ชื่อ-นามสกุล
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ  
 Asst. Prof. Donyarit Settasuwacha
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: donyarit@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553
2 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2549
 
ความเชี่ยวชาญ
Road Safety Engineering, Transportation and Traffic Engineering, Highway Design and Construction
 
ความสนใจ
Urban Design and Planning, Traffic Psychology and Behaviour, Black Spot Identification, Accident Analysis and Prevention, In-Depth Accident Investigation
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และศุจินธร ทรงสิทธิเดช. (2566). การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมชุมชนเพื่อส่งเสริมด้านความปลอดภัยทางถนน กรณีศึกษา โครงการถนนปลอดภัยด้วยหลักวิศวกรรม ต.พลายชุมพล จ.พิษณุโลก. วารสารเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, ปีที่ 13, ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566, 43-56. จาก https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/jitubru/article/view/244888
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, ศุจินธร ทรงสิทธิเดช, วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, บุญพล มีไชโย และทวีศักดิ์ แตะกระโทก. (2566). การจัดการความปลอดภัยทางถนนบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 กรณีศึกษาเส้นทางท่องเที่ยว จังหวัดพิษณุโลก – จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, ปีที่ 16, ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566, 61-79. จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSH/article/view/260352
อ้างอิง: Songsittidet,S. and Settasuwacha, D. (2023). A STUDY OF CARBON EMISSIONS IN TRAVELING: CASE STUDY OF PHISANULOK MUNICIPALITY. Life Sciences and Environment Journal, 24(2), 412-429. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/psru/article/view/252641/171462
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, ศุจินธร ทรงสิทธิเดช, และวรรณิกา ขันคํานันต๊ะ. (2566). การศึกษามาตรการลดความเร็วบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 กรณีศึกษา แยกบ้านกร่าง – แยกอินโดจีน จังหวัดพิษณุโลก. PSRU Journal of Industrial Technology and Engineering, ปีที่ 5, ฉบับที่ 3, 298-314. จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/psru-jite/article/view/248719
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: บุญพล มีไชโย, ศุจินธร ทรงสิทธิเดช และดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2564). การประยุกต์ใช้เทคนิคการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนเพื่อพัฒนาแผนที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมในจังหวัดพิษณุโลก. PSRU Journal of Industrial Technology and Engineering, ปีที่ 3, ฉบับที่ 3, 10 - 28. จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/psru-jite/article/view/244759
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และบุญพล มีไชโย. (2563). การประเมินความปลอดภัยทางถนนบนเส้นทางท่องเที่ยว กรณีศึกษา: ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (จังหวัดพิษณุโลก - อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์). PSRU Journal of Industrial Technology and Engineering, ปีที่ 2, ฉบับที่ 2, 79 - 92. จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/psru-jite/article/view/241458
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2562). การประเมินความปลอดภัยทางถนนภายในสถานศึกษาที่พึ่งชุมชน กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ส่วนทะเลแก้ว จังหวัดพิษณุโลก. Naresuan University Engineering Journal (NUEJ), Vol.14, No.1, January – June 2019, 61 - 76. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/nuej/article/view/134222
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Settasuwacha, D. (2018). The Assessment of Accident Risk at Highway-Railway Grade Crossing (HRGC): A Case Study of Khlong Ngae-Khuan Niang Train Station, Songkhla Province, Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social sciences (Rajabhat J. Sci. Humanit. Soc. Sci.). Vol. 19, No. 1, 99-110.
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฏา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และนัฐพร นวกิจรังสรรค์. (2561). การพัฒนาแบบจำลองฟัซซีแรนดอมยูทิลิตีสำหรับการเลือกรูปแบบการเดินทางด้วยระบบรางของนักท่องเที่ยวระหว่างเมืองในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน:กรณีศึกษา รถไฟทางคู่สายเด่นชัย–เชียงราย.วารสารปาริชาต, ปีที่ 31, ฉบับที่ 3, 187-197.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Settasuwacha, D., Luathep, P., and Taneerananon, P. (2017). Investigation of Approaching Speed at Highway-Railway Grade Crossings: Songkhla Case Study. Naresuan University Engineering Journal (NUEJ), Vol. 12, No. 1, 09-16. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/nuej/article/view/71737
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฏา โพธิ์จันทร์ และวชิระ วิจิตรพงษา. (2559). การศึกษาความปลอดภัยทางถนนในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษาอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน. ศรีวนาลัยวิจัย, ปีที่ 6, ฉบับที่ 1, 129-141.
