|
 |
|
ชื่อ-นามสกุล |
อาจารย์พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์ Mrs. Phantida Limsripraphan |
ตำแหน่ง: อาจารย์ |
สังกัดหน่วยงาน:
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม |
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน:
- |
อีเมล์: phantida.l@psru.com |
|
|
|
|
|
ลำดับการศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
ปีการศึกษาที่จบ |
1 |
วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2546 |
2 |
วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2543 |
|
|
|
|
|
Web Application Development, Information system development |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์ |
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
วัชระ กลางกระโทก, ชิตณรงค์ เพ็งแตง, พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, วชิระ ลิ้มศรีประพันธ์. (2567). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคําสั่งซื้อในธุรกิจค้าส่งอาหารสด. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามปีที่ 6 ฉบับที่ 3, 425-434. https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/psru-jite/article/view/257048. |
|
 |
อ้างอิง: |
พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, พีรพล คำพันธ์, นันทพร สระทองปาน และชิตณรงค์ เพ็งแตง. (2562). อัลกอริทึมสำหรับกำรคัดแยกมะม่วงด้วยการประมวลผลภาพและนาอีฟเบย์. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 12(1), 112-125. |
|
 |
อ้างอิง: |
พีรพล คำพันธ์, อรณิช ปีแหล่, พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์. (2561). การรู้จำรูปพระพุทธรูปด้วยเอสไอเอฟทีและเอสวีที. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 8(2), 94 – 101. |
|
- |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ |
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
Suchart Y. & Phantida L. (2024, 24-26 July). A Novel Algorithm for Facial Expression Identification Using One-Level Linear Decomposition Transforms. [Paper presentation]. The International Conference on Multidisciplinary Research Trends in the Greater Mekong Subregion (ICGMS2024). Royal Nakhara Hotel and Convention Centre, Nong Khai, Thailand. |
|
 |
อ้างอิง: |
พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, วชิระ ลิ้มศรีประพันธ์, นรเศษฐ์ ธนธัญกุล, ชัยรัตน์ เพิ่มพล และและศราวุฒิ จันทร์จอม. (2565). ห้องประชุมอัจฉริยะด้วยเทคโนโลยี RFID และ IoT. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย ครั้งที่ 10 คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา. วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565. ชลบุรี, หน้า 2276. |
|
 |
อ้างอิง: |
วชิระ ลิ้มศรีประพันธ์, พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, เมธานันท์ เนียมเปี่ยม, และตะวัน เสริมสุข. (2565). การพัฒนาระบบสั่งการเคลื่อนที่รถเข็นไฟฟ้าผู้สูงอายุด้วยเสียง บนระบบสมองกลฝังตัวต้นทุนต่ำ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับปริญญาตรีด้านคอมพิวเตอร์ภูมิภาคเอเชีย ครั้งที่ 10 คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา. วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565. ชลบุบรี, หน้า 668. |
|
 |
อ้างอิง: |
พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, วชิระ ลิ้มศรีประพันธ์ และ สมเจตน์ ทองดี (2563). การประยุกต์ใช้ระบบสมองกลฝังตัวสำหรับพัฒนาระนาดต้นแบบเพื่อส่งเสริมการเล่นดนตรีไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลสงครามวิจัย" ครั้งที่ 6. วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563, พิษณุโลก, 656-665. |
|
 |
อ้างอิง: |
อมรรัตน์ ผลนา, พีรพล คำพันธ์, พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์ และจิรารัตน์ เอี่ยมสอาด. (2561). อัลกอริทึมการคัดแยกภาพด้วย Bag of Word เพื่อระบบรักษาความปลอดภัย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4. วันที่ 23 มีนาคม 2561. พิษณุโลก, 419 – 424. |
|
 |
อ้างอิง: |
อรณิช ปีแหล่, นันทพร สระทองปาน, จิรารัตน์ เอี่ยมสะอาด และพันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์ (2561). การออกแบบเว็บไซต์เพื่อการท่องเที่ยวโดยใช้ NOSTRA Map APIs, รายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4. วันที่ 23 มีนาคม 2561. พิษณุโลก, 399-407. |
|
 |
อ้างอิง: |
ณัฐพงศ์ พรสุทธิพันธุ์, พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, จิรารัตน์ เอี่ยมสอาด และชิตณรงค์ เพ็งแตง (2561). การประยุกต์ใช้ Deep learning เพื่อคัดแยกภาพ ชาย-หญิง, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4. วันที่ 23 มีนาคม 2561. พิษณุโลก, 433-439. |
|
 |
อ้างอิง: |
