ชื่อ-นามสกุล
 อาจารย์สุดารัตน์ รัตนพงษ์  
 Miss Sudarat Rattanapong
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: Sudarat.ra@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 รป.ม. (การจัดการความขัดแย้ง) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2557
2 ร.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
 
ความเชี่ยวชาญ
รัฐประศาสนศาสตร์ (การบริหารรัฐกิจ), รัฐศาสตร์ , วิจัย วัดผล ประเมินผล สถิตประยุกต์ ประกันคุณภาพ, Organization Development , Human Rights, การท่องเที่ยวโดยชุมชน, Conflict Management , Marketing, การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์
 
ความสนใจ
รัฐศาสตร์, วิจัยและพัฒนา, การท่องเที่ยว, Psychology, นโยบายสาธารณะแบบมีส่วนร่วม (Participatory Public Policy), Conflict Management, การตลาดภาครัฐ, นวัตกรรมทางสังคม
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Khan, A.B., Siriphan, T., Mookda, R., Kongnun, T., Rattanapong, S., Omanee, Y., & Thonghom, P.(2021). Impact of Global Financial Crisis 2008-09 and Global Oil Prices on the Economic Growth of Asean Countries: An Evidence from Driscoll-Kraay Standard Errors Regression. Academy of Accounting and Financial Studies Journal, 25(6), 1-11.
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์, หนึ่งฤทัย ศรีสุกใส, กฤติมา อินทะกูล, จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล และนันทพันธ์ คดคง. (2564). การจัดการท่องเที่ยวโดยใช้ชุมชนเป็นฐานตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทรรศน์.2(1):45-60.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: วิมลรัตน์ บุญชู, เกษรา พิทักษ์สืบสกุล, ทิพย์นารี ดิเรกฤทธิรุต, ศุภพิชญา ครุฑคง, สุณัชชา สีดาว, สุดารัตน์ รัตนพงษ์ และ ธัญวรัตน์ คงนุ่น. (2563). การศึกษาอัตลักษณ์ชุมชมเพื่อเพิ่มมูลค่าผ้าทอของบ้าน หนองหญ้าปล้อง ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานการสืบเนื่องการประชุม วิชาการและนิทรรศการระดับชาติ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 2. วันที่ 20 พฤษภาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: อรุณี กาสยานนท์, กฤติมา อินทะกูล, จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล และสุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2561). การมีส่วนร่วม ของประชาชนในการวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 3(1). กรกฎาคม – ธันวาคม 2561.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และสุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การจัดลำดับ ความสำคัญของจุดติดตั้งอุปกรณ์สยบความเร็ว กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การ ประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3” พ.ศ. 2560 “Thailand 4.0 นวัตกรรมและการ วิจัยเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” วันที่ 23 - 24 มีนาคม 2560 ณ ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2559). ภูมิปัญญากับการจัดการความขัดแย้ง.วารสารการบริหารและการพัฒนาท้องถิ่น. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4, 9-18.
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2559). โครงการวิจัยประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ อปท.พิจิตร (อำเภอโพทะเล) ประจำปีงบประมาณ 2558. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2552). การจัดการความขัดแย้งด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น กรณีศึกษา ประเพณีเลี้ยงดงหรือผีปู่แสะย่าแสะ ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. รายงานการสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ร่วมกับเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ วันที่ 5 สิงหาคม 2557
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์และคณะ. (2552). บทบาทของพระสงฆ์ในการจัดการความขัดแย้งทางการเมืองในท้องถิ่น :ศึกษาเฉพาะกรณี พระครูวิบูลสิทธิธรรม เจ้าอาวาสวัดหนองพยอมตำบลชุมแสงสงคราม อำเภอ บางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานการสืบเนื่องการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 11 ประจำปี 2552 “ความขัดแย้ง ความชอบธรรม และการปฏิรูประบบรัฐ: การจัดสรรผลประโยชน์ที่เป็นธรรมในสังคมไทย”
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: จิราภา ใจรัก, พรไพลิน มิ่งสกุล, พิมพ์อัปสร เผือกเปีย, อาทิตยา สุบิน และสุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2564). การศึกษาแนวทางการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้าของชมรมไทยวน ตำบลสมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. หน้า 1171-1184. ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://conference.nu.ac.th/nrc17/?page=format_download
อ้างอิง: อาริสา ศิริพันธ์, ภุมรินทร์ ด้วงมา, วดีรัตนา จันทร์ประสิทธิ์ และสุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าขาวม้าเพื่อเพิ่มมูลค่าจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลบ้านกร่าง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. หน้า 1171-1184. ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://conference.nu.ac.th/nrc17/?page=format_download
