ชื่อ-นามสกุล
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วชิระ วิจิตรพงษา  
 Asst. Prof. Wachira Wichitphongsa
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: wachira.tran@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา (ขนส่ง)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2556
2 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553
 
ความเชี่ยวชาญ
Transportation and Logistics Management
 
ความสนใจ
Transportation and Traffic Engineering, Highway Design and Construction, Transportation Modeling, Public Transport
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Wichitphongsa, W. and Ponanan K. (2020). A Development of Mode Choice Models for Modal Shift Potential Towards Intermodal transportation : A Case Study of vientiane–Boten R Ailway. ABAC Journal, 42(1), 222-236.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Sae-lee, P., Wichitphongsa, W., & Puongyaem, H. (2021). A Study of Attitudes and Affecting factors for Purchasing Herbal Cosmetics in Undergraduate Group in Phitsanulok Province to Penetrate the New Customers Group. Humanities and Social Sciences Journal of Pibulsongkram Rajabhat University, 15(2), 483-501. https://doi.org/10.14456/psruhss.2021.37
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Kronprasert, N., Kuwiboon, P., & Wichitphongsa, W. (2020). SAFETY AND OPERATIONAL ANALYSIS FOR MEDIAN U-TURN INTERSECTIONS IN THAILAND. International Journal of Geomate, 18(68), 156-163. doi:10.21660/2020.68.9250
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์. (2562). ปัจจัยที่มีผลกับการใช้พลังงานในการขนส่งในภาคเหนือของประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1(1), 46-67.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Wichitphongsa, W. (2017). Development of Fuzzy Random Utility Model for Travel Mode Choice by Rail Transport of Tourist in ASEAN Economic Community: A Case Study of Double-Track Rail link Den Chai - Chiang Rai. PARICHART JOURNAL, 31(3), 185-197.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Pochan, J., Wichitphongsa, W., Phongsaksri, J. & Boonthum, E. (2017). The Development of a Model for an Investment Feasibility Analysis of Transport Infrastructure in a University. Industrial Technology Lampang Rajabhat University Journal, 10(2), 24-37.
อ้างอิง: Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2017). The Assessment of Accident Risk at Highway-Railway Grade Crossing (HRGC): A Case Study of Khlong Ngae-Khuan Niang Train Station, Songkhla Province, Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social sciences (Rajabhat J. Sci. Humanit. Soc. Sci.), Vol. 19, No. 1, page 99-110;
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Settasuwacha, D., Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2016). The Study of Road Safety in Small Urban Area: A Case Study of Pai District, Mae Hongson Province. Journal of Srivanalai Vijai, 6(1), 129-141.
อ้างอิง: Pochan, J., Settasuwacha, D., Wichitphongsa, W., & Phongsaksri, J. (2016). An Analysis of the Proportion of Investment by the Mission for Excellence University Using Pair-Wise Comparison and Analytic Hierarchy Process. Journal of Srivanalai Vijai, 6(2), 1-10.
ปี พ.ศ. (-543)
อ้างอิง: Wichitphongsa, W and Klairung, P.(2022). A Development of Mode Choice Models for Modal Shift Potential Towards Intermodal Transportation: A Case Study of Vientiane - Boten Railway. ABAC Journal, 45 (1), 222-236.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Wichitphongsa, W and Klairung, P.(2022). A Development of Mode Choice Models for Modal Shift Potential Towards Intermodal Transportation: A Case Study of Vientiane - Boten Railway. ABAC Journal, 45 (1), 222-236.
อ้างอิง: D. Watnakornbuncha, A. Muangwai, W. Wichitphongsa, N. Amdee and C. Inthawongse, "Processing Cost Reduction of Lemon Products in Community Enterprises using Flexsim Simulation," 2022 IEEE International Conference on Industrial Engineering and Engineering Management (IEEM), Kuala Lumpur, Malaysia, 2022, pp. 0670-0674, doi: 10.1109/IEEM55944.2022.9989661.
อ้างอิง: เมืองไหว, อ., วิจิตรพงษา, ว., & โขนงนุช, ธ. (2022). การพัฒนาแบบจำลองระบบโลจิสติกส์และการตัดสินใจเลือกรูปแบบการเดินทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงเมืองมรดกโลกภาคเหนือตอนล่าง ประเทศไทย สู่เมืองหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 17(1), 131. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/uruj/article/view/245120
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: Wichitphongsa, W and Klairung, P.(2022). A Development of Mode Choice Models for Modal Shift Potential Towards Intermodal Transportation: A Case Study of Vientiane - Boten Railway. ABAC Journal, 45 (1), 222-236.
