ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ  
  Asst. Prof. Dr. Supattra-Charoenpakdee Bodeerat
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ตำแหน่งบริหาร: ผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267104
อีเมล์: supattra.c@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ด. (ความหลากหลายทางชีวภาพและชีววิทยาชาติพันธุ์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2552
2 วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพพืชสวน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2547
3 วท.บ. (เกษตรศาสตร์พืชสวน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2543
 
ความเชี่ยวชาญ
fungal taxonomy, fungal diversity, การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต, เทคโนโลยีชีวภาพ/ชีววิทยา, Agriculture, Culture
 
ความสนใจ
fungal utilization, การเพิ่มผลผลิตของพืชด้วยสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต, Health Promotion Inovation for nursing, Functional Foods and Functional ingredients
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ศักดนัย อภินันทโน สุจิตรา สมบูรณ์ และสุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2566). การฟื้นฟูย่านเก่าตลาดวัฒนธรรม ตลาดใต้ในเทศบาลนครพิษณุโลกสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์. การถอดองค์ความรู้เชิงลึกพิบูลวิทยศิลป์, 1(1), 1-4.
อ้างอิง: ประโยชน์ ลูกพลับ และสุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2566). การผลิตกลองมังคละสู่ผลิตภัณฑ์ของที่ระลึกตำบลจอมทอง จังหวัดพิษณุโลก. การถอดองค์ความรู้เชิงลึกพิบูลวิทยศิลป์, 1(1), 5-8.
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ น้ำทิพย์ วงษ์ประทีป และอิสราภรณ์ ใบวุฒิ. (2566). น้ำตาลสดไร่ตาล: ผลิตภัณฑ์ใหม่เสริมการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านน้ำคบ ตำบลบ้านยาง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก. การถอดองค์ความรู้เชิงลึกพิบูลวิทยศิลป์, 1(1), 15-18.
อ้างอิง: รสสุคนธ์ ประดิษฐ์ อเนก สุขดี บุษบา หินเธาว์ ยุวดี พ่วงรอด และสุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2566). การศึกษาภูมิปัญญาการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติของชุมชนบ้านกร่าง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. การถอดองค์ความรู้เชิงลึกพิบูลวิทยศิลป์, 1(1), 19-22.
อ้างอิง: สมศรี ทาสุทะ สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ และยุวดี พ่วงรอด. (2566). การอนุรักษ์การตัดกระดาษ (พวงมโหตร) ผ่านจิตปัญญาศึกษาของเยาวชนชุมชนวัดจันทร์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. การถอดองค์ความรู้เชิงลึกพิบูลวิทยศิลป์, 1(1), 23-25.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Bodeerat C. & Bodeerat S.C. (2021). Diversity of Ecosystem and Local Wisdoms Related to Local Lifestyle at Khameun Watershed in Phu Hin Rongkla National Park, Phitsanulok Province. Elementary Education Online, 20(5), 1010-1020. doi: 10.17051/ilkonline.2021.05.110
อ้างอิง: Bodeerat C., Phongrod Y., Khodkhong N., Bodeerat S.C. (2021). The Development of Appropriate Universal Design Model in Muang Phitsanulok to Support Economic Growth, Society and Tourism. Elementary Education Online, 20(5), 5095-5102. doi:10.17051/ilkonline.2021.05.571
อ้างอิง: อรทัย จุ่งใจ และ สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2564). ผลของค่ากรด-ด่างในดินต่อการปรากฏของราอาร์บัสคูลาร์ไมคอร์ไรซา , PSRU Journal of Science and Technology, 6(2): 123-137.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2562). การแก้การพักตัวและวัสดุเพาะที่เหมาะสมต่อต้นกล้ามะกล่ำต้น (Adenanthera pavonina L.). วารสารเกษตรพระจอมเกล้า, 37(1), 123-134.
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2562). มหัศจรรย์แห่งข้าว: วิถีชีวิตและภูมิปัญญา. จุลสารศิลป์พิบูล. 1(2), 1-13.
อ้างอิง: ยุวดี พ่วงรอด, โชติ บดีรัฐ, สุพัตรา บดีรัฐ และ รสสุคนธ์ ประดิษฐ์. (2562). แนวทางการจัดทำแผนแม่บทชุมชนต่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศ ภูมิปัญญาและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ป่าต้นน้ำขมึน โดยเน้นกระบวนการมีส่วนร่วม. วารสารสหวิทยาการวิจัย ฉบับบัณฑิตศึกษา. 8(2), 92-103.
