ชื่อ-นามสกุล
   
ตำแหน่ง: -
สังกัดหน่วยงาน: -
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: -
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (พฤกษศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2560
2 วท.ม. (วิทยาศาสตร์ชีวภาพป่าไม้) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2556
3 วท.บ. (วนศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2554
 
ความเชี่ยวชาญ
ระบบอนุกรมวิธานพืช, พฤกษเคมีเชิงเปรียบเทียบ, สัณฐานวิทยาของพืช, นิเวศวิทยา, ระบบนิเวศป่าไม้
 
ความสนใจ
Plant chemotaxonomy, Antibacterial activity, Phylogeny, วงศ์วานวิวัฒนาการ, เทคโนโลยีโครมาโทกราฟีการสกัด, การทำบริสุทธิ์สารสำคัญจากพืช, การควบคุมทางชีวภาพในวัชพืชและพืชรุกราน, ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดสมุนไพรในแบคทีเรียดื้อยา, เทคนิคการเตรียมตัวอย่างสำหรับไมโครสโคป FE-SEM, พฤกษศาสตร์พื้นบ้าน
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Napiroon T, Chayamarit K, Dawson S, Till W, Balslev H (2020) A synopsis of Lasianthus (Lasiantheae, Rubiaceae) in Thailand and two additional new species. Phytotaxa 439(1): 1-38. DOI: http://dx.doi.org/10.11646/phytotaxa.439.1.1 (Web of Science: Q2)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Napiroon T., Tanruean K. and Vajrodaya S. Comparative phytochemical evaluation and biological control properties from Lasianthus verticillatus (Lour.) Merr. (Rubiaceae) extracts. Research Journal of Biotechnology, 2019; 14(10): 41-49. (Scopus Q4)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: • Napiroon T., Poopath M., Duangjai S., Balslev H. & Vajrodaya S. Lasianthus yalaensis (Rubiaceae) a new species from peninsular Thailand. Phytotaxa, 2018; 364(2): 172-180. (Web of Science Q2)
อ้างอิง: • Napiroon T., Bacher M., Balslev H., Thawaitakham K., Santimaleeworagun W. & Vajrodaya S. Scopoletin from Lasianthus lucidus Blume (Rubiaceae): a potential antimicrobial against multidrug-resistant Pseudomonas aeruginosa. J. Appl. Pharm. Sci., 2018; 8(9): 001-006.(Scopus Q2)
อ้างอิง: • Napiroon T., Chamchumroon V., Balslev H. & Chayamarit K. Lasianthus purpureocalyx (Rubiaceae) a new species from southern Thailand. Ann. Bot. Fennici, 2018; 55: 83-86.(WEb of Science Q2)
อ้างอิง: • Napiroon T., Balslev H., Poopath M., Chamchumroon V., Vajrodaya S. & Chayamarit K. Three new taxa and a new record of Lasianthus (Rubiaceae) in Thailand. Ann. Bot. Fennici, 2018; 55: 207-216.(Web of Science Q2)
อ้างอิง: • Napiroon T., Vajrodaya S., Duangjai S., Santimaleeworagun W., Chayamarit K., Bacher M. and Balslev H. Molecular phylogenetic of medicinal Lasianthus (Rubiaceae) and its bioactive compound effect on bacterial cell wall. TJPS, 2018; 42 (Supplement issue): 145-148. (Scopus Q3)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: •Napiroon T., Balslev H., Duangjai, S., Sookchaloem D., Chayamarit K., Santimaleeworagun W. and Vajrodaya S. Antibacterial property testing of two species of tropical plant Lasianthus (Rubiaceae). Southeast Asian J. Trop. Med. Public Health, 2017; 48(1): 117-123. (Web of Science Q3)
อ้างอิง: Napiroon T, Vajrodaya S, Santimaleeworagun W, Balslav H, Chayamarit K (2017) Antibacterial Activity of Three Medicinal Lasianthus (Rubiaceae) Extracts on Human Resistant Pathogenic Bacteria. Eur Exp Biol. Vol. 7 No. 6:37. doi: 10.21767/2248-9215.100037 (Google Scholar)
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: • Napiroon T., Sookchaloem D. & Vajrodaya S. Effect of Lipophilic Extract from Lasia spinosa (L.) Thwaites (Araceae) on Seed Germination and Seedling Growth of the Invasive Plant Mimosa diplotricha C. Wright ex Sauvalle. Kasetsart J. (Nat. Sci.), 2014; 48: 696-703. (Scopus Q3)
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Napiroon T., Tanruean K., Bacher M., Poolprasert P., Balslev H. and Santimaleeworagun. Extract fractionation and purification of Lasianthus (Rubiaceae) species related to infection treatment in Thai traditional uses. The 35th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences & CU-MPU International Collaborative Research Conference
อ้างอิง: Napiroon T., Duangjai S., Poolprasert P., Tanruean K., Poopath M. and Santimaleeworagun W. Assessing the possibility of candidate DNA barcodes and chemical profiles supporting the systematics of medicinal Lasianthus (Rubiaceae). International Conference on Biodiversity 2019. Centara Grand at Central World, Bangkok, Thailand
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: Tiwtawat Napiroon, Keerati Tanruean, Markus Bacher, Pisit Poolprasert, Henrik Balslev, Wichai Santimaleeworagun (2019). Extract fractionation and purification of Lasianthus (Rubiaceae) species related to infection treatment in Thai traditional uses. 35TH INTERNATIONAL ANNUAL MEETING IN PHARMACEUTICAL SCIENCES & CU-MPU INTERNATIONAL COLLABORATIVE RESEARCH CONFERENCE. March 8, 2019 at Eastin Hotel (Makkasan), Bangkok, Thailand. pp. 84
