ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง  
  Asst. Prof. Dr. Chanikan Junmatong
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: chanikanjunmatong@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ด. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2556
2 วท.ม. (ชีววิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2551
3 วท.บ. (ชีววิทยา) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2548
 
ความเชี่ยวชาญ
Plant Physiology, Postharvest Technology, Plant Biochemistry
 
ความสนใจ
Postharvest Technology and Plant Physiology, Stress Physiology
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: สนธยา นุ่มท้วม*, เสาวลักษณ์ รุ่งแจ้ง, ชญาณิศ ศรีงาม, รังสรรค์ เจริญสุข, จุฑาพร หงส์ผาทอง, พัชรพล ทองคำ, และ ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง. 2565. การวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีในยอดอ้อยแบบรวดเร็วด้วยเนียร์อินฟราเรดสเปกโตรสโคปี. วารสารเกษตรนเรศวร ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (2022): มกราคม - มิถุนายน 2565.
อ้างอิง: กัญญารัตน์ เหลืองประเสริฐ, ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง และ ไกรยศ แซ่ลิ้ม. 2565. ผลของระยะเวลาการให้แสงต่อการเติบโตของไมโครกรีนผักบุ้ง. PSRU Journal of Science and Technology 7(3): 35-46.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Rungchang, S., Numthuam, S., Charoensook, R., Thongkum, P. and Junmatong, C. 2018. Method Development for Pesticide Determination in Paddy Rice Using Near Infrared Spectroscopy. International Journal of Agricultural Technology Vol. 14(1): 123-129.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง (2560).ผลของการแช่เมล็ดในกรดซาลิซิลิกต่อการงอกของเมล็ด การเติบโต และศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระของต้นอ่อนถั่วลันเตา. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี , 2560, Vol 25, No 1. Page: 102-109
อ้างอิง: ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง (2560).ผลของการแช่เมล็ดด้วยกรดซาลิซิลิกต่อความงอกของเมล็ด การเจริญเติบโตและศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระของต้นอ่อนทานตะวัน. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์, ปีที่ 4 ฉบับที่ 4. Page: 36-40
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Junmatong C, Faiyue B, Rotarayanont S, Uthaibutra J, Boonyakiat D, Saengnil K (2015) Cold storage in salicylic acid increases enzymatic and non-enzymatic antioxidants of Nam Dok Mai No. 4 mango fruit. ScienceAsia 41, 12–21.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: Junmatong C, Uthaibutra J, Boonyakiat D, Faiyue B, Saengnil K (2012) Reduction of chilling injury of ‘Nam Dok Mai No. 4’ mango fruit by treatments with salicylic acid and methyl jasmonate. J Agr Sci 4, 126–136.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
-
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วรรณษา บุญพรม, ชุตาภรณ์ นิธิตะวัน, จิราวรรณ คงอยู่, อังค์วรา เขียวเมือง, รพิพรรณ จันทร์มะณี, กุลวดี ปิ่นวัฒนะ, พดารัตน์ นิลเจียรนัย, ภรภัทร สำอางค์, อนุรักษ์ จิตต์บึงพร้าว และ อัญชนา ปรี รีชาวรพั พันธ์ ธ์. (2566). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟีนอลิกรวม และปริมาณฟลาโวนอยด์รวมของสารสกัดกระชายด้วยเทคนิคอัลตราโซนิคด้วยตัวทำละลายที่เป็นมิตรสิ่งแวดล้อม. ใน การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติ ครั้งที่ 1 1 – 2 มิถุนายน พ.ศ. 2566 ณ โรงแรมเซ็นทารา ริเวอร์ไซด์ เชียงใหม่
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: การประชุมวิชาการ งานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 14 ในระหว่างวันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2559 ณ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จ. พิษณุโลก
อ้างอิง: การประชุมวิชาการ พืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 15 ในระหว่างวันที่ 9-12 พฤศจิกายน 2559 ณ โรงแรม ลี การ์เดนส์ พลาซ่า อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
อ้างอิง: วารุณี จอมกิติชัย และ ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง. 2560. ความสัมพันธ์ระหว่างความเสียหายของเมมเบรนและการเกิดเปลือกสีน้้าตาลของผลลองกองระหว่างการเก็บรักษาที่อุณหภูมิห้อง. การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ครั้งที่ 11 วันที่ 3-4 สิงหาคม 2560 ณ โรงแรมวินเซอร์ สวีทส์ กรุงเทพมหานคร.
อ้างอิง: นัชรีภรณ์ สีแสง และ ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง. 2562. ผลของสารเคลือบผิวจากเปลือกส้มโอและว่านหางจระเข้ต่อการเก็บรักษาพริกชี้ฟ้า. การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ประจำปี 2562. วันที่ 15 มีนาคม 2562.
อ้างอิง: กิตติมา เป็งแห และ ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง. 2562. ผลของการให้ความร้อนต่อศักยภาพรวมในการต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟีนอลิคทั้งหมดในคะน้าเม็กซิโก (Cnidoscolus aconitifolius). การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ประจำปี 2562. วันที่ 15 มีนาคม 2562.
อ้างอิง: ธิดารัตน์ นิลทกาล และ ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง. 2562. ผลของสารสกัดจากใบพลูและชะพลูต่อการงอกของเมล็ดและการเจริญเติบโตของต้นกล้าข้าวและถั่วเขียว. การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ประจำปี 2562. วันที่ 15 มีนาคม 2562.
อ้างอิง: นัทชา ยาทา และ ชนิกาญจน์ จันทร์มาทอง. (2562). ผลของการต้มและการนึ่งต่อศักยภาพในการต้านอนุมูลอิสระและปริมาณสารประกอบฟีนอลิคของผักโขม. The 2nd Suan Sunandha National and International Academic Conference on Science and Technology; SsSci 2019. หน้า 5-50-5-59.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพจากทุนชุมชนเพื่อการสร้างรายได้กระตุ้นเศรษฐกิจชุมชน และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลพลายชุมพล อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การพัฒนาศักยภาพบุคคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ เพื่อมุ่งสู่การเป็น Talent Pioneer ภายใต้ “โครงการศึกษาเพื่อยกระดับระบบบริหารจัดการทรัพยากรการพัฒนาความร่วมมือกับภาคเอกชน และการพัฒนาศัยกภาพบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
อ้างอิง: โครงการจัดการความรู้ KM เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวข้อการพัฒนาโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุน งบประมาณในโครงการสำคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.