ชื่อ-นามสกุล
 อาจารย์นันทพันธ์ คดคง  
 Mr. Nanthaphan Kodkong
ตำแหน่ง: อาจารย์
ตำแหน่งบริหาร: รองคณบดีวิทยาการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น
สังกัดหน่วยงาน: คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: nanthaphan.k@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 รป.ม. (การบริหารจัดการภาครัฐ) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2558
2 รป.บ. (การบริหารจัดการภาครัฐ) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม 2556
 
ความเชี่ยวชาญ
รัฐประศาสนศาสตร์ (การบริหารรัฐกิจ), รัฐศาสตร์
 
ความสนใจ
การบริหาร/พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: การจัดการท่องเที่ยวโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ตำบลวังทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก วารสาร มจร พุทธปัญญาปริทัศน์ ปีที่6 ฉบับบที่1 (มกราคม-เมษายน2564)
อ้างอิง: Chot Bodeerat, Yuvadee Phongrod, Nanthaphan Khodkhong, Supattra Charoenphukdee Bodeerat (2021) The Development of Appropriate Universal Design Model in Muang Phitsanulok to Support Economic Growth, Society and Tourism. Elementary Education Online, 20 (5), 5095-5102.
อ้างอิง: นันทพันธ์ คดคง และคณะ (2564). นโยบายสาธารณะสำหรับผู้มีรายได้น้อยผ่านบัตรสวัวดิการแห่งรัฐสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น ปีที่7 ฉบับที่6
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: อนุพงษ์ คำพวง ,นันทพันธ์ คดคง (2563) รูปแบบการบริหารการ จัดการการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดย ชุมชน ในเขตอำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย การประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับชาติ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 2“อุดมศึกษาไทยในยุคดิสรัปชั่นการปรับตัวของมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ในสภาวะของความท้าทาย” มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: 1.นันทพันธ์ คดคง, วิศรุต แก้ววัน และ กัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ์. (2562).การศึกษาเจตคติและพฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของประชาชนในเขตชุมชนบ้านคลองพัฒนา ตำบลในเมือง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการและนิทรรศการ ระดับชาติ ครั้งที่ 1 ความสมดุลระหว่างสังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์. ปีที่ 1(1) : 1060-1068. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: นันทพันธ์ คดคง, โชติ บดีรัฐ และอุมาภรณ์ ยศเจริญ. (2561). การสร้างเครือข่ายทางการศึกษาอย่างมีส่วนร่วมในชุมชน ตำบลบึงทับแรต อำเภอลานกระบือ กำแพงเพชร. รายงานการประชุมสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ครั้งที่ 4 วันที่ 23 มีนาคม 2561 ณ ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์).
อ้างอิง: โชติ บดีรัฐ, นันทพันธ์ คดคง, และอุมาภรณ์ ยศเจริญ. (2561). การศึกษาการมีส่วนร่วมด้านภูมิปัญญาและศิลปวัฒนธรรมพื้นถิ่นของชุมชนตาลเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย : ประเพณีวิ่งว่าวพระร่วง (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)). รายงานการประชุมสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “Thailand 4.0 นวัตกรรมและการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน” ครั้งที่ 4 วันที่ 23 มีนาคม 2561 ณ ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์).
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: นันทพันธ์ คดคง และคณะ. (2559, กรกฎาคม – กันยายน). ประสิทธิภาพการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทางรัฐประศาสนศาสตร์ : กรณีศึกษา นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารโครงการปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. ปีที่ 1 (2) : 383-400.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบุลสงคราม
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
-
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: ยังอยู่ในช่วงของการรอนำเสนอ ในวันศุกร์ที่ 23 มีนาคม 2561 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม(ส่วนวังจัทน์)
อ้างอิง: อยู่ในระหว่างการนำเสนอ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (พิบูลสงครามวิจัยครั้งที่4)
อ้างอิง: ธีรภัทร์ พรายพร นรากรณ์ ค่ำาสว่าง พิษณุ กมลเสถียร พีรพล อนุวัตินาวี และนันทพันธ์ คดคง (2564). แนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น ชีววิถีตำบลไผ่ขอดอน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ กองการวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยนเรศวร เข้าถึงได้จาก: https://conference.nu.ac.th/nrc17/dFiles/final.pdf.
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: การศึกษาเเนวทางพัฒนาผลิตภัณฑ์ท้องถิ่นชีววิถี ของตำบลไผ่ขอดอน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: เเนวทางการบริหารจัดการเเหล่งท่องเที่ยวเชิงศิลปวัฒนธรรม อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย
อ้างอิง: แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนชีววิถีของ ตำบลไผ่ขอดอน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าขาวม้าเพื่อสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชน บ้านหนองหญ้าคมบาง ตำบลท่าหมื่นราม อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: รูปแบบการบริหารจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมโดยชุมชน อำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: นันทพันธ์ คดคง, โชติ บดีรัฐ, ยุวดี พ่วงรอด. (2562). การสำรวจรูปแบบการพัฒนารูปแบบอารยสถาปัตย์ที่เหมาะสมในเขตพื้นที่อำเภอเมืองพิษณุโลก เพื่อรองรับความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการท่องเที่ยว. กองทุนพัฒนาการวิจัยและบริหารจัดการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562.
