ชื่อ-นามสกุล
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุภาวดี น้อยน้ำใส  
 Asst. Prof. Supawadee Noinumsai
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 0-5526-7000
อีเมล์: supawadeebum@psru.ac.th,supawadeebumnoinumsai@gmail.com
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ม. (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2551
2 วท.บ. (เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 2548
 
ความเชี่ยวชาญ
เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม, การประยุกต์ใช้ GIS เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ, การใช้ประโยชน์จากของเสีย/การดูดซับ
 
ความสนใจ
Geographic Information System (GIS), การจัดการของเสีย/ใช้ประโยชน์สำหรับการดูดซับ, เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ การบำบัดน้ำเสีย, การแปรรูปขยะและของเสียชุมชน
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: Podong, C., Khamfong, K., Noinamsai, S and Mhon-ing, S. (2024). Carbon sequestration in agrosilviculture agroforestry systems: preliminary results from three villages in Uttaradit province, Northern Thailand. Biotropia. 31(2), 121–131. doi:10.11598/btb.2024.31.2.1741.
อ้างอิง: Noinumsai, S., Klomjek, P., Ratanasut, K., Sitdhipol, J., & Sarin, C. (2024). Occurrence of veterinary antibiotics in waste and environment of small-scale swine farms. ScienceAsia 50(2):ID 2024051: 1-8 |doi: 10.2306/scienceasia1513-1874.2024.051
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: Noinumsai, S., Klomjek, P., Ratanasut, K., Sitdhipol, J., & Sarin, C. (2023). Antibiotic Resistant Bacteria in Soil Receiving Wastes of Smallholder Swine Farms. Water, Air, & Soil Pollution, 234(10), 658.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Podong, C., Khamfong, K., Noinamsai, S., & Khatti, S. (2021). Carbon stock in agroforestry coffee plantations with different shade trees in highland area, Thailand. Eco. Env. & Cons. 27 (October Suppl. Issue): 2021; pp. (S1-S8).
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Podong, C., Ulbonsook, P., & Noinamsai, S. (2019). Evaluation of the Carbon Footprint of Fresh Durian Grown in an Agroforestry System in Uttaradit Province, Thailand. Thai Journal of Science and Technology, 9(3), 298-309. https://doi.org/10.14456/tjst.2020.20
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Podong, C., Noinamsai, S., Krivuttinun, Parinya. (2019). Assessment of Carbon Stock and the Potential Income of the Carbon Offset in Agroforestry System, Lablare District, Uttaradit Province. Journal of Science & Technology MSU. May/Jun2019, Vol. 38 Issue 3, p338-352. 15p.
อ้างอิง: ชาติ ทนง โพธิ์ดง, สุภาวดี น้อยน้ำใส, & สุ กัญญาขัตติ. (2019). การประเมินมูลค่าสิ่งแวดล้อมของการปลูก ทุเรียนในระบบวนเกษตรและระบบเกษตรเชิงพาณิชย์ จังหวัดอุตรดิตถ์. Journal of Science & Technology MSU, 38(4).
อ้างอิง: Noinumsai, S, Sangkam D and Wachirawongsakorn. (2019). Environmental Impact Assessment and Quality of Life of Communities around Landfill Site: A Case Study of Tha Phoe Sub-district, Muang District, Phitsanulok Province. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 12(2), 152-167.
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส, วัชรีญา ศรีอินทร์, ปิยะดา วชิระวงศกร. (2562). การกำจัดตะกั่วในน้ำเสียสังเคราะห์ด้วยตะกอนดินเซรามิกที่ปรับสภาพด้วยเถ้าแกลบดำ. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา ปี ที่ 24 (ฉบับที่ 3) กันยายน–ธันวาคม พ.ศ. 2562, 1130-1142
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2561).การประเมินพื้นที่ที่เหมาะสมสำหรับสถานที่ฝังกลบขยะมูลฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาลในจังหวัดอุตรดิตถ์ โดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร :  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2560. Page: 77-88
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Noinumsai, S. and Wachirawongsakorn, P. (2017). The Assessment of Suitable Sanitary Landfills Area in Uttaradit Province by Using Geograpic Information System. Naresuan University Journal: Science and Technology, (25)3: 77-88.