อ้างอิง: โชติ บดีรัฐ, สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ, ยุวดี พ่วงรอด, รสสุคนธ์ ประดิษฐ์. (2562). การศึกษาความหลากหลายทางภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการอนุรักษ์และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ป่าต้นน้ำขมึนเขตอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้าอําเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. วารสารการบริหารท้องถิ่น. 12(4), 548-563.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2561). นิเวศวิทยาของเห็ดเผาะในพื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 20(3), 124-133.
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ และโชติ บดีรัฐ. (2561). การฟื้นฟูประเพณีกวนข้าวทิพย์ของวัดตาปะขาวหาย อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก, วารสารศิลปวัฒนธรรมศิลป์พิบูล, 1(1), 13-17.
อ้างอิง: โชติ บดีรัฐ และสุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2561). ประเพณีวิ่งว่าวพระร่วงของชุมชนตาลเตี้ย อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย, วารสารศิลปวัฒนธรรมศิลป์พิบูล, 1(1), 10-12.
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ, พัชรีภรณ์ ทิมขาว, ณัฐพล บาลี, และ เนติ เงินแพทย์. 2561. การศึกษาสาหร่ายในแหล่งน้ำจืดในพื้นที่มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ทรัพยากรหลายหลาก: ท้องถิ่นไทยได้ประโยชน์. 2-3 สิงหาคม 2561. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. จังหวัดอุตรดิตถ์.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี. 2557. Using animal manual to growth lettuce (Lactuca sativa L.) in a Homemade Hydroponics System. วารสารวิจัย มข. ปีที่ 19 ฉบับพิเศษ ประจำเดือน มกราคม - กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557. Page: 256-261
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี. 2555. Asbuscular Mycorrhizal Fungi for Jatropha Production. , Jatropha, Challenges for a New Energy Crop 2012 Voloum 1 ; Farming, Economics and Biofuel. Page: 263-279
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี. 2554. ผงของชนิดหัวเชื้อต่อการปลดปล่อยธาตุอาหารระหว่างการหมักน้ำสกัดชีวภาพ. วารสารวิทยาศาสตร์, 2554. Page: 42-57
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี (2557).ความหลากชนิดของราอาร์บัสคูลาร์มายคอร์ไรซาตัวบ่งชี้ชีวภาพในดินบริเวณรอบรากข้าวไร่ในจังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการ"สิ่งแวดล้อมนเรศวร ครั้งที่ 10", 2557. Page: 1-9
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี (2557).ปัจจัยทางกายภาพต่อความสูงของต้นมะกล่ำต้น (Adenanthera pavonina L.). การประชุมวิชาการ"สิ่งแวดล้อมนเรศวร ครั้งที่ 10", 2557. Page: 10-15
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี (2557).แหล่งของสารละลายธาตุอาหารต่อการเติบโตของผักกาดหอมในระบบไฮโดรโปนิกส์. การประชุมวิชาการ, 2557. Page: 49-54
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: NICIHSS 1/2016 at Rattana Park Hotel, Phitsanulok, Thailand on 10 th June 2016
อ้างอิง: 2nd UKM มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การประชุมทางวิชาการเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 14 “เกษตรและสุขภาพ” (Agriculture and Health) วันที่ 1 - 2 พฤศจิกายน 2559 ณ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3 23 - 24 มีนาคม 2560 ณ ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์)
อ้างอิง: เป็นผู้ร่วมนำเสนอในงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 14 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ โชติ บดีรัฐ ยุวดี พ่วงรอด หนึ่งฤทัย ศรีสุกใส และ พรศักดิ์ วงศ์มหา. (2561). ความคิดเห็นของประชาชนต่อการพัฒนาภูมิปัญญารากบัวเชื่อมของชุมชนทับกฤช อำเภอชุมแสง จังหวัดนครสวรรค์. งานประชุมพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 4.
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2562). ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการสอนมารยาทไทยในรายวิชาความจริงของชีวิต. โครงการสัมมนาการเรียนรู้ เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา UKM ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก.
