ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ชัชวินทร์ นวลศรี  
  Asst. Prof. Dr. Chatchawin Nualsri
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267080 ต่อ 5306
อีเมล์: chatchawin.n@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2559
2 วท.ม. (พลังงานทดแทน) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2554
3 วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรม(เทคโนโลยีเครื่องกล)) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี 2551
 
ความเชี่ยวชาญ
Biomass energy, Biohydrogen/anaerobic digestion, Anaerobic digestion
 
ความสนใจ
สิ่งแวดล้อม/พลังงาน/ทรัพยากรธรรมชาติ, เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะ การบำบัดน้ำเสีย, พลังงานทดแทน, การจัดการด้านพลังงาน
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: Nualsri, C., Abdul, P.M., Imai, T., Reungsang, A., & Sittijunda S. (2024). Two-Stage and One-Stage Anaerobic Co-digestion of Vinasse and Spent Brewer Yeast Cells for Biohydrogen and Methane Production. Molecular Biotechnology, DOI: https://doi.org/10.1007/s12033-023-01015-3.
อ้างอิง: Phasinam, T., Incharoen, T., Nualsri, C., Watcharinrat, D., & Phasinam, K. (2024). Design and efficiency testing of a prototype extruder for Bang Kaew dog food production. Journal of Asian Scientific Research, 14(2), 168-178.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: Choosumrong, S., Hataitara, R., Panumonwatee, G., Raghavan, V., Nualsri, C., Phasinam, T., & Phasinam, K. (2023). Development of IoT based smart monitor and control system using MQTT protocol and Node-RED for parabolic greenhouse solar drying. International Journal of Information Technology, 15(4), 2089–2098.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Rattanachak, N., Nualsri, C., Nittayasut, N., Srisayam, M., Chodnakarin A., & Wongkaewkhiaw S. (2022). Cholesterol-lowering effects of lactic acid bacteria isolated from Musa sapientum Linn. Maejo International Journal of Science and Technology, 16(3), 249-261.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ชัชวินทร์ นวลศรี สิรวิชญ์ แดงวงศ์เจริญพร จักรกฤช ศรีละออ ธันวมาส กาศสนุก และ คงเดช พะสีนาม. (2564). ผลของถ่านชีวภาพจากเปลือกกล้วยที่มีต่อเสถียรภาพการผลิตแก๊สมีเทนจากเศษอาหารที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์แตกต่างกัน. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 31(4), 770-780.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ชัชวินทร์ นวลศรี ณภัสนันท์ พสุการัชต์ชัย จักรกฤช ศรีละออ สุรีย์วัลย์ สิทธิจันดา. (2563). ระยะเวลากักเก็บน้ำที่เหมาะสมต่อการผลิตไฮโดรเจนแบบไม่ใช้แสงจากการหมักย่อยร่วมของน้ำกากส่ากับกากยีสต์. วารสารวิทยาศาสตร์ประยุกต์, 19(2), 101-115.
อ้างอิง: ชัชวินทร์ นวลศรี จักรกฤช ศรีละออ คงเดช พะสีนาม ธันวมาส กาศสนุก ปุณณดา ทะรังสี และ นนทพร รัตนจักร์. (2563). การพัฒนากระถางต้นไม้ชีวภาพจากฝุ่นผงใบยาสูบร่วมกับปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอก. แก่นเกษตร, 48 (ฉบับพิเศษ 1), 1003-1009.
อ้างอิง: นนทพร รัตนจักร์ ชัชวินทร์ นวลศรี มนตรา ศรีษะแย้ม สิทธิชัย อุดก่ำ และ อรุณลักษณ์ โชตินาครินทร์. (2563). การคัดแยกและศึกษาคุณสมบัติการเป็นโพรไบโอติกของแบคทีเรียกรดแลคติกที่คัดแยกจากกล้วยน้ำว้าดิบในเขตจังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 22(2), 50-57.
