ชื่อ-นามสกุล
 อาจารย์เคลน บุณยานันต์  
 Mr. Klen Boonyanant
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055230597
อีเมล์: klen.b@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ค.ม. (อุดมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2563
2 ศษ.บ. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2561
3 ศป.บ. (ดนตรีสากล) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2558
4 ศศ.ม. (วิทยาการดนตรีและนาฏศิลป์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2557
5 ศษ.บ. (เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2556
6 ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2554
 
ความเชี่ยวชาญ
อุดมศึกษา, การวัดและประเมินผลการศึกษา, เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, ดนตรีสากล, ดนตรีศึกษา, มานุษยวิทยาการดนตรี, ภาษาอังกฤษ
 
ความสนใจ
ดนตรี, ภาษาศาสตร์, มานุษยวิทยา, Music Education, Ethnomusicology, Linguistics, Anthropology, Cultural Studies, Music and Dance Studies, Educational Studies, Ethnic Studies
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: ปฐมพงษ์ สุขเล็ก, ปราณีซื่ออุทิศกุล, สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์, และเคลน บุณยานันต์. (2567). ผลการ จัดการเรียนรู้ด้วยสื่อวีดิทัศน์เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในพระบรมราชูปถัมภ์ กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ ของนักเรียนระดับประถมศึกษา ตอนปลาย. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 18(1), 54- 70
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การสอนดนตรีมลายูระดับอุดมศึกษาในประเทศมาเลเซีย: กรณีศึกษาการสอนดนตรีกาเมลันในมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตร์แห่งชาติมาเลเซีย. วารสารครุพิบูล, 7(1), 108-119.
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และอรุณี หงษ์ศิริวัฒน์. (2563). แนวทางการพัฒนาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาดนตรีศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏ . วารสารครุพิบูล, 7(2), 243-258.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ทิพรัตน์ เกยเมือง, สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์, และ เคลน บุณยานันต์. (2566). การศึกษาแนวทางการปรับสภาพการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีจากออนไลน์สู่ออนไซต์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 5 “นวัตกรราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ประจำปี พ.ศ. 2566, 543-552. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
อ้างอิง: ดุรงค์ฤทธิ์ เป็นพุ่ม, เคลน บุณยานันต์, สุรศักดิ์ อุสาหะกานนท์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2566). การพัฒนาชุดการสอนทักษะกีตาร์เบสตามแนวคิดของเดวีส์ร่วมกับเทคนิคการสอนของซูซูกิ สำหรับนักเรียนชุมนุมดนตรีสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพรหมพิรามวิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 5 “นวัตกรราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น” ประจำปี พ.ศ. 2566, 491-499. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
อ้างอิง: Srinitiphat, N., Boonyanant, S. L., & Boonyanant, K. (2023). The Development of Instructional Package on Guitar skills Based on Davies’ Instructional Model for Psychomotor Domain and Cooperative Learning for Music Students of Janokrong Secondary School, Phitsanulok. Proceedings of 13th International Conference of Buddhist Research Institute of MCU “Interdisciplinary of Knowledge and Wisdom on the Chao Phraya River Basin for Sustainable Development”, 194-207. Nakhon Sawan, Thailand: Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: น้ำทิพย์ คงทน, จอมอัศวิน นาคอ่อน, วรินธรณ์ พรมภักดี, นุชจรีย์ สุวรรณ์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวประกอบจังหวะตามแนวคิดการสอนดนตรีของดาลโครซร่วมกับเทคนิคการสอนแบบเพื่อนช่วยเพื่อน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านเขาสมอแคลง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2399-2413.
อ้างอิง: ดุรงค์ฤทธิ์ เป็นพุ่ม, นิพาพรรณ แก้วดวงใหญ่, สุทธิรักษ์ ปิ่นทอง, เอกบุรุษ เพาะปลูก, ชยพล สุทธิ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการปฏิบัติแซกโซโฟนตามแนวคิดของเดวีส์ สำหรับนักเรียนชุมนุมดนตรีสากล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพรหมพิรามวิทยา อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2414-2430.