อ้างอิง: กมลทิพย์ ขวัญเงิน, พัชรีภรณ์ จิ๋วพุ่ม,ณัชพล อินทร์แผลง,ภาคีไนย กลิ่นภักดิ์ และและสุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2564). การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้ำตาลโตนด กรณีศึกษา ตำบลนาเชิงคีรี อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย. รายงานการสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 17 (Resilience for Never Normal Era). หน้า 1106-1129. ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ http://conference.nu.ac.th/nrc17/?page=format_download
อ้างอิง: Khan, A.B., Kongnun, T., Rattanapong, S.(2021.). Combating Fake News On Social Media: Covid-19 Fear And Uncertainty. INTERNATIONAL MARMARA SCIENTIFIC RESEARCH AND INNOVATION CONGRESS 21 - 22 AUGUST 2021 / İSTANBUL. P.623. เข้าถึงได้จาก https://www.isarconference.org/
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2559). วิถีแห่งภูมิปัญญากับการจัดการความขัดแย้ง. การประชุมวิชาการระดับชาติด้าน การบริหารกิจการสาธารณะ ครั้งที่ 3 (The Third National Conference on Public Affairs Management) “การเปลี่ยนผ่าน และการปฏิรูปการบริหาร สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Governance Transition and Reform to Sustainable Development)” วันที่ 19 สิงหาคม 2560. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา,ธัชชัย เทพกรณ์,เอกกฤษ แก้วเจริญ,ปุริม ศรีสวัสดิ์ และสุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2565). การประเมินศักยภาพโครงข่ายระบบขนส่งเพื่อตอบสนองและรองรับการท่องเที่ยวเชิงอาหารพื้นถิ่นภายใต้ชีวิตวิถีใหม่ประเทศไทย. ทุนสนับสนุนงานพื้นฐาน (Fundamental Fund 2565) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมและจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวตะเข็บชายแดนและระเบียงเศรษฐกิจ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ : พื้นที่ 7 อำเภอบ้านโคก (ภูดู่) จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะที่2 (ทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ) (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์.(2565). นวัตกรรมการเสริมพลังทางสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ตำบลวังนกแอ่น อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. ทุนสนับสนุนงานพื้นฐาน (Fundamental Fund 2565) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2565). การพัฒนานวัตกรรมการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นการทอผ้าเกล็ดเต่า ตำบลตากออก อำเภอบ้านตาก จังหวัดตาก เพื่อสืบสานและต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์. ทุนสนับสนุนสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมและจัดการความรู้ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวตะเข็บชายแดนและระเบียงเศรษฐกิจ เพื่อลดความเหลื่อมล้ำ : พื้นที่ 7 อำเภอบ้านโคก (ภูดู่) จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะที่1 (ทุนสนับสนุนจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2564). การศึกษารูปแบบพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาการกลั่นแกล้งรังแกบนโลกไซเบอร์ (Cyber bullying) ในกลุ่มเยาวชนในสถานศึกษาเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. (ทุนสนับสนุนจากวิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 15,000 บาท : อยู่ระหว่างดำเนินการ)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล, สุดารัตน์ รัตนพงษ์, หนึ่งฤทัย ศรีสุกใส และนันทพันธ์ คดคง. (2562) การจัดการองค์ ความรู้และส่งเสริมศักยภาพเกษตรกรผู้ปลูกกาแฟเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก กรณีศึกษา ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก. (ทุนสนับสนุนจากงบประมาณแผ่นดินแบบปกติ ประจำปีงบประมาณ 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์, กฤติมา อินทะกูล, จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล, หนึ่งฤทัย ศรีสุกใส และนันทพันธ์ คดคง. (2561). การจัดการการท่องเที่ยวโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน อำเภอวังทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก (ชุดโครงการ). (ทุนสนับสนุนจากกองทุนพัฒนางานวิจัยและบริหารจัดการงานวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
อ้างอิง: กฤติมา อินทะกูล, สุดารัตน์ รัตนพงษ์, จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล. (2561). การแปรเปลี่ยนและธำรงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง ชุมชนบ้านเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. (ทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์ กฤติมา อินทะกูล, จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล. (2561), แนวทางการสร้างอาชีพตามความถนัดของผู้สูงอายุชุมชนบ้านตาปะขาวหาย อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก" งบประมาณสนับสนุนสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (วช.)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: อรุณี กาสยานนท์, กฤติมา อินทะกูล, จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล, สุดารัตน์ รัตนพงษ์, ปรัชญา แช่มช้อย และ กานดิศ ศิริสานต์. (2560). ถอดแบบความสำเร็จของชุมชนสู่บทเรียนการจัดการกองทุนขยะเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก : โรงเรียนบ้านพลายชุมพล ตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. (ทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย)