อ้างอิง: ชัยวัฒน์ นิระพันธ์ จักรกฤช ศรีละออ คงเดช พะสีนาม ธันวมาส กาศสนุก และ ชัชวินทร์ นวลศรี. (2563). การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตแก๊สมีเทนจากใบอ้อยโดยใช้กระบวนการปรับสภาพทางชีวภาพด้วยเชื้อรา Trichoderma harzianum. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 51(ฉบับพิเศษ 1), 382-386.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ชัชวินทร์ นวลศรี และ จักรกฤช ศรีละออ. (2562). การผลิตมีเทนโดยการย่อยร่วมของน้ำกากส่ากับกากน้ำตาลและการศึกษาปฏิกิริยาทางจลนพลศาสตร์. Rajabhat Journal of Sciences and Humanities & Social Sciences, 20(1), 1-11.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Nualsri C., Kongjan P., Reungsang A., Imai T. (2017). Effect of biogas sparging on the performance of bio-hydrogen reactor over a long-term operation. Plos One, 12(2), e0171248.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Nualsri C., Kongjan P., Reungsang P. (2016). Direct integration of CSTR-UASB reactors for two-stage hydrogen and methane production from sugarcane syrup. International Journal of Hydrogen Energy, 41(40), 17884-17895.
อ้างอิง: Nualsri C., Reungsang A., Plangklang P. (2016). Biochemical hydrogen and methane potential of sugarcane syrup using a two-stage anaerobic fermentation process. Industrial Crops and Products, 82, 88-99.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: สุนิตรา มีบึงพร้าว จักรกฤช ศรีละออ และ ชัชวินทร์ นวลศรี. (2562). การเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตแก๊สมีเทนจากเศษอาหารโดยใช้ถ่านกัมมันต์. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก. น. 274-284.
อ้างอิง: วิชุดา กัดเขียว จักรกฤช ศรีละออ และ ชัชวินทร์ นวลศรี. (2562). อัตราส่วนของเหล็กวาเลนซ์ศูนย์ที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตแก๊สมีเทนจากเศษอาหาร. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก. น. 181-191.
อ้างอิง: สิรินันท์ จันทร์คำ จักรกฤช ศรีละออ และ ชัชวินทร์ นวลศรี. (2562). ชนิดและความเข้มข้นของพีเอชบัฟเฟอร์ที่ส่งผลต่อเสถียรภาพของกระบวนการผลิตแก๊สมีเทนจากเศษอาหาร. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก. น. 255-264.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ชัชวินทร์ นวลศรี วิลาวรรณ์ พัดเถื่อน และ จักรกฤช ศรีละออ. (2561). การใช้น้ำกากส่าเป็นตัวประสานในกระบวนการผลิตถ่านอัดแท่งจากซังข้าวโพดและเปลือกข้าวโพด. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. พิษณุโลก. น. 109-116.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Poster presentation on "Bioconversion process of vinasse to hydrogen and methane using one- and two-stage fermentation" (The 12th Asian Biohydrogen & Biorefinery Symposium, (25 - 28 July 2017, Pullman Khon Kaen Raja Orchid Hotel, Khon Kaen, Thailand)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Oral presentation on "Enhancement of continuous bio-hydrogen production from sugarcane syrup by biogas sparging" (5-8 October 2016, The 11th Asian Biohydrogen & Biogas Symposium, Jeju Island, South Korea)
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Oral presentation on "Direct Integration of CSTR-UASB Reactor for Two-stage Hydrogen and Methane Production from Sugarcane Syrup" (21-24 September 2015, the 10th Asia Biohydrogen and Biorefinery Symposium, Ken-Ting, Taiwan)
อ้างอิง: Oral presentation on "Biochemical hydrogen and methane potential of sugarcane juice using a two-stage anaerobic fermentation process" (29 - 31 July 2015, The 6th International Conference on Fermentation Technology for Value Added Agricultural Products, Centara Covention Center and Hotel, Khon Kaen, Thailand)
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: Oral presentation on "Two-stage hydrogen and methane potential of sugarcane juice by UASB granules" (16 – 17 November 2014, 10th Young Scientist Seminar, Yamaguchi-ken Seminar Park, Yamaguchi, Japan)
อ้างอิง: Oral presentation on "Two-stage hydrogen and methane potential of sugarcane juice by Clostridium butyricum TISTR1032 and anaerobic mixed cultures" (16 - 18 September 2014, TSB International Forum 2014, BITEC, Bangkok, Thailand)
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Poster Presentation on "Bio-hydrogen potential of sugarcane juice by anaerobic mixed cultures" (21-23 August 2013, The 5th International Conference on Fermentation Technology for Value Added Agricultural Products, Centara Covention Center and Hotel, Khon Kaen, Thailand)
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีไบโอดีเซลและพลังงานชีวมวลอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: การยกระดับสมรรถนะกำลังคนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมชีวภาพ (อาชีพนักเทคโนโลยีชีวภาพ ระดับ 3)
อ้างอิง: หลักสูตรพัฒนาผู้ประเมินฯ ระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA version 4 รุ่น มรพส.#1
อ้างอิง: โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมการพัฒนาผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรตามเกณฑ์ AUN-QA Version 4 (หลักสูตร ทปอ.)