อ้างอิง: เจษฏา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และวชิระ วิจิตรพงษา. (2559). การวิเคราะห์หาสัดส่วนการลงทุนตามพันธกิจเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศ โดยใช้การเปรียบเทียบเชิงคู่ และการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น. ศรีวนาลัยวิจัย, ปีที่ 6, ฉบับที่ 2, 1-10.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Settasuwacha, D., Luathep, P. (2013). A Review of Highway-Railway Grade Crossing (HRGC) Safety Countermeasure. Journal of Society for Transportation and Traffic Studies (JSTS), Vol. 4, Issue 3, 10-19.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: Aung, H. Y., Settasuwacha, D. (2012). Awareness of Urban Transportation Sustainability: A Case Study in Bangkok, Thailand. Journal of Society for Transportation and Traffic Studies (JSTS), Vol. 3, Issue 3, 20-31.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: เยาวภา สีทอง, บุญพล มีไชโย, พลปรีชา ชิดบุรี, ทวีศักดิ์ แตะกระโทก และดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2566). การใช้เทคนิคผสมผสาน RSA และ iRAP เพื่อยกระดับความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่ท่องเที่ยว. การประชุมการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28, ภูเก็ต, TRL38-1-TRL38-9.
อ้างอิง: ฐิติชญา สระทองแมว, บุญพล มีไชโย, พลปรีชา ชิดบุรี, ทวีศักดิ์ แตะกระโทก และดลยฤทธิ์ เสฎฐสุวจะ. (2566). การประเมินความปลอดภัยทางถนนในพื้นที่ท่องเที่ยวชายทะเลด้วยเทคนิคการประเมินระดับดาวของ iRAP. การประชุมการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28, ภูเก็ต, TRL37-1-TRL37-8.
อ้างอิง: วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, ทวีศักดิ์ แตะกระโทก, ทิพย์วิมล แตะกระโทก, บุญพล มีไชโย และดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2566). การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ความเร็วของยานพาหนะตามกฎหมาย 120 กม./ชม. ระหว่างทางหลวงหมายเลข 32 กับทางหลวงพิเศษหมายเลข 7. การประชุมการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28, ภูเก็ต, TRL22-1-TRL22-6.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. การจัดทำแผนที่จุดเสี่ยงอันตรายทางถนนสำหรับเส้นทางท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงใหม่, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, อุดรธานี;
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. การศึกษาพฤติกรรมการใช้ความเร็วของผู้ขับขี่ยานพาหนะบนเส้นทางท่องเที่ยว กรณีศึกษาทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 (จ.พิษณุโลก – จ.เพชรบูรณ์), การประชุมวิชาการ The 6th Engagement Thailand Annual Conference 2019, อุตรดิตถ์;
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และวชิระ วิจิตรพงษา. การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4, พิษณุโลก;
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. การศึกษาความปลอดภัยทางถนนบริเวณทางโค้งแนวราบภายในสถานศึกษา กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จ.พิษณุโลก, การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 14, พิษณุโลก;
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา และกฤษณะ กลิ่นดี. การศึกษาพฤติกรรมการใช้ความเร็วของรถยนต์ส่วนบุคคลเมื่อขับผ่านจุดตัดทางรถไฟ: กรณีศึกษาเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 3, มหาสารคาม;
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: สัจจากาจ จอมโนนเขวา, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และวชิระ วิจิตรพงษา. โมเดลการวัดคุณภาพการให้บริการรถขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม: การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน, การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 2, ภูเก็ต;
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และเจษฎา โพธิ์จันทร์. แบบจำลองการประเมินโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งในเขตพื้นที่ชายแดน: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงราย, การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 2, ภูเก็ต;
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, บุญพล มีไชโย และทวีศักดิ์ แตะกระโทก. การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน: กรณีศึกษาอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน, การประชุมวิชาการราชภัฏวิจัย ครั้งที่ 3 (INARCRU III), นครศรีธรรมราช;
