร veridian E-Journal. Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ ( TCI 1 ) ปีที่ 10 ฉบับที่ 3 เดือน กันยายน – ธันวาคม หน้า 1328 -1349
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน (2559). การประเมินความต้องการจำเป็นด้านการสร้างแบบทดสอบของครูสังกัดการศึกษานอกโรงเรียน จังหวัดพิษณุโลก. RAJABHAT JOURNAL OF SCIENCES , HUMANNITIES @ SOCIAL SCIENCES. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (TCI 1) ปีที่ 17 ( ฉบับที่ 1). 108 - 121
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ. (2560) . การพัฒนาครูด้านการวิจัยโดยผ่านกระบวนการแบบมีส่วนร่วมและภูมิปัญญาท้องถิ่น. (อยู่ในช่วงการดำเนินงานวิจัย ได้ทุนสนับสนุนงานวิจัย จาก วช. ปี 60 ช่วง 1 ตค. 59 ถึง 30 กย. 60)
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และ ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ (2558). การศึกษาคะแนนพัฒนาการความสามารถด้านการวิจัยของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ( TCI 2) ปีที่ 9 (ฉบับที่ 2) หน้า 29-50
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน. (2557). แนวทางการดำเนินกิจกรรมของแหล่งเรียนรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาวะของชุมชนจอมทอง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ( TCI 2 ) ปีที่ 7 (ฉบับที่ 1 ). หน้า 22 - 37
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน. (2556). การศึกษาความสามารถด้านการวิจัยของนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารครุศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ปี่ที่ 1 (ฉบับที่ 1)
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน. (2555). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเค้าโครงการวิจัยของนักศึกษาหลักสูตรสาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม โดยวิธีการสอนแบบ เอสทีเอดี (STAD). วารสารครุพิบูล คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 1 ฉบับที่ 1
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ. (2554). โครงการสร้างเสริมสุขภาวะเพื่อความอยู่ดีมีสุขโดยชุมชนท้องถิ่น จังหวัดพิษณุโลก พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2550 (2007)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ . (2549). การประเมินผลการจัดมหกรรมงานสร้างสุขภาคเหนือ “วิถีไทย วิถีธรรม นำสร้างสุข. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ. (2549). การประเมินผลโครงการบ้านเอื้ออาทรที่ก่อสร้างด้วยระบบชิ้นส่วนคอนกรีตสำเร็จรูป. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2549 (2006)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอนและคณะ . (2549). การศึกษาแนวทางการพัฒนาหลักสูตรปัจจุบันของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ . (2549). การวิเคราะห์อัตรากำลังข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2548 (2005)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ . (2548). การพัฒนาระบบการจัดการคุณภาพงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ . (2548). การวิเคราะห์กำลังแรงงานและคุณลักษณะบัณฑิตบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ในอนาคต. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2547 (2004)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ. (2547). การติดตามและเมินผลโครงการพัฒนาครูประจำการให้ได้รับวุฒิปริญญาตรีทางการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษาให้ได้รับประกาศนียบัตรทางการบริหารการศึกษา. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน.และคณะ (2547). การวางระบบติดตามประเมินผลการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน.และคณะ (2547). การวิจัยและพัฒนาครูและโรงเรียนร่วมพัฒนาวิชาชีพครู ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม .พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ . (2547). การวิจัยและพัฒนาชุดฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาและฝึกอบรมครู เรื่อง “การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้”.พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2546 (2003)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ. (2546). การประเมินโครงการนำร่องปฏิรูปการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดพิษณุโลก .พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2545 (2002)
อ้างอิง: สุขแก้ว คำสอน และคณะ. (2545). การประเมินติดตามการมีงานทำของบัณฑิต คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการยกระดับการประกันคุรภาพ สู่เกณฑ์ AUN-QA
อ้างอิง: การออกแบบหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ในยุคติจิทัล
อ้างอิง: การพัฒนางานตามภารกิจหลักสู่งานวิจัย (R to R)
อ้างอิง: การเขียนขอจริยธรรมวิจัยใมนุยษ์ลงในแบบฟอร์ม
อ้างอิง: การเตรียมความพร้อมในการจัดทำผลงานวิชาการด้านการรับใช้สังคมและท้องถิ่น
อ้างอิง: การพัฒนาผู้ประเมินภายนอกระดับการศึกษาอาชีวะศึกษาของ สมศ.
อ้างอิง: หลักการเขียน Protocal/ICF
อ้างอิง: ทักษะการเป็นวิทยากร
อ้างอิง: แนวทางการพัฒนาหลักสูตรตามหลักการของ OBE
อ้างอิง: การเตรียมความพร้อมเข้าสู่มหาวิทยาลัยกลุ่ม 2
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การอบรมเกี่ยวกับแนวทางการทำผลงานเพื่อเลื่อนวิทยฐานะของครู ตามแนวทางของ ก.ค.ศ
อ้างอิง: การอบรมเกี่ยวกับองค์ประกอบและตัวชี้วัด และแนวทางการประเมิน.ของการประเมินภายนอกระดับหลักสูตรอาชีวะศึกษา ของ สมศ.