อ้างอิง: โครงการ Train The Trainer การพัฒนาทักษะความรู้ในการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม
อ้างอิง: การยกร่างหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome - Based Education) และ CWIE
อ้างอิง: การผลิตก๊าซชีวภาพ : หลักการทางวิศวกรรมและการประยุกต์
อ้างอิง: การใช้วัสดุทางการเกษตรนำมาใช้ประโยชน์เป็นพลังงานทางเลือก
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การเขียนเส้นทางสู่ผลกระทบงานวิจัย (Impact Pathway)
อ้างอิง: Techniques on writing a manuscript to publish in Q1 journal for the young researchers in science and technology
อ้างอิง: หลักสูตร AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 รุ่นที่ 13
อ้างอิง: การอบรมและทดสอบ Google Certified Educator (GCE) สำหรับบุคลากร รุ่น2
อ้างอิง: การอบรมและพัฒนาทักษะ Digital Literacy ของบุคลากรให้มีทักษะเพียงพอต่อการพัฒนา Smart University รุ่น2
อ้างอิง: Generative AI กับการเขียน Manuscript อย่างมีจริยธรรม
อ้างอิง: ความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security)
อ้างอิง: การอบรมพัฒนาทักษะ Soft Skills ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน สำหรับคณาจารย์และบุคลากร
อ้างอิง: EdSociate Webinar ครั้งที่ 19 (การสอนในยุค AI)
อ้างอิง: การอบรมเสริมความรู้เกี่ยวกับโดรนเกษตรให้กับสถาบันการศึกษา (บริษัท คูโบต้าบิ๊กยูพิษณุโลก จำกัด)
อ้างอิง: การเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณในการปฏิบัติงานของบุคลากรมหาวิทยาลัย
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#2
อ้างอิง: การพัฒนาที่ปรึกษาด้านการจัดการการผลิตให้ดีพร้อม (กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม)
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE รุ่น มรพส#1
อ้างอิง: การใช้งานโปรแกรม Turnitin สำหรับบุคลากร มรพส.
อ้างอิง: BCG Canvas for Researcher
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพัฒนา Soft Skills นักศึกษาด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (วันที่ 5)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพัฒนา Soft Skills นักศึกษาด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (วันที่ 4)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพัฒนา Soft Skills นักศึกษาด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (วันที่ 3)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาเพื่อพัฒนา Soft Skills นักศึกษาด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (วันที่ 1 และ 2)
อ้างอิง: หลักสูตรคณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (รุ่นที่ 6)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (CWIE)
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: หลักสูตรฝึกอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
อ้างอิง: หลักสูตรการออกแบบระบบควบคุมโรงเรือน Smart Farm ด้วยโปรแกรม LabVIEW
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: หลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับหลักสูตร)
อ้างอิง: หลักสูตรผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน (ระดับคณะและสถาบัน)
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการงบยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก หัวข้อ “การผลิตถ่านอัดแท่งจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรในชุมชน”
ชื่อโครงการ: โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตถ่านอัดแท่งจากเปลือกกล้วยเพื่อเป็นสินค้ามูลค่าเพิ่มจากวัสดุเหลือทิ้ง
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: โครงการงบยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาความยากจน หัวข้อ “การออกแบบและสร้างโรงเรือนสำหรับเพาะเห็ดฟาง"
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: โครงการงบยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหาความยากจน หัวข้อ “การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตถ่านชีวมวลอัดแท่งจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร”
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีไบโอดีเซลและพลังงานชีวมวลอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้น้ำมันไบโอดีเซลอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้น้ำมันไบโอดีเซลอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อรางวัล: นักวิจัยดีเด่น ด้านผลงานทรัพย์สินทางปัญญา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ประจำปีพ.ศ. 2565
ชื่อรางวัล: บุคลากรดีเด่น (ด้านการวิจัย) คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ประจำปีพ.ศ. 2565
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อรางวัล: รางวัลชมเชย การนำเสนอภาคโปสเตอร์ สาขาวิทยาศาสตร์การเกษตร ใน "การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 17" วันที่ 29-30 กรกฎาคม 2563 ณ คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: Taguchi Prize for Outstanding Doctoral Degree Thesis in the Field of Biotechnology (รางวัลทากูชิ ประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ จากสมาคมเทคโนโลยีชีวภาพแห่งประเทศไทย)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีเด่น กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (ปริญญาเอก) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: The 2nd Place Oral Presentation Award on "Enhancement of continuous bio-hydrogen production from sugarcane syrup by biogas sparging" (5-8 October 2016, the 11th Asian Biohydrogen & Biogas Symposium, Jeju Island, South Korea)
