|
|
|
ชื่อ-นามสกุล |
อาจารย์วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ Miss Wannika Kancomnanta |
ตำแหน่ง: อาจารย์ |
สังกัดหน่วยงาน:
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม |
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน:
- |
อีเมล์: wannika.k@psru.ac.th |
|
|
|
|
|
ลำดับการศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
ปีการศึกษาที่จบ |
1 |
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2564 |
2 |
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2558 |
|
|
|
|
|
Highway Material Testing Laboratory |
|
|
|
|
Pavement Design in Road Construction, Soil Mechanics in Pavement Engineering |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, ศุจินธร ทรงสิทธิเดช, และวรรณิกา ขันคํานันต๊ะ. (2566). การศึกษามาตรการลดความเร็วบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 กรณีศึกษา แยกบ้านกร่าง – แยกอินโดจีน จังหวัดพิษณุโลก. PSRU Journal of Industrial Technology and Engineering, ปีที่ 5, ฉบับที่ 3, 298-314. จาก https://ph02.tci-thaijo.org/index.php/psru-jite/article/view/248719 |
|
|
อ้างอิง: |
ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, ศุจินธร ทรงสิทธิเดช, วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, บุญพล มีไชโย และทวีศักดิ์ แตะกระโทก. (2566). การจัดการความปลอดภัยทางถนนบนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 กรณีศึกษาเส้นทางท่องเที่ยว จังหวัดพิษณุโลก – จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารความปลอดภัยและสุขภาพ, ปีที่ 16, ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2566, 61-79. จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/JSH/article/view/260352 |
|
- |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, ทวีศักดิ์ แตะกระโทก, ทิพย์วิมล แตะกระโทก, บุญพล มีไชโย และดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2566). การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ความเร็วของยานพาหนะตามกฎหมาย 120 กม./ชม. ระหว่างทางหลวงหมายเลข 32 กับทางหลวงพิเศษหมายเลข 7. การประชุมการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28, ภูเก็ต. |
|
|
อ้างอิง: |
ภูริชัย แก้วมา, วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, ณัฐนนท์ คุ้มครุฑ และกรกฎ นุสิทธิ์. (2566). การศึกษาคุณสมบัติทางกลของดินเหนียวที่ผสมแกนกัญชงและเส้นใยกัญชง. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 28, ภูเก็ต; |
|
|
อ้างอิง: |
บำรุง บัวชื่น, วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ และขวัญชัย เทศฉาย. การศึกษาคุณสมบัติค่าการต้านทานการขัดถูของวัสดุมวลรวมจากแหล่งวัสดุมวลรวมที่ใช้ในงานก่อสร้างผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีต, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 27, เชียงราย;
|
|
|
อ้างอิง: |
วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, กรกฎ นุสิทธิ์, พีรพงศ์ จิตเสงี่ยม, พิทยุตม์ เจริญพันธุ์ และจีรพงษ์ เหล่าน้ำใส. การศึกษาความสามารถในการเคลือบผิวและกันน้ำของแอสฟัลต์อิมัลชันผสมน้ำยางพาราธรรมชาติเข้มข้น, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 27, เชียงราย; |
|
|
อ้างอิง: |
บำรุง บัวชื่น, วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ และขวัญชัย เทศฉาย. การประเมินประสิทธิภาพค่าความเสียดทานของผิวทางในสภาวะเหินน้ำ, การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 17, พิษณุโลก; |
|
|
อ้างอิง: |
บุญพล มีไชโย, วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, รัตนาวดี ปัญญาคม และสุรางคนางค์ สายใจ. ประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมายด้านความเร็ว กรณีศึกษาทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 117, การประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 17, พิษณุโลก; |
|
|
อ้างอิง: |
วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, บุญพล มีไชโย และทวีศักดิ์ แตะกระโทก. การศึกษาส่วนเผื่อความปลอดภัยของสัมประสิทธิ์ความเสียดทานของผิวทางแอสฟัลต์คอนกรีตที่เกี่ยวเนื่องกับความเร็ว, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, นครนายก; |
|
|
อ้างอิง: |
วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ, บุญพล มีไชโย และทวีศักดิ์ แตะกระโทก. การศึกษาความต้านทานการเสียรูปของแอสฟัลต์คอนกรีตโดยการทดสอบการคืบแบบแรงกระทำแบบคงที่และแรงกระทำแบบกระทำซ้ำ, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, นครราชสีมา; |
|
|
อ้างอิง: |