อ้างอิง: กฤตตะวัน เดชบุรัมย์, วิโรจน์ แซ่หลอ, บุรินทร์ สุขสวัสดิ์, ภาณุเดช ละโส, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการอ่านและร้องโน้ตสากลเบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายร่วมกับเทคนิคกระบวนการเรียนรู้แบบเพื่อนช่วยเพื่อน สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2431-2447.
อ้างอิง: เปรมฤทัย จันทรี, ศุภกรณ์ เรืองนุกูล, ทิพรัตน์ เกยเมือง, สุภาภัค พูนดังหวัง, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การศึกษาแนวทางการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในสถานการณ์แพร่ระบาดเชื้อไวรัส COVID-19 สำหรับนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2448-2463.
อ้างอิง: อิงกรณ์ ประเสริฐชัย, กัญญารัตน์ จันทร์วังทอง, นันทพงศ์ ปันอ่วม, กฤษฎา ศรสุรินทร์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการร้องโน้ตตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟร่วมกับเทคนิคการสอนแบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนสวนเมี่ยงวิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2464-2477.
อ้างอิง: ปริญลดา อาจหาญ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะกีต้าร์พื้นฐาน โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮโรว์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ พิบูลสงครามฝ่ายปฐมวัยและประถมศึกษา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2478-2494.
อ้างอิง: พงศ์พิสุทธิ์ ภู่แก้ว, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการอ่านโน้ตแบ่งมือฆ้องวงใหญ่โดยใช้แนวคิดการพัฒนาทักษะปฏิบัติของซิมพ์ซันร่วมกับวิธีการสอนแบบ นิรนัย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2495-2511.
อ้างอิง: ทิพปภา แอ่นดอย, สราวุฒิ สระทองมี, ปฏิภาณ เพ็ญแสง, ปฏิภาณ ไทยตรง, ชัยอนันต์ สาวิกัน, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนอ่านโน้ตและบรรเลงเปียโนตามแนวคิดของโคดายร่วมกับเทคนิคการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือสำหรับนักเรียนชมรมวงโยธวาทิตระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนพิจิตรพิทยาคม จังหวัดพิจิตร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2512-2528.
อ้างอิง: พันธ์กร แย้มประดิษฐ์, ปิยพัฒน์ เสวกวรรณ์, นพรัตน์ แซ่ลิ้ม, เอกภพ วิเศษรัตน์, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการอ่านและบรรเลงโน้ตดนตรีสากลสำหรับคีย์บอร์ดตามแนวคิดของคาร์ลออร์ฟร่วมกับรูปแบบการสอนแบบชัดแจ้ง สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 โรงเรียนบางกระทุ่มพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2529-2543.
อ้างอิง: กฤตภาส อิวชาวนา, วีระชล เทศปาน, ศิวกร เรืองรอง, สิทธิศักดิ์ หิรัญประภา, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะกีตาร์ตามแนวคิดของดาลโครซร่วมกับทฤษฎีการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัยของบลูม สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนวังทองพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2544-2560.
อ้างอิง: อารียา แซ่ลี, จิราวรรณ พูลสวัสดิ์, พรควิษณุ์ บูรณวิริยะพงศ์, ทิวากร ศรีหาวัตร, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนการปฏิบัติกีตาร์เบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิร่วมกับเทคนิคการสอนแบบจิ๊กซอว์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2561-2576.
อ้างอิง: เบญจรัตน์ กลมกลึง, จันทร์ทิมา คำจันทร์, อารีรัตน์ กองทอง, กานต์ธิดา บัวชุม, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนร้องโน้ตดนตรีสากลตามแนวคิดการสอนของโคดายร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านนาพราน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2577-2588.
อ้างอิง: เมธัส นพคุณ, เทพพิทักษ์ ปานสกุล, ปณต แหยมแก้ว, ศุภกิจติ์ โภครักษา, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนร้องโน้ตตามแนวคิดของโคดายร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบ TGT สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนจ่าการบุญ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2589-2601.
