ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. ภัทรพิมพ์ ทองวั่น  
  Dr. Phatrapim Thongwan
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267000
อีเมล์: phatrapim_s@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ศศ.ด. (ประชากรศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2567
2 ศศ.ม. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2554
3 ศศ.บ. (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2552
 
ความเชี่ยวชาญ
รัฐศาสตร์, ประชากรศาสตร์, ประชากรและการพัฒนา
 
ความสนใจ
Urban Governance and Smart Cities, Policy Development Analysis, Quantitative Methods in Political Science, Public Participation in Sustainable Development
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
- -
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ฐานิตา ชารี, พัชริดา อ่อนกัน, กาญจน์รจนา จิตต์ชื้น, ชิษณุพงศ์ แดงชาวนา และภัทรพิมพ์ ทองวั่น. (2566). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในพื้นที่เทศบาลตำบลบ้านคลอง. ใน การประชุมวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ พ.ศ. 2566 การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน: โอกาส และความท้าทาย (หน้า 90). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อ้างอิง: สมศักดิ์ อยู่บุญ, ธนรัตน์ เกตุแก้ว, รุ่งภพ ตั้งสยามวณิชย์, สุพจน์ เนียมสัมฤทธิ์ และภัทรพิมพ์ ทองวั่น. (2566). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลป่าแฝก อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. ใน การประชุมวิชาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ พ.ศ. 2566 การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพเพื่อสุขภาวะแห่งอนาคตอย่างยั่งยืน: โอกาส และความท้าทาย (หน้า 82-83). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: นริศรา เครือกลัด, ศิริลักษณ์ หลวงขัน, ปฏิมา เทพราชา, วาริณี ศิริโภคา และภัทรพิมพ์ ทองวั่น. (2565). การจัดสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก. ใน การประชุมวิชาการเครือข่ายราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2565 (หน้า 280-392). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อ้างอิง: จุฑาทิพย์ ทองอินทร์, ประภัสสร มั่นประสงค์, พรนัดชา นาฝาย, รุ่งธิดา สีวงวาด และภัทรพิมพ์ ทองวั่น. (2565). ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านตามหลักการบริหารจัดการที่ดีในเขตพื้นที่ตำบลไกรใน อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย. ใน การประชุมวิชาการเครือข่ายราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ประจำปี พ.ศ. 2565 (หน้า 248-260). นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2568 (2025)
อ้างอิง: การพัฒนานวัตกรรมพลเมืองดิจิทัลเพื่อเสริมสร้างศักยภาพชุมชนโดยการขับเคลื่อนแบบมีส่วนร่วม: กรณีศึกษาเชิงปฏิบัติการในพื้นที่ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. ทุนสนับสนุนการวิจัยเพื่อพัฒนาเชิงพื้นที่ งบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568, คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: การมีส่วนร่วมบูรณาการภาคีเครือข่ายองค์กรท้องถิ่นในการเสริมพลังให้กับผู้สูงอายุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. ทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567, คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (ผู้ร่วมวิจัย)
อ้างอิง: โครงการประเมินผลการปฏิบัติงานของชุดปฏิบัติการกิจการพลเรือนร่วมเพื่อทำให้ประชาชนมีความสุข. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สถาบันอาณาบริเวณศึกษา (TIARA). (ผู้ร่วมวิจัย)
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: In-depth Research on Youth Not in Employment, Education or Training (NEET). ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทุนสนับสนุนจาก UNICEF. (ผู้ร่วมวิจัย)
อ้างอิง: โครงการวิจัยสถานการณ์และแนวทางการลดความเหลื่อมล้ำการเข้าถึงแหล่งเงินทุน. สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทุนสนับสนุนจากธนาคารออมสิน. (ผู้ร่วมวิจัย)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: การพัฒนาองค์ความรู้และขับเคลื่อนการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเยาวชนที่ไม่อยู่ในการจ้างงาน การศึกษา หรือการฝึกอบรม และเยาวชนที่ไม่ได้อยู่ในกิจกรรมการสะสมทุนมนุษย์ (NEETs). ในชุดโครงการศึกษาเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนเพื่อก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). (ผู้ร่วมวิจัย)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ผู้นำท้องถิ่นและการคงอยู่ของอัตลักษณ์ทางสังคมในชุมชนชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย บ้านปลายระไม รัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย. โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากร (อาจารย์) ในกลุ่มประเทศอาเซียน ร่วมกับ School of Government และ School of International Studies มหาวิทยาลัย Universiti Utara Malaysia ประเทศมาเลเซีย. (หัวหน้าโครงการวิจัย)
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เทคนิคเขียนตำรา หนังสือ และบทความวิจัย สำหรับการเสนอขอกำหนดตำแหน่งวิชาการทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ ในโครงการ "สามเสาหลักของอาเซียน: ความรู้ ความเข้าใจ การปรับตัวและการพัฒนาหน่วยงานให้สอดรับกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน" โดยมหาวิทยาลัยนเรศวรร่วมกันกรมอาเซียน
อ้างอิง: อบรมด้านคุณธรรมจริยธรรม และเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามหลักสูตรเบื้องต้น ณ วัดบางพาน อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี
อ้างอิง: โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ปฏิบัติงานประกันคุณภาพของหน่วยงานระดับต่างๆ ในสถาบันอุดมศึกษา โดยศูนย์เครือข่าย สมศ. มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ "โครงการอบรมอาชีพเสริมรายได้ ปีการศึกษา 2554" หัวข้อ เดคูพาจ รุ่นที่ 2 งานแนะแนวอาชีพและจัดหางาน กองพัฒนานักศึกษา
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: หลักสูตรการติดตั้ง Window XP และโปรแกรมพื้นฐานด้วยตนเอง (รุ่นที่ 1) โครงการพัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปีการศึกษา 2/2554
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.