อ้างอิง: อรุณี กาสยานนท์, กฤติมา อินทะกูล, จุฑาธิป ประดิพัทธ์นฤมล และสุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การมีส่วนร่วม ของประชาชนในการวางแผนการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ (ทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแผนการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ ตำบลนาขุม อำเภอบ้านโคก จังหวัดอุตรดิตถ์ (ทุนสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ)
อ้างอิง: สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การศึกษารูปแบบและวิธีการจัดการความขัดแย้งภายในองค์กรขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. (ทุนสนับสนุนจากคณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์)
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีในการพัฒนาการเกษตรและอาหารปลอดภัย
อ้างอิง: โครงการยกระดับศักยภาพการท่องเที่ยวสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของตำบลกลางดง อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลท้อแท้ อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลกลางดง อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลบึงกอก อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลบ้านกร่าง อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลทุ่งเสลี่ยม อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลบ้านใหม่ไชยมงคล อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น (5 ชั่วโมง) พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยนเรศวร (Thaimocc)
อ้างอิง: การอบรมหลักสูตร GCP online training (Computer based) “แนวทางการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH-GCP:E6(R2))” จากคณะอนุกรรมการจริยธรรมการทาวิจัยในคน มธ.ชุดที่ 1 และ ศูนย์วิจัยทางคลินิก คณะแพทยศาสตร์
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: หลักสูตรสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ “ลูกไก่” ม.นเรศวร รุ่น 5 ระหว่างวันที่ 5-9 มิถุนายน 2560 ความร่วมมือระหว่างสำนักงานวิจัยแห่งชาติและมหาวิทยาลัยนเรศวร
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: หลักสูตรเครือข่ายสิทธิมนุษยชนภาคเหนือ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: โครงการบริการวิชาการส่งเสริมศักยภาพชุมชนบ้านดินทอง อ.วังทอง จ.พิษณุโลก
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมความรักความสามัคคี ความมีระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น กิจกรรมส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในชุมชน
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: โครงการแผนที่มรดกทางวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: บริการวิชาการแหล่งเรียนรู้พิบูลปัญญา เรื่อง “การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก”
ชื่อโครงการ: บริการวิชาการเทศบาลตำบลบ้านคลอง เรื่อง “การจัดการท่องเที่ยวและการค้นหาศักยภาพและแหล่งท่องเที่ยวในเขตความรับผิดชอบของเทศบาลตำบลบ้านคลอง”
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ITA ประจำปีงบประมาณ 2559
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อโครงการ: วิทยากรกระบวนการ "การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลมะต้องและตำบลบึงกอก" งบยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม พ.ศ. 2565
ชื่อโครงการ: วิทยากรการจัดทำแผนการตลาด "การยกระดับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ผ้าย้อมคราม" โครงการเพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน Building Community Enterprise: BEC ประจำปีงบประมาณ 2564 โดย กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคาม และจังหวัดพิ
ชื่อโครงการ: วิทยากรการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการกีฬา จังหวัดสุโขทัย ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560- 2565) สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสุโขทัย
ชื่อโครงการ: วิทยากรการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดสุโขทัย ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2560- 2565) สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: วิทยากรเสวนาวิชาการ หัวข้อ "มุมมองศิลปะผ่านวิถีชุมชนคนพิษณุโลก"
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยาย เรื่อง “เทคนิคการเก็บข้อมูลชุมชนและการทำงานเป็นทีม” โครงการพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัยอบรมพัฒนาศักยภาพทักษะด้านสังคมแก่ประชาชนในโครงการ U2T 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย (เฟส 1) ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลกและจังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยาย “หลักการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์/ การสร้าง Story of Product” โครงการส่งเสริมเครือข่ายองค์ความรู้ KBO (Knowledge – Based OTOP) ประจำปี 2564 จังหวัดสุโขทัยและจังหวัดนครราชสีมา
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: ที่ปรึกษาโครงการส่งเสริมเครือข่ายองค์ความรู้ KBO (Knowledge – Based OTOP) ประจำปี 2563 จังหวัดพิจิตร จังหวัดสุโขทัย จังหวัดน่าน
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยาย หัวข้อ “หลักการบริหารโครงการที่มีประสิทธิภาพ” ของสำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 3 รุ่น ให้แก่พัฒนาการอำเภอ จำนวน 93 คน จาก 10 จังหวัด