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อรางวัล: The 1st Place Oral Presentation Award on "Direct Integration of CSTR-UASB Reactor for Two-stage Hydrogen and Methane Production from Sugarcane Syrup" (21-24 September 2015, the 10th Asia Biohydrogen and Biorefinery Symposium, Ken-Ting, Taiwan)
ชื่อรางวัล: The 2nd Place Oral Presentation Award on " Biochemical hydrogen and methane potential of sugarcane juice using a two-stage anaerobic fermentation process" (29 - 31 July 2015, The 6th International Conference on FerVAAP)
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อรางวัล: The 3rd Place Poster Presentation Award on "Bio-hydrogen potential of sugarcane juice by anaerobic mixed cultures" (21-23 August 2013, The 5th International Conference on FerVAAP)
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หนังสือรับรองสมรรถนะ-นักเทคโนโลยีชีวภาพระดับ 3
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ประกาศนียบัตรคุณวุฒิวิชาชีพ-นักเทคโนโลยีชีวภาพระดับ 3
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: ประกาศนียบัตรการฝึกอบรม-โครงการการยกระดับสมรรถนะกำลังคนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้วยมาตรฐานอาชีพ สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมชีวภาพ (อาชีพนักเทคโนโลยีชีวภาพ ระดับ 3)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตรพัฒนาผู้ประเมินฯ ระดับหลักสูตร ตามเกณฑ์ AUN-QA version 4 รุ่น มรพส.#1
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ "การยกร่างหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome - Based Education) และ CWIE"
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: Google Certified Educator Level 1
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการพัฒนาสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลสำหรับบุคลากร (Google Certified Educator Level 1)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: PSRU Digital Test
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: โครงการอบรมและพัฒนาทักษะ Digital Literacy ของบุคลากร (รุ่นที่ 2)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตร AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 รุ่นที่ 13
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตรการจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#2
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตรการจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE รุ่น มรพส#1
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตรคณาจารย์นิเทศสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: หลักสูตรฝึกอบรมด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: ชัชวินทร์ นวลศรี และ จักรกฤช ศรีละออ. 2565. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 19176 เรื่อง ถ่านอัดแท่งชีวมวลผสมน้ำกากส่าและกรรมวิธีการผลิต.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: ปุณณดา ทะรังศรี จักรกฤช ศรีละออ และ ชัชวินทร์ นวลศรี. 2564. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 18643 เรื่อง ปุ๋ยอัดเม็ดที่มีส่วนผสมของผงใบยาสูบ.
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: จักรกฤช ศรีละออ ชัชวินทร์ นวลศรี ปุณณดา ทะรังศรี และ สุรีย์วัลย์ สิทธิจันดา. 2564. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 18642 เรื่อง ปุ๋ยอินทรีย์อัดเม็ด.
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: จักรกฤช ศรีละออ ชัชวินทร์ นวลศรี และ ปุณณดา ทะรังศรี. 2564. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 18337 เรื่อง ปุ๋ยหมักชีวภาพ.
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: จักรกฤช ศรีละออ ชัชวินทร์ นวลศรี ปุณณดา ทะรังศรี และ สุรีย์วัลย์ สิทธิจันดา. 2564. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 18066 เรื่อง ปุ๋ยหมัก.
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: ชัชวินทร์ นวลศรี จักรกฤช ศรีละออ และ เกียรติศักดิ์ พัฒนผล. 2564. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 18075 เรื่อง กระถางต้นไม้จากผงใบยาสูบ.
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: ชัชวินทร์ นวลศรี จักรกฤช ศรีละออ และ เกียรติศักดิ์ พัฒนผล. 2564. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 18074 เรื่อง กรรมวิธีการผลิตกระถางต้นไม้จากผงใบยาสูบ.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: จักรกฤช ศรีละออ ชัชวินทร์ นวลศรี และกฤษณะ นาต๊ะ. 2561. อนุสิทธิบัตรเลขที่ 13977 เรื่อง กระถางต้นไม้จากใบยาสูบ.
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.