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, บุญพล มีไชโย และทวีศักดิ์ แตะกระโทก. การประยุต์ใช้แผนที่จุดเสี่ยง ฮิยาริ ฮัตโตะ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุทางถนน: กรณีศึกษา อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน, การประชุมวิชาการการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 10, เชียงใหม่;
อ้างอิง: Donyarit Settasuwacha. The Comparison of Highway-Railway Grade Crossing (HRGC) Safety Situation through Developed Country, Proceedings 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (ISEEC), Phitsanulok, Thailand;
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และสุรเชษฐ์ วรรณา. การพัฒนารายการตรวจสอบความปลอดภัยบริเวณจุดตัดทางรถไฟในประเทศไทย, การประชุมวิชาการนเรศวรวิจัย ครั้งที่ 10, พิษณุโลก;
อ้างอิง: D. Settasuwacha, S. Songsittidet, S. Wanna, K. Klindee. Highway-Railway Grade Crossing (HRGC) Safety Audit: A Case Study of HRGC in Phitsanulok Province, Proceedings ATRANS Symposium, Bangkok, Thailand;
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: D. Settasuwacha, P. Luathep, P. Taneerananon. Highway-Railway Grade Crossing (HRGC) Crash Scene Investigation: A Case Study of Southern Thailand, Proceedings NCCE Conference, Chiang Mai, Thailand;
อ้างอิง: D. Settasuwacha, P. Luathep, P. Taneerananon. A study of Human Behavior at Highway-Railway Grade Crossing (HRGC) in Thailand, Proceedings EASTS Conference, Taipei, Taiwan;
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: D. Settasuwacha, P. Luathep, P. Taneerananon. A Review of Highway-Railway Grade Crossing (HRGC) Safety Countermeasure, Proceedings APTE Conference, Songkla, Thailand;
อ้างอิง: D. Settasuwacha, P. Luathep, P. Taneerananon. Highway-Railway Grade Crossing Accident Cost in Thailand, Proceedings ATRANS Symposium, Bangkok, Thailand;
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: ขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์)
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาระบบขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: การประเมินผลกระทบทางสังคม (SIA) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน "AUN-QA implementataion and Gap Analysis" สำหรับหลักสูตรที่เข้ารับการประเมินด้วยเกณฑ์ AUN-QA
อ้างอิง: การควบคุมงานตอกเสาเข็มและทำเสาเข็มเจาะ และการควบคุมงานการก่อสร้างถนน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Backward Curriculum Design)
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation)
อ้างอิง: การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA7 และการจัดทำบรรณานุกรมด้วยโปรแกรม EndNote Web & Zotero
อ้างอิง: การวางแผนการลงทุนการเงินส่วนบุคคลและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการออกแบบหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
อ้างอิง: โครงการอบรมและพัฒนาทักษะ Digital Literacy ของบุคลากร (รุ่นที่ 2)
อ้างอิง: โครงการอบรมพัฒนาระบบการบริหารจัดการเว็บไซต์ของหน่วยงานในมหาวิทยาลัย
อ้างอิง: AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 รุ่นที่ 13
อ้างอิง: การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบ Team Teaching
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงร่างองค์กร (OP) และ KPI ผลลัพธ์ หมวดที่ 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (EdPEx)
อ้างอิง: Smart Sustainable City
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: พื้นฐานงานคอนกรีต โครงสร้าง ดิน และฐานราก ที่วิศวกรโยธาควรทราบ, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประเทศไทย, 1 ตุลาคม 2565.
อ้างอิง: IC3 Digital Literacy (GS6 LEVEL 1). Pibulsongkram Rajabhat University, 12 - 13 January 2022.
อ้างอิง: การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก, มหาวิทยาลัยบูรพา, 5 กรกฎาคม 2565
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการเขียนตำรา หนังสือ และบทความวิจัยสำหรับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 25 พฤศจิกายน 2565.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: การออกแบบเพื่่อทุกคนสำหรับห้องสมุด (Universal Design for Library), หลักสูตรสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1 ตุลาคม 2564.
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ รองศาสตราจารย์หน้าใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์มืออาชีพ, คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 25-27 ตุลาคม 2564.
อ้างอิง: โครงการยกระดับมาตรฐานการศึกษา AUN-QA (ASEAN University Network Quality Assurance), กองนโยบายและแผน, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 16 พฤศจิกายน 2564.