อ้างอิง: Napiroon, T., Duangjai, S., Poolprasert, P., Tanruean, K., Poopath M. and Santimaleeworagun, W. (2019). Assessing the possibility of candidate DNA barcodes and chemical profiles supporting the systematics of medicinal Lasianthus (Rubiaceae). International Conference on Biodiversity (IBD 2019) 22-24 May 2019, Centara Grand & Bangkok Convention Centre at CentralWorld, Bangkok, Thailand
อ้างอิง:
อ้างอิง: วรรณนิศา แสงเงิน, กีรติ ตันเรือน, กู้เกียรติ ก้อนแก้ว, ทิวธวัฒ นาพิรุณ, วิษณุ ธงไชย, มานิสา กองแก้ว, และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดกระทกรก Passiflora foetidaต่อหนอนกระทู้ข้าวโพด Spodoptera frugiperda. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 15 หน้า 598-603.
อ้างอิง: สุพรรษา ด้วงรอด, อภิสิทธิ์ หัดไทยทระ, กีรติ ตันเรือน, ทิวธวัฒ นาพิรุณ, วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. การใช้สารสกัดจากถั่วเหลืองฝักสดเป็นสารล่อแมลงในนาข้าว. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13. หน้า 1,392- 1,402.
อ้างอิง: ภาวนา ประเสริฐทรัพย์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน. 2562. การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตแป้งข้าวรูพรุนโดยใช้วิธีพื้นผิวตอบสนอง. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13. หน้า 1,006-1,013.
อ้างอิง: สุภัค คนดารา, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, สราวุฒิ สิทธิกูล, อรรถพล นาขวา, เรืองวุฒิ ชุติมา, ชนิกานต์ ค้มุนก, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และกีรติ ตันเรือน. 2562. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบของฝอยทองต่อการควบคุมไรไข่ปลาในเห็ดหูหนู. รายงานการประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2. 5:21-30.
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: การพัฒนาการใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพรพังแหร (Trema orientalis Linn. Blume) วงศ์กัญชา (Cannabaceae) ที่มีฤทธิ์ต่อแบคทีเรียดื้อยาสาเหตุโรคติดเชื้อในประเทศไทย (ทุนวิจัยมุ่งเป้า 2563 แหล่งทุน สวก.: หัวหน้าโครงการวิจัย)
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: วุฒิบัตรผ่านการฝึกอบรม โครงการสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ รุ่นที่ 7 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมการตรวจคุณภาพสมุนไพรด้วยเทคนิค HPTLC ขั้นพื้นฐาน คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ้างอิง: วุฒิบัตรผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการ มาตรฐานการปกป้องอาสาสมัครในงานวิจัย คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อรางวัล: การนำเสนอภาคโปสเตอร์ดีเด่น Best Poster Presentation Award with a prize money in Tiltle: Assessing the possibility of candidate DNA barcodes and chemical profiles supporting the systematics of medicinal Lasianthus (Rubiaceae) (International Conference on B
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: การนำเสนอภาคโปสเตอร์ดีเด่น The Outstanding Presentation Award Tiltle: Molecular phylogenetic of medicinal Lasianthus (Rubiaceae) and its bioactive compound effects on bacterial cell wall (34th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences IA
ชื่อรางวัล: โล่เกียรติคุณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เนื่องในงานวันสถาปนาคณะวิทยาศาสตร์ 26 กุมภาพันธ์ 2561 (นิสิตที่ได้รับรางวัลจากองค์ภายนอก ระดับนานาชาติ)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: การนำเสนอภาคโปสเตอร์ดีเด่น The Outstanding Poster Presentation Award Tiltle: Antibacterial effect of three medicinal Lasianthus (Rubiaceae) species related to infectious diseases in Asian traditional uses” (33rd International Annual Meeting in Pharmac
ชื่อรางวัล: โล่เกียรติคุณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เนื่องในงานวันสถาปนาคณะวิทยาศาสตร์ 9 มีนาคม 2560 (นิสิตที่ได้รับรางวัลจากองค์ภายนอก ระดับนานาชาติ)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: โล่เกียรติคุณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เนื่องในงานวันสถาปนาคณะวิทยาศาสตร์ 9 มีนาคม 2559 (นิสิตที่ได้รับรางวัลจากองค์ภายนอก ระดับนานาชาติ)
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หนังสือรับรองหลังปริญญาเอก Postdoc Certificate from Department of Biology, Aarhus University, Denmark
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: อนุสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ เลขที่ 15956 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ (กรรมวิธีการผลิตสารที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียจากใบและเปลือกต้นหมักม่อ)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: อนุสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ เลขที่ 14069 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ (กระบวนการผลิตสารสโคโปเลตินปริมาณสูงจากเปลือกต้นปัดน้ำเงิน Lasianthus lucidus Blume)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: อนุสิทธิบัตรสิ่งประดิษฐ์ เลขที่ 11840 กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ (กระบวนการผลิตสารสกัดจากใบ และเปลือกต้น ของปัดขนค่าง (Lasianthus pilosus Wight) และปัดน้ำเงิน (Lasianthus stipularis Blume) ที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย Pse
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.