อ้างอิง: D. Watnakornbuncha, A. Muangwai, W. Wichitphongsa, N. Amdee and C. Inthawongse, "Processing Cost Reduction of Lemon Products in Community Enterprises using Flexsim Simulation," 2022 IEEE International Conference on Industrial Engineering and Engineering Management (IEEM), Kuala Lumpur, Malaysia, 2022, pp. 0670-0674, doi: 10.1109/IEEM55944.2022.9989661.
อ้างอิง: เมืองไหว, อ., วิจิตรพงษา, ว., & โขนงนุช, ธ. (2022). การพัฒนาแบบจำลองระบบโลจิสติกส์และการตัดสินใจเลือกรูปแบบการเดินทางท่องเที่ยวเชื่อมโยงเมืองมรดกโลกภาคเหนือตอนล่าง ประเทศไทย สู่เมืองหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 17(1), 131. Retrieved from https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/uruj/article/view/245120
อ้างอิง: 10th National Transport Conference, Thailand.
อ้างอิง: 2nd Thailand Rail Academic Symposium, Thailand.
อ้างอิง: The 21th National Convention on Civil Engineering, Thailand.
อ้างอิง: Thai value chain management & Logistics Conference 16 th
อ้างอิง: การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมครั้งที่ 2
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฏา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา: การศึกษาความปลอดภัยทางถนนในเขตชุมชนเมือง กรณีศึกษาอำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน, ศรีวนาลัยวิจัย, ปีที่ 6, ฉบับที่ 1, หน้า 129-141
อ้างอิง: เจษฏา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, วชิระ วิจิตรพงษา: การวิเคราะห์หาสัดส่วนการลงทุนตามพันธกิจเพื่อสนับสนุนการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศ โดยใช้การเปรียบเทียบเชิงคู่ และการวิเคราะห์เชิงลำดับชั้น, ศรีวนาลัยวิจัย, ปีที่ 6, ฉบับที่ 2, หน้า 1-10;
อ้างอิง: ประชุมวิชาการพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์. (2560). การพัฒนาแบบจาลองเพื่อประเมินผลกระทบด้านการจราจร ในมหาวิทยาลัย: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 3, 23-32
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ เจษฎากร โนอินทร์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางจักรยาน เพื่อส่งเสริมมาตรการเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ในเขตเทศบาลเมืองน่าน. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 3, 388-399
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา และ กฤษณะ กลิ่นดี (2560). การศึกษาพฤติกรรมการขับขี่รถยนต์ส่วนบุคคลเมื่อขับผ่านจุดตัดทางรถไฟ. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 3, 1-7
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การจัดลำดับความสำคัญของจุดติดตั้งอุปกรณ์สยบความเร็ว กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3, 164
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, หทัยธนก พวงแย้ม และ เพชรายุทธ แซ่หลี. (2560). การพัฒนาแบบจาลองการเลือกรูปแบบการเดินทางของนักท่องเที่ยวในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน : กรณีศึกษา รถไฟทางคู่สายเด่นชัย – เชียงราย. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3, 160
อ้างอิง: ชัยวัฒน์ แสงศรีจันทร์, กฤษณุ ศุภจิตรานนท์, ดุษฎี สถิรเศรษฐทวี, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2560). การศึกษาความเหมาะสมเพื่อปรับปรุงทางแยกในเขตสถานศึกษา กรณีศึกษา: สีแยกคณะมนุษย์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, 349-356
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, จุมพฏ พงศ์ศักดิ์ศรี และ เอกภูมิ บุญธรรม. (2560). การพัฒนาแบบจำลองแบบต่อเนื่องเพื่อวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุน โครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งในมหาวิทยาลัย. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 10 (2), 24-37
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4. 155.
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4. 155
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ นัฐพร นวกิจรังสรรค์. (2561). การพัฒนาแบบจำลองฟัซซีแรนดอมยูทิลิตีสำหรับการเลือกรูปแบบการเดินทางด้วยระบบรางของนักท่องเที่ยวระหว่างเมืองในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน: กรณีศึกษารถไฟทางคู่สายเด่นชัย – เชียงราย. วารสารปาริชาต, 31(3), 185-197
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การประเมินความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุบริเวณจุดตัดทางรถไฟ กรณีศึกษาสถานีรถไฟคลองแงะ-ควนเนียง จังหวัดสงขลา. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social sciences, 19(1), 99-110
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ นัฐพร นวกิจรังสรรค์. (2561). การพัฒนาแบบจำลองด้านการขนส่งตามวิธีการตัดสินใจแบบต่อเนื่อง 4 ขั้นตอน เพื่อคาดการณ์ปริมาณผู้โดยสารที่ใช้รถขนส่งสาธารณะในมหาวิทยาลัย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 37(6), 804-814.