อ้างอิง: คณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน รุ่นที่ 2, สมาคมสหกิจศึกษาไทย, 20-22 กันยายน 2564.
อ้างอิง: มาตรฐานการบริหารความปลอดภัย และประเมินความเสี่ยงในโรงงานอุตสาหกรรม รุ่นที่ 6, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 25 มิถุนายน 2564.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: เทคนิคการออกแบบและก่อส้รางอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, Thai MOOC, 26 เมษายน 2563.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Advance Road Safety Audit, Krabi, Thailand, 21-24 July 2019.
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมเพื่อเตรียมรับรองเป็นผู้ตรวจสอบความปลอดภัยงานทาง รุ่นที่ 21 - 22, พระนครศรีอยุทธยา, ประเทศไทย, 4 - 6 กันยายน 2562.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาหลักสูตรการสืบสวนอุบัติเหตุเชิงลึกและการพัฒนาบุคลากรด้านความปลอดภัย, กรมการขนส่งทางบก, กระทรวงคมนาคม, ประเทศไทย 9-11 พฤษภาคม 2560.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Workshop on Urban Design of Roads - Comparison of German and Thai approach, Department of Civil Engineering, Chiang Mai University, Thailand, May 2013.
อ้างอิง: Workshop on Highway Capacity Analysis: Basic Freeway Segment, Multilane Highway, and Two-Lane Highway, Department of Civil and Infrastructure Engineering, AIT, Thailand, September 2013.
อ้างอิง: Workshop on Road Classification and Self-Explaining Roads in Various Countries, Department of Urban Environmental Planning and Development, Thammasat University, Thailand, September 2013.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: Workshop on Analyzing the Effects of Safety Measure, Department of Transport Infrastructure and Municipal Engineering, Széchenyi István University, Győr, Hungary, November 2012.
อ้างอิง: Workshop on Identification and Treatments of Roadside Hazard Locations, Department of Transport infrastructure and Municipal Engineering, Széchenyi István University, Győr, Hungary, November 2012.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: Workshop on Road Infrastructure Safety Management (RISM) in Europe – an overview and Road Safety Impact Assessment for The Infrastructure Projects, Department of Civil Engineering, Prince of Songkla University, Thailand, September 2011.
อ้างอิง: Workshop on Road Safety Impact Assessment for infrastructure projects, Department of Civil Engineering, Prince of Songkla University, Thailand, September 2011.
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน (เมืองปั่นได้เมืองปั่นดี) เทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน
ชื่อโครงการ: โครงการท้องถิ่นร่วมใจ สร้างชุมชนใช้รถใช้ถนนปลอดภัย จังหวัดพิษณุโลก
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการสาขาภาคเหนือ 2 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ประจำปี พ.ศ. 2566 - 2568
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อหนังสือ:
วิศวกรรมขนส่ง TRANSPORTATION ENGINEERING
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อรางวัล: Silver Medal Winner for Oral Presentation, The 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC 2015), Phitsanulok, Thailand
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อรางวัล: Outstanding Presentation Award, The 10th EASTS International Conference 2013, Taipei, Taiwan
ชื่อรางวัล: รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ประกวดผลงานวิชาการประเภทงานวิจัย, การสัมมนาระดับชาติ ครั้งที่ 11 เรื่องความปลอดภัยทางถนน "สิทธิคนไทยกับมาตรฐานความปลอดภัยทางถนน", กรุงเทพ
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การอบรมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน "AUN-QA implementataion and Gap Analysis" สำหรับหลักสูตรที่เข้ารับการประเมินด้วยเกณฑ์ AUN-QA
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การเขียนอ้างอิงบรรณานุกรมตามรูปแบบ APA7 และการจัดทำบรรณานุกรมด้วยโปรแกรม EndNote Web & Zotero
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Backward Curriculum Design) รุ่น มรพส#1
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#1
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การวางแผนการลงทุนการเงินส่วนบุคคลและกองทุนสำรองเลี้ยงชีพมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการออกแบบหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอนในยุคดิจิทัล
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการอบรมและพัฒนาทักษะ Digital Literacy ของบุคลากร (รุ่นที่ 2)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: PSRU Digital Test ภายใต้กิจกรรมโครงการอบรมและพัฒนาทักษะ Digital Literacy ของบุคลากร ให้มีทักษะเพียงพอต่อการพัฒนา Smart University
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการอบรมพัฒนาระบบการบริหารจัดการเว็บไซต์ของหน่วยงานในมหาวิทยาลัย
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 รุ่นที่ 13
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนโครงร่างองค์กร (OP) และ KPI ผลลัพธ์ หมวดที่ 7 ตามเกณฑ์คุณภาพการศึกษาเพื่อการดำเนินงานที่เป็นเลิศ (EdPEx)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: Smart Sustainable City
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: IC3 Digital Literacy (GS6 LEVEL 1). Pibulsongkram Rajabhat University, 12 - 13 January 2022.