อ้างอิง: นาฏยา สีเดือน, กุลพัฒน์ ทรัพย์นาคี, เจนณรงค์ ไผ่งาม, ภูมินทร์ ชื่นแสงมอญ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทรัมเป็ตเบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟร่วมกับเทคนิคการสอนแบบ TAI สำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นโรงเรียนท่าทองพิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2602-2617.
อ้างอิง: ปกรณ์ จิตต์ประสงค์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการอ่านโน้ตดนตรีสากลตามแนวคิดการสอนของโคดายร่วมกับการสอนแบบ Active Learning สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2618-2629.
อ้างอิง: เจตศรินทร์ ทัพมาก, เติมตระกลู มาเนียม, ธวัชชัย มีศิล, สาธิต สมัครสิกิจ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนกีตาร์พื้นฐานตามแนวคิดของซูซูกิร่วมกับเทคนิคการสอนแบบ STAD สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2630-2645.
อ้างอิง: Boonyanant, K., & Yoshioka, Y. (2022). A Study of Current Status and Problems of Guitar Pedagogy Instruction for Undergraduate University Students in Thailand: A Case Study of Northern Rajabhat Universities. Proceedings of The Future of Arts: Coming of age: The Challenges to Artists: The 8th National and International Academic Conference on Fine and Applied Arts, 163-171. Khon Kaen, Thailand: Khon Kaen University.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ณัฏฐากร หวีวงษ์มา, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการจับคอร์ดกีตาร์และการดีดจังหวะตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิร่วมกับทฤษฎีความสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2019-2033.
อ้างอิง: พงศธร คงอินทร์, เคลน บุณยานันต์, และสุรศักดิ์ อุสาหะกานนท์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการปฏิบัติขลุ่ยเพียงออเบื้องต้นตามแนวคิดของดาลโครซสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาลัย จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2034-2042.
อ้างอิง: พงศ์พิสุทธิ์ ภู่แก้ว, ณัฐกฤต เปรมกิจพรพัฒนา, ทอฝัน เชิดเชื้อ, จิรเมธ เวลาสิงห์, เคลน บุณยานันต์, และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการปฏิบัติฆ้องวงใหญ่ขั้นพื้นฐานตามแนวคิดของดาลโครซร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2043-2055.
อ้างอิง: ภาศกร ติ้สา, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องโครงสร้างคอร์ดและการพัฒนาการจับคอร์ดกีตาร์ตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิร่วมกับการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนวัดมหาวนาราม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2056-2069.
อ้างอิง: ปฏิภาณ อ่อนพรมราช, ปกรณ์ จิตต์ประสงค์, ฉัตธัญ เมืองหลวง, ปสันน์ วัฒนะ, ธัญชนก เรืองงิ้ว, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการปฏิบัติกีตาร์ขั้นพื้นฐานตามแนวคิดการสอนดนตรีของซูซูกิสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2070-2080.
อ้างอิง: ศรัญญา เชื้อพรมมา, ปริญลดา อาจหาญ, อรจิรา คลังมณี, กมลวรรณ คุ้มครุฑ, ณัฐพล บับภาบุญ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการร้องโน้ตด้วยสัญลักษณ์มือตามแนวคิดของโคดายร่วมกับเทคนิคการใช้เกมประกอบการสอน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2081-2091.
อ้างอิง: ณัฐพงษ์ อินทรง, สิทธิชัย เฟื่องอิ่ม, วิชิต คำอ้ายล้าน, สาธิต สีหะวงษ์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการตีกลองแขกตามแนวคิดของเดวีส์ สำหรับนักเรียนชุมนุมดนตรีไทยระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนจ่าการบุญ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2092-2101.
อ้างอิง: ธนภณ แสงศิริ, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาชุดการสอนเรื่องการปฏิบัติมะโหน่งเบื้องต้นตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โรงเรียนวัดโป่งหม้อข้าว จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2114-2123.
อ้างอิง: เอกรัตน์ ยั่งยืนวัฒนกุล, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนาบทเรียนเรื่องประเภทเครื่องดนตรีตะวันตกและการประสมวงโดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนศึกษาลัย จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2124-2132.