อ้างอิง: โชติ บดีรัฐ, ยุวดี พ่วงรอด, นันทพันธ์ คดคง. (2562). การพัฒนารูปแบบอารยสถาปัตย์ที่เหมาะสมในเขตพื้นที่อำเภอเมืองพิษณุโลก เพื่อรองรับความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการท่องเที่ยว. กองทุนพัฒนาการวิจัยและบริหารจัดการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562.
อ้างอิง: ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนารูปแบบอารยสถาปัตย์ที่เหมาะสมของอำเภอเมืองพิษณุโลก เพื่อรองรับความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการท่องเที่ยว. กองทุนพัฒนาการวิจัยและบริหารจัดการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562.
อ้างอิง: ยุวดี พ่วงรอด, โชติ บดีรัฐ, นันทพันธ์ คดคง. (2562). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนารูปแบบอารยสถาปัตย์ที่เหมาะสมของอำเภอเมืองพิษณุโลก เพื่อรองรับความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการท่องเที่ยว. กองทุนพัฒนาการวิจัยและบริหารจัดการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562.
อ้างอิง: โชติ บดีรัฐ, ยุวดี พ่วงรอด, นันทพันธ์ คดคง. (2562). แนวทางการพัฒนารูปแบบอารยสถาปัตย์ที่เหมาะสมของอำเภอเมืองพิษณุโลก เพื่อรองรับความเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการท่องเที่ยว. กองทุนพัฒนาการวิจัยและบริหารจัดการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ทุนวิจัยเพื่อพัฒนานักวิจัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: การสร้างนวัตกรรมกาแฟเพื่อความเข้มแข็งและคุณภาพชีวิตชุมชนบ้านรักไทย ตำบลชมพู อำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: การจัดการท่องเที่ยวโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสัญจร "การขับเคลื่อนงานวิจัยเชิงพาณิชย์ด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา"
อ้างอิง: โครงการพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากร (Train the Trainers)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพการให้คำปรึกษาและส่งเสริมสุขภาวะด้านจิตใจสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา ภายใต้โครงการพัมนาทักษะอาจารย์ที่ปรึกษา ประจำปีการศึกษา2565
อ้างอิง: สัมมนาเชิงปฏิบัติการ Online Workshop Knight 410 Teacher
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อโครงการ: การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา (University as a Marketplace) โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์หมี่กรอบแม่เทียบ ตำบลบางกระทุ่ม อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก เพื่อเตรียมคัดสรรผลิตภัณฑ์โอทอป
ชื่อโครงการ: การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา (University as a Marketplace) การยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนพริกแกง เพื่อเตรียมคัดสรรผลิตภัณฑ์โอทอป กลุ่มสัมมาชีพบ้านท่าขอนเบน ตำบลหินลาด อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: โครงการที่ 1 : การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา (University as a Marketplace) การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์พืชสมุนไพรวิสาหกิจพืชสมุนไพรอัยย่ะ ต.คลองตาล อ.ศรีสำโรง จ.สุโขทัย
ชื่อโครงการ: ารยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา (University as a Marketplace) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาดาวเรืองและชาสมุนไพรร่วมกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์แบบบูรณาการร่วมกับถ้วยชาเซรามิกส์ เพื่อส่งเสริมการจัดจำหน่าย
ชื่อโครงการ: การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา (University as a Marketplace) การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์พุทธาเชื่อมคุณยาย ตำบลท่าหมื่นราม อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: การพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานราก (โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ตำบลเกาะตาเลี้ยง อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานราก (โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ตำบลดินทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาชุมชนแบบบูรณาการ (โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพศูนย์การเรียนรู้ชุมชนต้นแบบตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงในตำบลท่าตาล อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาชุมชนแบบบูรณาการ(โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนแบบบูรณาการ ด้วยการสร้างการเรียนรู้ และพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นภายใต้แนวคิด (BCG Model) ของตำบลไผ่ขอดอน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก)
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อโครงการ: การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนท้องถิ่นเพื่อขยายตลาดภูมิปัญญา (University as a Marketplace) การยกระดับและพัฒนาผลิตภัณฑ์แหนมหมูของชุมชนแก่งซอง
ชื่อโครงการ: การพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานราก (การพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจฐานรากสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงตำบลดินทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานราก(พัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจฐานรากสู่หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงตำบลเกาะตาเลี้ยง อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาชุมชนแบบบูรณาการ(การพัฒนาชุมชนแบบบูรณาการ)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาชุมชนแบบบูรณาการ (โครงการการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ด้านศิลปวัฒนธรรม ตำบลไผ่ขอดอน อ.เมือง จ.พิษณุโลก)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาและออกแบบบรรจุภัณฑ์ ตราสินค้า และข้อความที่สื่อถึงอัตลักษณ์ชุมชนอันมีวัตถุดิบผลิตภัณฑ์ปลาน้ำจืด หมู่ที่ 2 ตำบลไผ่ขอดอน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.