ชื่อโครงการ: วิทยากรการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อปรับปรุงแผนปฏิบัติการพัฒนาการท่องเที่ยว ภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวมรดกโลกด้านวัฒนธรรม (พ.ศ.2560- 2564) วันที่ 13 - 15 สิงหาคม 2563 ณ สุโขทัยพรเจริญ รีสอร์ท แอนด์ สปา อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: วิทยากรโครงการ "การพัฒนาผลิตภัณฑ์เป็นของฝากและของที่ระลึกเพื่อการท่องเที่ยว" จังหวัดน่าน จังหวัดตากและจังหวัดนครพนม
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: ผู้ช่วยผู้จัดการศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อโครงการ: วิทยากรกระบวนการ "แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประจำปี 2563"
ชื่อโครงการ: วิทยากรกระบวนการ "การสร้างพลเมืองรุ่นใหม่ New Voter" สถาบันพระปกเกล้า
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยาย "การบริหารธุรกิจอย่างง่าย" โครงการธงฟ้าประชารัฐ สำนักงานพาณิชย์จังหวัดสุโขทัย
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยายโครงการ OTOP นวัตวิถี จังหวัดพิจิตร ตาก และสุโขทัย
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยายการจัดการเครือข่ายป่าชุมชนจังหวัดพิจิตรและนครสวรรค์
ชื่อโครงการ: บริการวิชาการพิบูลปัญญา"การสร้างเส้นทางการท่องเที่ยวในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก" สำนักงานป่าไม้เขตนครสวรรค์
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: วิทยากรกระบวนการโครงการสร้างความปรองดองและสมานฉันท์ภาคเหนือตอนล่าง หลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการสันติศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: ที่ปรึกษาศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อโครงการ: วิทยากรกระบวนการ “เวทีการรับฟังความคิดเห็นผู้ให้บริการและผู้รับบริการระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 2 พิษณุโลก
ชื่อโครงการ: วิทยากรบรรยาย เรื่อง “การเขียนโครงการและวิเคราะห์โครงการฯ” อบจ.ตาก
ชื่อโครงการ: วิทยาการบรรยาย “การส่งเสริมการจัดการขยะอย่างยั่งยืน” ณ โรงเรียนวัดจอมทอง ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: ที่ปรึกษาโครงการสนับสนุนการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน เมืองปั่นได้เมืองปั่นดีน่าน
ชื่อโครงการ: วิทยากรร่วมโครงการการปรับปรุงแก้ไขพระราชกำหนดการประมง ปีพ.ศ. 2558 (ภาคเหนือและภาคอีสาน)
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการสมทบจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการประสานงานโครงการเสริมสร้างความยั่งยืนของการพัฒนาเมืองในอนาคต (PCC) เทศบาลนครพิษณุโลกได้รับความร่วมมือจากสภาพัฒน์และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น (JICA)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการและเลขานุการ ศูนย์นวัตกรรมทางสังคม วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: กรรมการและเลขานุการ ศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า จังหวัดพิษณุโลก
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ที่ปรึกษาโครงการพระราชดำระสมเด็จพระเทพรัตนรชสุดา สยามบรมราชกุมารี "โครงการสร้างป่าสร้างรายได้ จังหวัดพิจิตร" กรมป่าไม้
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการการประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดทำแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ สภาความมั่นคงแห่งชาติ
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการประสานงานโครงการเสริมสร้างความยั่งยืนของการพัฒนาเมืองในอนาคต (PCC) เทศบาลนครพิษณุโลกได้รับความร่วมมือจากสภาพัฒน์และองค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศญี่ปุ่น (JICA)
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อรางวัล: บุคลากรดีเด่นผู้สร้างสรรค์ผลงานบริการวิชาการรับใช้สังคมดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อรางวัล: รางวัลชมเชย "ชื่อผลงาน : กระบวนการพัฒนานักศึกษาสู่การเป็นผู้ประกอบการชุมชนในศตวรรษที่ 21 ผ่านรูปแบบการเรียนการสอนรายวิชาการตลาดภาครัฐ" โครงการสัมมนาเครื่อข่ายการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา (University Knowledge Management) ครั้งที่ 7
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อรางวัล: รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะภาษาอังกฤษ โครงการสัมมนาเครื่อข่ายการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา (University Knowledge Management) ครั้งที่ 6
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: นักวิจัยที่มีผลงานตีพิมพ์ดีเด่น วิทยาลัยการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อรางวัล: เครื่องราชอิสริยาภรณ์ เบญจมาภรณ์มงกุฎไทย (ราชกิจจานุเบกษา,2558, เล่ม 132 ตอนที่ 17 ข, หน้า 102 ลงวันที่ 2 มิถุนายน 2558)
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การเรียนรู้และเข้าใจพฤติกรรมอาชญากร
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: จิตวิทยาการให้คำปรึกษาสำหรับผู้เริ่มต้น
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น (5 ชั่วโมง) พัฒนาโดยมหาวิทยาลัยนเรศวร (Thaimocc)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตรวิทยากรวิถีพลเมืองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รุ่นที่ 1 สถาบันพระปกเกล้า
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตร“ทำอย่างไรให้สินค้า Go inter ขายได้ ขายดีและดังข้ามโลก” – CHULA MOOC
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หนังสือรับรองการอบรมหลักสูตรจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: เลขที่คำขอ 2102001163 เลขที่คำขอ 2102001164 เลขที่คำขอ 2102001165
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.