อ้างอิง: ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ วชิระ วิจิตรพงษา. (2561). การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนนภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4, ประเทศไทย, 980-992.
อ้างอิง: Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2020). An Intercity Freight Mode Choice Model : A Case Study of High Speed Rail Link Northern Line Thailand (Bangkok – Chiangmai). MATEC Web of Conferences: 2019 8th International Conference on Transportation and Traffic Engineering (ICTTE 2019), New Zealand, 308, 1-5.
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์ และ เกรียงไกร อรุโณทยานันท์. (2562). ปัจจัยที่มีผลกับการใช้พลังงานในการขนส่งในภาคเหนือของประเทศไทย โดยใช้แบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1(1), 46-67.
อ้างอิง: Kronprasert, N., Kuwiboon, P., & Wichitphongsa, W. (2020). SAFETY AND OPERATIONAL ANALYSIS FOR MEDIAN U-TURN INTERSECTIONS IN THAILAND. International Journal of Geomate, 18(68), 156-163. doi:10.21660/2020.68.9250
อ้างอิง: Wichitphongsa, W and Klairung, P.(2021). A Development of Mode Choice Models for Modal Shift Potential Towards Intermodal Transportation: A Case Study of Vientiane - Boten Railway. ABAC Journal, 45 (1), 222-236.
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: D. Watnakornbuncha, A. Muangwai, W. Wichitphongsa, N. Amdee and C. Inthawongse, "Processing Cost Reduction of Lemon Products in Community Enterprises using Flexsim Simulation," 2022 IEEE International Conference on Industrial Engineering and Engineering Management (IEEM), Kuala Lumpur, Malaysia, 2022, pp. 0670-0674, doi: 10.1109/IEEM55944.2022.9989661.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Pochan, J., & Wichitphongsa, W. (2020). An Intercity Freight Mode Choice Model : A Case Study of High Speed Rail Link Northern Line Thailand (Bangkok – Chiangmai). MATEC Web of Conferences: 2019 8th International Conference on Transportation and Traffic Engineering (ICTTE 2019), New Zealand, 308, 1-5.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ปรีดา พิชยาพันธ์. (2562). แบบจำลองการเลือกรูปแบบการเดินทางของผู้ใช้บริการขนส่งสาธารณะ เพื่อส่งเสริมการเดินทางแบบไม่ใช้เครื่องยนต์ ในจังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ครั้งที่ 12, ประเทศไทย, 782-791.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เจษฎา โพธิ์จันทร์, วชิระ วิจิตรพงษา, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ สุดารัตน์ รัตนพงษ์. (2560). การจัดลำดับความสาคัญของจุดติดตั้งอุปกรณ์สยบความเร็วกรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 733-743.
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ เจษฎากร โนอินทร์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาโครงข่ายเส้นทางจักรยาน เพื่อส่งเสริมมาตรการเดินทางโดยไม่ใช้เครื่องยนต์ในเขตเทศบาลเมืองน่าน. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 3, ประเทศไทย, 388-399.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Wichitphongsa, W., Pochan, J., Jomnonkwao, S., & Pichayapan, P. (2016). The Mode Choice Models for Intercity Freight Transport: A Case Study of Thailand High-Speed Rail (Bangkok - Phitsanulok). The 16th Thai value chain management & Logistics Conference, Thailand.