อ้างอิง: สร้อยดาว วินิจนันทรัตน์.(2560). การดูดซับกรดฮิวมิคด้วยเม็ดดูดซับจากตะกอนโรงผลิตน้ำประปา, วารสารวิทยาศาสตร์บูรพาปี ที่ 22 (ฉบับที่ 2) พฤษภาคม – สิงหาคม พ.ศ. 2560
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2560).การบำบัดน้ำเสียสีย้อมผ้าประเภทไดเร็กท์ด้วยกระบวนการตกตะกอนไฟฟ้าเคมี. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, Vol 18, No 1 (2017). Page: 30-39
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2559).การปรับปรุงตัวดูดซับฟอสเฟตในน้ำเสียด้วยตะกอนจากระบบผลิตน้ำประปา. วารสารวิทยาศาสตร์ มข., ปีที่ 44 ฉบับที่ 3 (2559). Page: 542-552
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส และสมสกุล รัตนกุญชร .(2559). การปรับปรุงตัวดูดซับฟอสเฟตในน้ำเสียด้วยตะกอนจากระบบผลิตน้ำ. 44(3), 542-552
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ด้วยการตกตะกอนไฟฟ้าเคมี สำหรับอาคาร 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ (รอการลงในวารสารสกลนคร)
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2561).ความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการจัดการสภาพแวดล้อมของแหล่งท่องเที่ยววัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. พระนคร ครั้งที่ 2, 2560. Page: 371-374
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2561).พฤติกรรมการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์ของประชาชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. พระนคร ครั้งที่ 2วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. พระนคร ครั้งที่ 2, 2560. Page: 375-378
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2561).การใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อหาพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการฝังกลบขยะมูลฝอยแบบถูกหลักสุขาภิบาลในเขตอำเภอเมืองจังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ วิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. พระนคร ครั้งที่ 2, 2560. Page: 379-382
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2561).การปนเปื้อนสารมลพิษในน้ำผิวดินบริเวณฝังกลบขยะมูลฝอยตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อม  นเรศวรครั้งที่ 2, 2560. Page: 290-295
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2557). การพัฒนาระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ด้วยการตกตะกอนไฟฟ้าเคมี. (บทคัดย่อ). เอกสารการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 1 “สานพลังปัญญา เพื่อพัฒนาสุขภาพ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใต้สังคมพหุวัฒนธรรม” มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ระหว่างวันที่ 26-27 มิถุนายน 2557 หน้า 64.
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2557). การตรวจวัดความเข้มข้นฝุ่นรวมภายในอาคาร กรณีศึกษาอาคารเรียนสาธารณสุขศาสตร์ ณ บริเวณพื้นที่ลำรางทุ่งกะโล่ จังหวัดอุตรดิตถ์. (บทคัดย่อ). เอกสารการประชุมวิชาการ “สิ่งแวดล้อมนเรศวร” ครั้งที่ 10 “ภูมิคุ้มกันของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ในวันที่ 30 ตุลาคม 2557
อ้างอิง: Noinumsai, S., 2014., The optimal condition of rice straw for biogas production . Poster of 3rd International Conference on Integration of Science and Technology for Sustainable Development, (ICIST 2014). Champasack University, Pakse, Champasack, Lao PDR November 27 - 28, 2014
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Noinumsai, S., 2013. Nitrate and Phosphate adsorption by Water Treatment Sludge Granule Coating with Cationic Surfactant and Chitosan, Proceedings of The 39th Congress on Science and Technology of Thailand, October21−23, 2013, Bangkok International Trade & Exhibition centre (BITEC) Bangna, Bangkok, Thailand. p.251.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: สุภาวดี น้อยน้ำใส (2554). การศึกษาองค์ประกอบธาตุของฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน ใน บริเวณเขตเมือง จังหวัดลำปาง. วารสารการประชุมวิชาการ 40 ปี เพื่อการพัฒนาที่ก้าวไกล มหาวิทยาลัยราชภัฏ ลำปางวันที่ 10 มิถุนายน 2554.
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: Noinumsai, S. (2008). Adsorption Efficiency Improvement of Water Treatment Sludge for Natural Color Adsorption in Aqueous Solution. Proceeding of the 1st of Energy, Environment and Materials Conference (EEM Conference), 1-5p.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
-
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อหนังสือ: สุภาวดี น้อยน้ำใส. (2562). พลังงานกับชีวิต (ENERGY AND LIFE). สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 240 หน้า.
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: Adsorbent form Municipal and Industrial Waste Treatment.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: Biogas reactor from biomass
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อสิ่งประดิษฐ์: ระบบบำบัดน้ำเสียเพื่อการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ด้วยการตกตะกอนไฟฟ้าเคมี
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.