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: พื้นฐานงานคอนกรีต โครงสร้าง ดิน และฐานราก ที่วิศวกรโยธาควรทราบ, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ประเทศไทย, 1 ตุลาคม 2565.
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการคมนาคมขนส่งในระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการเขียนตำรา หนังสือ และบทความวิจัยสำหรับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 25 พฤศจิกายน 2565.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: สถาปัตยกรรมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน ภาคบทบาทของประชาชน, 9 พฤษภาคม 2564, Thai MOOC
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: "มุ่งเป้าสู่การพัฒนานักวิจัยบนเส้นทางความก้าวหน้าทางวิชาการที่สูงขึ้น" EP.1 เคล็ดลับที่ไม่ลับ! การขอทุนวิจัยระบบใหม่ และเทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการให้ตอบโจทย์ แหล่งทุนวิจัยของประเทศ, 7 พฤษภาคม 2564, กองการวิจัยและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: "มุ่งเป้าสู่การพัฒนานักวิจัยบนเส้นทางความก้าวหน้าทางวิชาการที่สูงขึ้น" EP.2 ต้องรู้! สาระสำคัญ: หลักเกณฑ์และวิธีพิจารณาการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการระบบใหม่, 14 พฤษภาคม 2564, กองการวิจัยและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: "มุ่งเป้าสู่การพัฒนานักวิจัยบนเส้นทางความก้าวหน้าทางวิชาการที่สูงขึ้น" EP.3 เรียนรู้! เทคนิคการเขียนเอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน และตำราทั่วไปให้เข้าใน, 21 พฤษภาคม 2564, กองการวิจัยและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: "มุ่งเป้าสู่การพัฒนานักวิจัยบนเส้นทางความก้าวหน้าทางวิชาการที่สูงขึ้น" EP.4 เฟ้นหาเคล็ดลับ! การทำงานวิจัย การเขียนบทความวิจัย ตำรา และหนังสืออย่างไร? ให้ประสบความสำเร็จและสามารถเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ: ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 28 พฤษภาคม 2564, กองการวิจัยและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: มาตรฐานการบริหารความปลอดภัย และประเมินความเสี่ยงในโรงงานอุตสาหกรรม รุ่นที่ 6, 25 มิถุนายน 2564, วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: คณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน รุ่นที่ 2, 20-22 กันยายน 2564, สมาคมสหกิจศึกษาไทย
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การออกแบบเพื่่อทุกคนสำหรับห้องสมุด (Universal Design for Library), 1 ตุลาคม 2564, หลักสูตรสาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: อบรมเชิงปฏิบัติการ รองศาสตราจารย์หน้าใหม่ ผู้ช่วยศาสตราจารย์มืออาชีพ, 25-27 ตุลาคม 2564, คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการยกระดับมาตรฐานการศึกษา AUN-QA (ASEAN University Network Quality Assurance), 16 พฤศจิกายน 2564, กองนโยบายและแผน, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design), 30 มิถุนายน 2563, CHULAMOOC
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: เทคนิคการออกแบบและก่อส้รางอาคารที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม, 26 เมษายน 2563, Thai MOOC
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ผู้ตรวจสอบความปลอดภัยงานทางระดับต้น (Inspector) ของกรมทางหลวงชนบท รุ่นที่ 21, วันที่ 4 - 6 กันยายน 2562
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับหัวหน้างาน, 19-20 สิงหาคม 2562, มหาวิทยาลัยนเรศวร
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: Advance Road Safety Audit, 23-24 July 2019, Vicroads
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ฝึกอรมหลักสูตรเพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งทางวิชาชีพครู, 6 กรกาคม - 25 สิงหาคม 2558, คณะครุศาสตร์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.