อ้างอิง: พรนภา มีชำนาญ, เคลน บุณยานันต์, สุรศักดิ์ อุสาหะกานนท์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านผ่านสื่อออนไลน์เรื่องลักษณะของวงดนตรีไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเฉลิมขวัญสตรีจังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2133-2141.
อ้างอิง: วนิดา ขวัญนาง, สุจิตรา แก้วชัยสิทธิ์, สุทธิพงษ์ อินธิตก, ศศิตรา ชุ่มเย็น, สุรีพร ปั้นแสง, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2564). ความคิดเห็นของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนดนตรีไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ. 2564 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรี/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 2143-2154.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: สุภาวดี พรมช่วย, สุนิสา ออมสิน, สุภาวรรณ บุญช่วย, วันทนา เทียนสว่าง, ชาญณรงค์ มานักฆ้อง, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีสากล. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 294-304.
อ้างอิง: กฤษณะ แก้วบัวคำ, ณัฐวัตร สุริยวงค์, อรนลิน หมีดง, นิชกมล ยะลา, ปรัชญากรณ์ ยุพา, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). ชุดการสอนทักษะการตีกลองขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้เทคนิคการสอนรูปภาพแทนตัวโน้ต : กรณีศึกษาโรงเรียนดนตรี I Can Play. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 323-331.
อ้างอิง: ณัฎฐากร หวีวงษ์มา, ภัทรชน แก้วสุริยะ, กิตติพงษ์ ตรีเศียร, คณากร พรมด่วน, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การศึกษาปัญหาในการฝึกซ้อมดนตรีของนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 332-340.
อ้างอิง: พรนภา มีชำนาญ, ฐิตินันต์ โหนนา, สิริทิพย์ ศรีนุเสน, สุชาดา ราชวงศ์, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนในการเรียนการสอนของสาขาวิชาดนตรีศึกษาและสาขาวิชาดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 385-393.
อ้างอิง: อภิรติ เจริญรูป, รัชชานนท์ อินกองงาม, นิติชัย ชมโลก, นรเศรษฐ์ พะหงษา, จิรวัฒน์ สวัสดี, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การพัฒนาชุดการสอนคีย์บอร์ดเรื่องคอร์ดเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามแนวคิดของธอร์นไดค์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 452-459.
อ้างอิง: จิรภัทร มีชัย, อัครชัย จันทะคะมุด, พินิจ พนัสจุฑาบูลย์, ภานุวัฒน์ กองแก้ว, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2563). การพัฒนาชุดการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีตะวันตกเรื่องขั้นคู่ สำหรับนักศึกษาสาขาดนตรีศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามทฤษฎีการเรียนรู้้ของเพียเจต์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1365-1373.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: บุญเติม ฉ่ำเฉื่อย, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดฝึกทักษะเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก ตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายและการเรียนรู้แบบร่วมมือ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 1-12.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: เคลน บุณยานันต์ และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2561). การศึกษาเปรียบเทียบสาขาวิชาดนตรีระดับบัณฑิตศึกษาในประเทศมาเลเซียและประเทศไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2561 กลุ่มมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เล่ม 2, 273-280.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: อิงกรณ์ ประเสริฐชัย, กัญญารัตน์ จันทร์วังทอง, นันทพงศ์ ปันอ่วม, กฤษฎา ศรสุรินทร์, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2565). การพัฒนาชุดการสอนทักษะการร้องโน้ตตามแนวคิดการสอนดนตรีของออร์ฟร่วมกับเทคนิคการสอนแบบร่วมมือสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนสวนเมี่ยงวิทยา จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2565 สาขาวิชานาฏศิลป์/ดนตรีศึกษา/ศิลปศึกษา/อุตสาหกรรมศิลป์, 2464-2477.