นันทพร สระทองปาน, ธัญญาภรณ์ มูลอนันต์, จิรารัตน์ เอี่ยมสอาด และพันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์. (2560). เทคนิคการประมวลผลภาพเพื่อคัดแยกสายไทยด้วย BRISK. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. วันที่ 20 - 21 กรกฎาคม 2560. มหาสารคาม, 109 – 113. |
|
 |
อ้างอิง: |
พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, “การสร้างระบบอัตโนมัติสำหรับการปลูกพืชแบบไม่ใช้ดินในลักษณะโรงเรือนเพื่อส่งเสริมศักยภาพของชุมชนสู่การเกษตรแบบยั่งยืน”, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัย 2558”, (2014). |
|
 |
อ้างอิง: |
พันธุ์ธิดา ลิ้มศรีประพันธ์, “การพัฒนาสื่อการสอนออนไลน์เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้ของนักศึกษารายวิชาโครงสร้างข้อมูลและเทคนิคการโปรแกรมคอมพิวเตอร์”, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัย 2558”. (2014). |
|
 |
อ้างอิง: |
Thaweesak Tanaram, Wachira Liceprapan, Phantida Limceprapan, Nuttee Thungsuk,Areckarnkit Chaithanakul , “Development of Electrical Generation System for Small Scale Pig Farm in Thailand Rural Area”, The Asian Conference on Sustainability, Energy and the Environment (in Osaka Japan), (2012). |
|
-
|
|
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
โครงการบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผลการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ในเขตพื้นที่จ.พิษณุโลก และจ.สุโขทัย |
|
|
|
|
|
|
 |
อ้างอิง: |
สัมมนาทางวิชาการ เรื่อง ภารกิจกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสู่การสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน |
|
 |
อ้างอิง: |
หลักสูตร การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#2 |
|
 |
อ้างอิง: |
การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE รุ่น มรพส.#2 |
|
 |
อ้างอิง: |
หลักสูตร "คณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน รุ่นที่ 7" |
|
 |
อ้างอิง: |
Didital Transformation สร้างแนวคิดผู้ประกอบการใหม่ |
|
 |
อ้างอิง: |
ฝึกอบรมออนไลน์ หัวข้อ "Agile & Scrum 101" : โดย บริษัท True Corporation |
|
 |
อ้างอิง: |
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับหลักสูตร) : โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทร์เกษม |
|
 |
อ้างอิง: |
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์อัตโนมัติด้วยระบบวิชั่น : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ |
|
 |
อ้างอิง: |
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิค Data Mining : โดย บริษัท Data Cube |
|
 |
อ้างอิง: |
โครงการฝึกอบรบหลักสูตรนวัตกรรมขยะวิทยา : โดยบริษัทวงษ์พาณิชย์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด |
|
 |
อ้างอิง: |
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับหลักสูตร) : โดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา |
|
 |
อ้างอิง: |
ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ LabVIEW Embedded for Raspberry Pi : โดย บจก. คิวเวฟ ซิสเต็มส์ จำกัด |
|
|
|
|
|
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการพัฒนาแอปพลิเคชันส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนพื้นที่จังหวัดสุโขทัย (พื้นที่นำร่อง : ชุมชนบ้านทุ่งหลวง ต.ทุ่งหลวง อ.คีรีมาส จ.สุโขทัย) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนดิจิทัลบ้านทุ่งหลวง เพื่อรองรับสังคมศตวรรษที่ 21
กิจกรรม : การพัฒนาแอพพลิเคชั่นส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน กรณีศึกษาวิทยาลัยใต้ถุนบ้าน
ต.ทุ่งหลวง อ.คีรีมาส จ.สุโขทัย (ระยะที่ 1) |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร : โครงการพัฒนาศักยภาพครูและบุคลากร ด้านการเขียนรายงานผลการดำเนินโครงการแบบมืออาชีพ
หน่วยงานที่รับบริการ : ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย อ.เมืองสุโขทัย |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร : ฝึกอบรมโครงการอุดมศึกษาพี่เลี้ยงเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านวิทยาการคำนวณ ในหัวข้อ "การเขียนโปรแกรมภาษา Python" รุ่นที่ 3 และ 4, ผู้รับบริการ : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ห้อง สอวน. จากโรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม |
|
 |
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร : ฝึกอบรมอบรบการเขียนโปรแกรมภาษา python เบื้องต้น และ microPython บนบอร์ด KidBright (ESP32) ในโครงการส่งเสริมการเรียนรู้และพัฒนาด้านทักษะเทคโนโลยีสารสนเทศ, ผู้รับบริการ : บุคคลากรด้านการศึกษาโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเทศบาลพิษณุโลก |
|
|
|
|
|
|
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล |
|
|
|
|
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน |
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง |
|
|
|
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ |
|
|
|
|