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2562). ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมด้านความปลอดภัยของผู้ที่เกี่ยวข้องกับห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ที่ใช้สารเคมีในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. งานประชุมวิชาการระดับชาติ “ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม ประเทศไทย 2562 และสัปดาห์แห่งความปลอดภัย (NU SAFETY WEEK 2019) ในระหว่างวันที่ 26-29 มิถุนายน 2562 ณ อาคารเอกาทศรถ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อ้างอิง: สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ. (2562). ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการสอนมารยาทไทยในรายวิชาความจริงของชีวิต. โครงการสัมมนาการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาครั้งที่ 1 (5th UKM) ประจำปี 2562 ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร E-library วันที่ 25 มิถุนายน 2562 สำนักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: ยุวดี พ่วงรอด, สุพัตรา เจริญภักดี บดีรัฐ, ธัญญพร มาบวบ, ภาวิดา มหาวงศ์, อุษา อินทร์ประสิทธิ์ และกุสุมา ยกชู. (2565). การพัฒนาลวดลายผ้าทอมือจากสีย้อมธรรมชาติ เพื่อสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์และจัดทำแหล่งเรียนรู้อัตลักษณ์ด้านมรดกภูมิปัญญาผ้าทอมือในชุมชนบ้านกร่าง อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์) จังหวัดพิษณุโลก.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาลวดลายผ้าทอมือจากสีย้อมธรรมชาติ เพื่อสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ และจัดทำแหล่งเรียนรู้อัตลักษณ์ด้านมรดกภูมิปัญญาผ้าทอมือชุมชนบ้านกร่าง
อ้างอิง: โครงการสืบสาน อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ชุมชนบ้านลาดบัวขาว ตำบลสมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: ชุดโครงการการสร้างอัตลักษณ์และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีจากธรรมชาติของชุมชนตำบลบ้านยาง อำเภอวัดโบสถ์ จังหวัดพิษณุโลก เพื่อยกระดับวิถีชีวิตและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
อ้างอิง: โครงการอนุรักษ์สืบสานและถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่เยาวชนในเขตพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการสืบค้นความเป็นมาและสร้างแหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของโครงการวิจัยด้วยการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ณ ห้องปางอุบล วังจันทน์ ริเวอร์วิว โดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: รู้รักษ์ลงรักปิดทองลายรดน้ำโบราณ โดย สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการบริหารงานแบบ Office Automation โครงการจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีดิจิตัล อาคารศูนย์ภาษาและคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ กิจกรรม : เขียนอย่างไรไม่ให้ Plagiarism ณ ห้อง Meeting Hall ชั้น 4 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: ทุนฝึกอบรมระยะสั้นในต่างประเทศของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ประจำปี 2556ระหว่างวันที่ 8 เมษายน – 31 กรกฎาคม 2557 School of Environmental and Rural Science, Agronomy and Soil Science, University of New England, Armidale. NSW Australia
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: ทุนอบรมอาจารย์ใหม่ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (Study Tour Award for Young Lecturer of Pibulsongkram Rajabhat University) เรื่อง Teaching and Learning Science 23 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2553 ณ University of Technology ณ นครซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: ทุนวิจัยระยะสั้นของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง Methods for Studying the Molecular Ecology of Arbuscular Mycorrhizal Fungi. 5 พฤษภาคม – 1 สิงหาคม 2551 ณ Department of Crop and Soil Science, Cornell University ณ นครนิวยอร์ก ประเทศสหรัฐอเมริกา
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: การฟื้นฟูประเพณีกวนข้าวทิพย์แก่ชุมชนวัดตาปะขาวหาย ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ปีที่ 2 วันที่ 17 พฤษภาคม 2562
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: การฟื้นฟูประเพณีกวนข้าวทิพย์แก่ชุมชนวัดตาปะขาวหาย ตำบลหัวรอ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ปีที่ 1 วันที่ 28 พฤษภาคม 2561
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
ชื่อหนังสือ:
Jatropha, Challenges for a New Energy Crop
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อรางวัล: รางวัลชมเชยโครงการสัมมนาการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาครั้งที่ 1 (5th UKM) ประจำปี 2562 เรื่อง ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อการสอนมารยาทไทยในรายวิชาความจริงของชีวิต ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร E-library วันที่ 25 มิถุนายน 2562 สำนักวิทยบริการ มรพส
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: รางวัลผลงานวิจัยดีมากแบบโปสเตอร์ เรื่อง ลักษณะประจำพันธุ์ของข้าวพื้นเมืองในตำบลเนินเพิ่ม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ในการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 4 (HERP CONGRESS IV) ระหว่างวันที่ 8-10 กุมภาพันธ์ 2559 ณ หอประชุมไพรพะยอม มหาว
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อรางวัล: รางวัลรองชนะเลิศอันดับหนึ่งโครงการสัมมนาการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษาครั้งที่ 1 (1st UKM) ประจำปี 2558 เรื่อง เจตคติที่มีต่อการนำเสนองานวิจัยในรายวิชาปัญหาพิเศษจุลชีววิทยา วันที่ 25 พฤษภาคม 2558 ณ ห้องประชุมชั้น 4 อาคาร E-library มรพส.
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยรุ่นใหม่ (a professional new scientist) ได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการเข้าร่วมนำเสนอผลงานในงานประชุม Meetings of the Three Divisions of the International Union of Microbiological Societies (IUMS 2008), 4-11 สิงหาคม 2551 ณ เมืองอิสตันบูล ตุ
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.