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: บุญเติม ฉ่ำเฉื่อย, เคลน บุณยานันต์, และสุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดฝึกทักษะเรื่องเครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านพลายชุมพล จังหวัดพิษณุโลก ตามแนวคิดการสอนดนตรีของโคดายและการเรียนรู้แบบร่วมมือ. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 1-12. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อานนท์ ชูช่วย, สมพล ศรีผึ้ง, ธิปไตย สุนทร, และเคลน บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนทักษะในด้านการอ่านค่าของตัวโน้ตดนตรีสากลสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 13-21. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: สิทธพงษ์ ราชวงศ์, เอกลักษณ์ สมากร, ธิปไตย สุนทร, และเคลน บุณยานันต์. (2562). ผลการใช้นวัตกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาการปรบมือไม่ตรงจังหวะเพลงรักเมืองไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ศึกษาครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ. 2562 กลุ่มดนตรีนาฏศิลป์/ศิลปะ/อุตสาหกรรมศิลป์, 90-94. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: พรนภา มีชำนาญ, ฐิตินันต์ โหนนา, สิริทิพย์ ศรีนุเสน, สุชาดา ราชวงศ์, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อสิ่งสนับสนุนในการเรียนการสอนของสาขาวิชาดนตรีศึกษาและสาขาวิชาดนตรีสากล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: ณัฎฐากร หวีวงษ์มา, ภัทรชน แก้วสุริยะ, กิตติพงษ์ ตรีเศียร, คณากร พรมด่วน, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การศึกษาปัญหาในการฝึกซ้อมดนตรีของนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: กฤษณะ แก้วบัวคำ, ณัฐวัตร สุริยวงค์, อรนลิน หมีดง, นิชกมล ยะลา, ปรัชญากรณ์ ยุพา, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). ชุดการสอนทักษะการตีกลองขั้นพื้นฐานสำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้เทคนิคการสอนรูปภาพแทนตัวโน้ต : กรณีศึกษาโรงเรียนดนตรี I Can Play. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: จิรภัทร มีชัย, อัครชัย จันทะคะมุด, พินิจ พนัสจุฑาบูลย์, ภานุวัฒน์ กองแก้ว, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนวิชาทฤษฎีดนตรีตะวันตกเรื่องขั้นคู่ สำหรับนักศึกษาสาขาดนตรีศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามทฤษฎีการเรียนรู้้ของเพียเจต์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: สุภาวดี พรมช่วย, สุนิสา ออมสิน, สุภาวรรณ บุญช่วย, วันทนา เทียนสว่าง, ชาญณรงค์ มานักฆ้อง, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). ความพึงพอใจของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนวิชาดนตรีสากล. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
อ้างอิง: อภิรติ เจริญรูป, รัชชานนท์ อินกองงาม, นิติชัย ชมโลก, นรเศรษฐ์ พะหงษา, จิรวัฒน์ สวัวดี, เคลน บุณยานันต์ และ สุจิตรา เลิศเสม บุณยานันต์. (2562). การพัฒนาชุดการสอนคีย์บอร์ดเรื่องคอร์ดเบื้องต้น สำหรับนักศึกษาปีที่ 1 สาขาวิชาดนตรีศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตามแนวคิดของธอร์นไดค์. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2563, โปสเตอร์.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การศึกษาที่เน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ | Outcome based education
อ้างอิง: Basic Classroom Research for Guitar Teachers
อ้างอิง: TPACK MODEL
อ้างอิง: การพัฒนาหลักสูตร OBE
อ้างอิง: Instructional Media Development for Guitar Teachers
อ้างอิง: Lesson Learned from Inservice Music Teachers for Guitar Pedagogy Class
อ้างอิง: Basic Pedal Effects and Application for Live Performance
อ้างอิง: Basic Guitar Maintenance and Repair
อ้างอิง: Basic Finger Style Guitar
อ้างอิง: Classical Guitar Master Class
อ้างอิง: การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อ้างอิง: ภาษาอังกฤษในชั้นเรียน
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมการนำเสนอผลงานวิจัยนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีศึกษา
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพด้านดนตรี"ทักษะในศตวรรษที่ 21 สู่การเรียนรู้ดนตรี"
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพด้านดนตรี "Music Culture of East Asia and South East Asia",วันที่ 21มกราคม 2558 ห้องประชุมนนทรี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ส่วนวังจันทน์
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2541 (1998)
ชื่อรางวัล: ชนะเลิศระดับประเทศ, การแข่งขัน Guitar Festival, Yamaha Music, Thailand
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: The Australian Kodaly Certificate in Music Education - Primary Level 1
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.