อ้างอิง: วชิระ วิจิตรพงษา, ปรีดา พิชยาพันธ์, ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ และ เจษฎา โพธิ์จันทร์. (2559). แบบจำลองการประเมินโครงสร้างพื้นฐานด้านการขนส่งในเขตพื้นที่ชายแดน: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงราย. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2, ประเทศไทย, 68-75
อ้างอิง: สัจจากาจ จอมโนนเขวา, สุกฤษฎิ์ เพชรสวัสดิ์, วชิระ วิจิตรพงษา, เจษฎา โพธิ์จันทร์ และ ดลยฤทธิ์ เสฏฐสุวจะ. (2559). โมเดลการวัดคุณภาพการให้บริการรถขนส่งสาธารณะภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม: การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. การประชุมวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ครั้งที่ 2, ประเทศไทย, 61-67.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: กิตติ ขติยะสุนทร, ชนิดา ใสสุขสอาด, บุญยานุช ดำเนินนิรันดร์ อรรถวิทย์ อุปโยคิน และวชิระ วิจิตรพงษา. ปัจจัยที่มีผลต่การเลือกใช้ทางด่วนของจังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการขนส่งแห่งชาติ ครั้งที่ 10, 2559.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
การอบรม
-
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การพัฒนาแผนที่นำทางสำหรับระบบขนส่งอัจฉริยะเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวสีเขียวและโลจิสติกส์ในจังหวัดลำปาง" , สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การส่งเสริมและจัดการความรู้เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวตะเข็บชายแดน และระเบียงเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ” ระยะที่ 2 , สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การประยุกต์ใช้แบบจำลองพฤติกรรมการเดินทางระดับจุลภาคภายใต้พื้นที่เปราะบาง เพื่อบริหารจัดการแหล่งอาหารของเมืองภายใต้ความปรกติใหม่ประเทศไทย”, สนับสนุนโดยกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม งบประมาณเพื่อสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund)
ชื่อโครงการ: โครงการศึกษา “บูรณาการรูปแบบการพัฒนาสถานีเปลี่ยนถ่ายและกระจายสินค้าของประเทศเชื่อมโยงการขนส่งสินค้าหลายรูปแบบ และพัฒนาจุดพักรถบรรทุกบนโครงข่ายถนนสายหลักในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และพื้นที่ต่อเนื่องกรุงเทพมหานคร”, สนับสนุนโดยสำนักงานนโยบายและแผนการขนส
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “ต้นแบบกลไกการบูรณาการบริหารจัดการระหว่างการบริการเชิงสุขภาพ (Health Care) กับการท่องเที่ยวเชิงกอล์ฟ (Golf Tourism) , สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนวิจัยด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การส่งเสริมและจัดการความรู้เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวตะเข็บชายแดน และระเบียงเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ”, สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การศึกษาระบบโลจิสติกส์รองรับการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบที่เชื่อมโยงประเทศไทยกับกลุ่มประเทศภาคี ภายใต้ยุทธศาสตร์ เส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21”, สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การพัฒนาศักยภาพจุดผ่านแดน ไทย-ลาว”, สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนวิจัยด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การพัฒนาแผนที่นำทางสำหรับการขนส่งที่ชาญฉลาดและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จังหวัดอุตรดิตถ์”, สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การวิเคราะห์โครงสร้างโลจิสติกส์ขนส่งเพื่อการท่องเที่ยวในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ”, สนับสนุนโดยหน่วยบริหารและจัดการทุนวิจัยด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การศึกษาวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์เพื่อพัฒนาเมืองชายแดน บริเวณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะที่ 2”, สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การศึกษาเพื่อยกระดับระเบียงเศรษฐกิจ หลวงพระบาง อินโดจีน เมาะลำไย (LIMEC) ให้สอดคล้องกับกรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคทางเศรษฐกิจ อิรวดี เจ้าพระยา แม่โขง (ACMECS)”, สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การศึกษาเพื่อจัดทำแผนยุทธศาสตร์รองรับโครงการก่อสร้างรถไฟ ลาว จีน (ช่วงบ่อเต็น-เวียงจันทน์)”, สนับสนุนโดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การประเมินผลกระทบด้านการจราจรเพื่อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟความเร็วสูง : กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา”, สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยพัฒนา ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีรถไฟความเร็วสูงของประเทศไทย, สถาบันเท
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การศึกษาพฤติกรรมและความเหมาะสมในการเชื่อมต่อการเดินทางภายในสถานีรถไฟความเร็วสูง เพื่อรองรับกับสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย กรณีศึกษาโครงการรถไฟความเร็วสูงช่วงกรุงเทพฯ-นครราชสีมา”, สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยพัฒนา ทดสอบ และถ่ายทอดเทคโนโลยีรถไฟความเร
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมการใช้จักรยานในชีวิตประจำวัน (เมืองปั่นได้เมืองปั่นดี) เทศบาลเมืองน่าน จังหวัดน่าน
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การศึกษาโซ่อุปทานการท่องเที่ยวบนเส้นทางภาคเหนือตอนล่าง 1 ประเทศไทย และเมืองดานัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม”, ภายใต้โครงการ “การศึกษาโซ่อุปทานการท่องเที่ยวบนเส้นทางภาคเหนือตอนล่าง 1 ประเทศไทย และเมืองดานัง สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม”, สนับสน
ชื่อโครงการ: โครงการศึกษาแนวทางการแก้ไขข้อจำกัดของน้ำหนักรถบรรทุกอ้อยที่เหมาะสม”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.)
ชื่อโครงการ: โครงการวิจัย “การศึกษาวิเคราะห์ระบบโลจิสติกส์เพื่อพัฒนาเมืองชายแดน บริเวณจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์ ระยะที่ 1”, สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.)
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.