บุญพล มีไชโย, วรรณิกา ขันคำนันต๊ะ และทวีศักดิ์ แตะกระโทก. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานการลื่นไถลและจำนวนรอบของการขัดสีของแอสฟัลต์คอนกรีต, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, นครราชสีมา; |
|
|
อ้างอิง: |
B. Meechaiyo, T. Taekratok, W. Kancomnanta. Assessment Results of Trianing Participants about Theoretical Section for Driving License Under Motor Vehicle Act at the NU License Training Center, Proceedings ATRANS Symposium, Bangkok, Thailand; |
|
-
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทบทวนนโยบายเป้าหมายมหาวิทยาลัย การสร้างภาวะผู้นำและการทำงานเป็นทีม |
|
|
อ้างอิง: |
การพัฒนาทักษะความรู้ในการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมพัฒนาทักษะ Soft Skills ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอนอย่างสร้างสรรค์ สำหรับคณาจารย์และบุคลากร |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการถอดบทเรียน “AUN-QA implementation and Gap Analysis” สำหรับหลักสูตรที่เข้ารับการประเมินด้วยเกณฑ์ AUN-QA |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมเชิงปฏิบัติการ การเขียนเส้นทางสู่ผลกระทบของโครงการ (Impact Pathway) |
|
|
อ้างอิง: |
การประเมินผลกระทบทางสังคม (SIA) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการพัฒนาสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลสำหรับบุคลากร ภายใต้กิจกรรม การอบรมและทดสอบ Google Certified Educator Level 1 |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการแผนเผชิญเหตุวิกฤตสุขภาพจิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
อ้างอิง: |
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบทีม (Team Teaching) |
|
|
อ้างอิง: |
การสร้างสภาพแวดล้อมการทำงานด้วยดิจิทัล |
|
|
อ้างอิง: |
การจัดทำแผนที่เสี่ยงภัยน้ำท่วมและการแพร่กระจายมลพิษทางอากาศด้านฝุ่นควันเพื่อการบริหารจัดการชุมชน |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมหลักสูตร AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 รุ่นที่ 13 |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมการใช้งาน Microsoft Office 365 |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการคิดบวก คิดสร้างสรรค์และทำงานอย่างมีความสุข |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมและพัฒนาระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ของหน่วยงานในมหาวิทยาลัย |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมและพัฒนาทักษะ Digital Literacy ของบุคลากร |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมพัฒนาทักษะ Soft Skills ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (Social Engineer) เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน สำหรับคณาจารย์และบุคลากร |
|
|
อ้างอิง: |
การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Backward Curriculum Design): In-House Training ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 1 |
|
|
อ้างอิง: |
การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation): In-House Training ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 1 |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการเขียนตำราหนังสือ และบทความวิจัย สำหรับการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ |
|
|
อ้างอิง: |
การฝึกอบรมโครงการ "สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่" รุ่นที่ 9 |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมพัฒนาหลักสูตรสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมความรู้ความเข้าใจด้าน DIGITAL LITERACY (IC3 GS6 LEVEL 1) |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการศึกษาและยกร่างมาตรฐานแอสฟัลต์คอนกรีตระบบซูเปอร์เพฟ (SUPERPAVE) เพื่อความเป็นสากลสำหรับการพัฒนาระบบคมนาคมขนส่งของประเทศไทย |
|
|
|
|
|
|
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล |
|
|
|
|
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน |
|
|
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
คณะกรรมการ (วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาภาคเหนือ 2 ประจำปี พ.ศ. 2566 - 2568) (ตามหนังสือ ประกาศวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ 019 / 2566 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสาขาภาคเหนือ 2 ประจำปี พ.ศ. 2566 - 2568) |
|
|
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง |
|
|
|
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ |
|
|
|
|