อ้างอิง: การวิจัยเกี่ยวกับสัตว์
อ้างอิง: แนวทางการเขียนรายงานการประกันคุณภาพระดับหลักสูตร รอบ 6 เดือน
อ้างอิง: การเตรียมความพร้อมในการทบทวนแผน-โครงการปีงบประมาณ 2566
อ้างอิง: เทคนิกการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์และไฮบริค
อ้างอิง: แนวทางการปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางของ สกอ.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: จริยธรรมวิจัยในมนุษย์ (8 มกราคม 2563 )
อ้างอิง: ผู้ประเมินระดับหลักสูตร ตามหลักสูตรของ สกอ. (13 - 14 มกราคม 2563)
อ้างอิง: ผู้ประเมินระดับคณะ ตามหลักสูตรของ สกอ. (23 - 24 มกราคม 2563)
อ้างอิง: วิทยากรหลักในการอบรมครู เกี่ยวกับ PISA (3 - 5 กพ. 2563)
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการการพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนต้นโดยใช้เทคนิก STAD และเทคนิค STD
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาทักษะการจัดการเรียนรู้ของครูเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ชื่อโครงการ: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาสมรรถนะครูประจำการด้านการวิจัยปฏิบัติการวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อโครงการ: โครงการเพิ่มศักกยภาพครูให้มีสมรรถนะของครูยุคใหม่สำหรับการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21และร่วมมือกับสถาบันการส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: โครงการเรียนรู้คณิตศาสตร์แนวใหม่เปิดหัวใจเด็กให้หาคำตอบ โรงเรียนบ้านนำ้โจน สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3
ชื่อโครงการ: โครงการเรียนรู้คณิตศาสตร์แนวใหม่เปิดหัวใจเด็กให้หาคำตอบ โรงเรียนบ้านนำ้คบ สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3
ชื่อโครงการ: โครงการเรียนรู้คณิตศาสตร์แนวใหม่เปิดหัวใจเด็กให้หาคำตอบ โรงเรียนบ้านวัดโบสถ์(บำรุงวุฒิวิทยา) สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา พิษณุโลก เขต 3
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาศักยภาพครูด้านการประเมินเพื่อวินิจฉัยสำหรับการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียน โรงเรียนหนองกุลา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาศักยภาพครูด้านการสร้างแบบทดสอบตามแนวแบบทดสอบระดับชาติ (NT) โรงเรียนวัดยาง(มีมานะวิทยา) อ.เมืองจ.พิษณุโลก
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มรพส.
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสาตร์ มรพส.
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับคณะ คณะวิทยการจัดการ มรพส.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับคณะ คณะวิทยการจัดการ มรพส.
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตร สาขาวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสาตร์ มรพส.
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารจัดการธุรกิจ คณะวิทยการจัดการ มรพส.
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารจัดการธุรกิจ คณะวิทยการจัดการ มรพส.
ชื่อโครงการ: คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรระดับปริญญาโท สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ คณะครุศาสตร์ มรพส.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: เรื่อง ศิลปะการสร้างแบบทดสอบ วันที่ 29 พฤษภาคม 2562 ณ. วิทยาลัยสิรินทร อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
ชื่อโครงการ: เรื่อง การวิจัยเชิงปริมาณ. วันที่ 28 พฤษภาคม 2562 ในโครงการอบรมลูกไก่ของ วช. ณ.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อโครงการ: เรื่อง สมรรถนะในศตวรรษที่ 21 วันที่ 15 มิ.ย 62 ณ.คณะครุศาสตร์ อบรมให้ความรู้ครู รร.วัดจอมทอง และ รร.วัดตาปะขาวหาย
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการประเมินเพื่อเลื่อนวิทยฐานะ ว.PA ของ สกศ.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ประเมินภายนอก ของ สมศ. ระดับการศึกาาอาชีวะศึกษา
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้แทนสมาชิกสหกรณ์ครู (มหาวิทยาลัยราชภัฏ) จังหวัดพิษณุโลก (หลายสมัยติดต่อกัน ตั้งแต่ปี 2554-2563)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: นายกสโมสรบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้แทนคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิลูลสงคราม
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กองบรรณาธิการวารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ตั้งแต่ปี พ.ศ 2555 - 2563)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กองบรรณาธิการ วารสาร ครุศึกษา (คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กองบรรณาธิการ วารสาร J-VET สถาบันการอุดมศึกษา ภาคเหนือ 3
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กองบรรณาธิการ วารสาร Rajabhat Journal Sciences , Humanities & Social ( มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ( 2 สมัย คือปี 2555-2558)
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อหนังสือ: สุขแก้ว คำสอน.(2562) การประกันคุณภาพการศึกษา.พิษณุโลก.คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อหนังสือ: สุขแก้ว คำสอน (2561).การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้.พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อหนังสือ: สุขแก้ว คำสอน. (2559) การวิจัยเชิงประเมิน: ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ.กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
ชื่อหนังสือ: สุขแก้ว คำสอน. (2559) การวัดพุทธิพิสัย.พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อหนังสือ: สุขแก้ว คำสอน. (2559) เครื่องมือการวิจัยและวัดผลการศึกษา : แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2549 (2006)
ชื่อหนังสือ: สุขแก้ว คำสอน. (2549) หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา.พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อหนังสือ: สุขแก้ว คำสอน. (2549) ทฤษฎีการวัดและการทดสอบ.พิษณุโลก คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อรางวัล: อาจารย์ผู้สอนดีเด่นสาขาวิชาครุศาสตร์ ทุนบุญถิ่น อัตถากร ระดับประเทศ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: ศิษย์เก่าดีเด่น (ด้านการวิจัย) ประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูสงคราม
ชื่อรางวัล: ข้าราชการพลเรือนดีเด่น ประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: นักวิจัยดีเด่นด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อรางวัล: นักวิจัยดีเด่นสายมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.