ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. รพิพรรณ จันทร์มะณี  
  Asst. Prof. Dr. Rapiphun Janmanee
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: rapiphun16@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ด. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2555
2 Ph.D. (Engineering) Niigata University 2555
3 วท.ม. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2551
4 วท.บ. (เคมี) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2549
 
ความเชี่ยวชาญ
วิทยาศาสตร์/ฟิสิกส์/เคมี, ไบโอเซ็นเซอร์, General Chemistry, Physical Chemistry, Polymer, Chemistry, Physical Chemistry, Nanotechnology, Biosensor, Sensor
 
ความสนใจ
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Rapiphun Janmanee, Sosista Chatwet, Nutsarin Sukonpakdee, Anchana Preechaworapun, Kulwadee Pinwattana, Padarat Ninjiaranai, Saengrawee Sriwichai. (2022). Development of electrochemical dopamine sensor based on conducting polymer-gold nanoparticle composites. The 2nd International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (2nd ICSTI-MJU), March 18, 2022, Chiang Mai, Thailand. Page 122-127.
อ้างอิง: วสุ พันไพศาล, นิตยา ชาอุ่น, วัชรินทร์ ฉัตรธง และรพิพรรณ จันทร์มะณี. (2565). การพัฒนาชุดอุปกรณ์และระบบจัดการน้ำอัจฉริยะสำหรับการเพาะปลูกข้าวแบบเปียกสลับแห้ง. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ. 2565. 25 กุมภาพันธ์ 2565. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. หน้า 255-264.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Kulwadee Pinwattana, Naruemol Mangmee, Padarat Ninjiaranai, Prayoon Khamterm, Rapiphun Janmanee, Jiraporn Kitikul, Anchana Preechaworapun and Tanin Tangkuaram. (2021). A Non-enzymatic Glucose Sensor using Rose-like Nickel Particles modified on Glassy Carbon Electrode. The 1st International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (1st ICSTI-MJU) Proceeding. March 19, 2021. Chiang Mai, Thailand. Page 155-160.
อ้างอิง: Anchana Preechaworapun, Pimporn Manochai, Baikran Klinumpan, Kulwadee Pinwattana, Rapiphun Janmanee, Pornpat Sam-ang, Sudarat Khadsai, and Tanin Tangkuaram. (2021). Electrochemical uric acid sensor based on GO modified glassy carbon electrode. The 1st International Conference on Science Technology & Innovation-Maejo University (1st ICSTI-MJU) Proceeding. March 19, 2021. Chiang Mai, Thailand. Page 62-67.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Thunyakontirakun, W., Sriwichai, S., Phanichphant, S., and Janmanee, R. (2019). Fabrication of poly(pyrrole-3-carboxylic acid)/graphene oxide composite thin film for glucose biosensor. Materials Today: Proceedings, 17, 2070-2077.
อ้างอิง: มาริสา ทองหล่อง ถิรวัฒน์ ยี่สุ่นแก้ว กุลวดี ปิ่นวัฒนะ อัญชนา ปรีชาวรพันธ์ และรพิพรรณ จันทร์มะณี. (2562). ประสิทธิภาพของวัสดุดูดซับทางชีวภาพจากสารแทนนินที่ตรึงบนเส้นใยปอสาในการกำจัดไอออนตะกั่ว. วารสารวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี, 16(2), 11-21.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Sriwichai S., Janmanee R., Phanichphant S., Shinbo K., Kato K., Kaneko F., Yamamoto T., Baba A. Development of an electrochemical-surface plasmon dual biosensor based on carboxylated conducting polymer thin films, J. Appl. Polm. Sci. 2018; DOI: 10.1002/APP.45641.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: อารยา เกิดอยู่ วริศรา เรืองน้อย และรพิพรรณ จันทร์มะณี. (2560). การศึกษาความสามารถในการตรวจวัดสารชีวโมเลกุลโดยใช้พอลิเมอร์นำไฟฟ้าผสมกราฟีนออกไซด์. PSRU Journal of Science and Technology, 2(1), 35-45.
อ้างอิง: วีนัส อยู่แย้ม, รพิพรรณ จันทร์มะณี และกุลวดี ปิ่นวัฒนะ. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยวิธีการสอนสตอรี่ไลน์ เรื่อง สารและการเปลี่ยนแปลง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 13, 125-138.
อ้างอิง: ปุณยนุช ธรรมอาชีพ และรพิพรรณ จันทร์มะณี. (2560). การเตรียมวัสดุดูดซับทางชีวภาพจากสารแทนนินที่ตรึงบนเส้นใยปอสาเพื่อใช้ในการกำจัดไอออนแคดเมียม.รายงานสืบเนื่องการประชุมสวนสุนันทาวิชาการ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติ ครั้งที่ 1 “การสร้างสรรค์และนวัตกรรม ก้าวสู่ประเทศไทย 4.0” 10 พฤศจิกายน 2560 (หน้า 305-315). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Pinwattana K., Janmanee, R., A simple strategy to fabricate electrochemical sensor based on nickel nanoparticles modified glassy carbon electrode for the determination of glucose in urine, NU. International Journal of Science. 2015; 12(2): 29-38.
อ้างอิง: รพิพรรณ จันทร์มะณี (2558).Electrochemical Fabrication of Polypyrrole/Poly(pyrrole-3-carboxylic acid)/Graphene Oxide Composite Thin Film for Biosensor Application. NU. International Journal of Science , 2015,12(1). Page: 52-61
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: รพิพรรณ จันทร์มะณี (2555).Controlling Surface Plasmon Optical Transmission with an Electrochemical Switch Using Conducting Polymer Thin Films. Adv.Funct. Mater. 2012. Page: 4383-4388
อ้างอิง: รพิพรรณ จันทร์มะณี (2555).In situ Electrochemical-Transmission Surface Plasmon Resonance Spectroscopy fpr Poly (pyrrole-3-carboxylic acid) Thin-Film-Based Biosensor Applications. ACS Publications APPLIED MATERIALS & INTERFACES, 2012. Page: -
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: รพิพรรณ จันทร์มะณี (2561).การเตรียมวัสดุดูดซับทางชีวภาพจากสารแทนนินที่ตรึงบนเส้นใยปอสาเพื่อใช้ในการกำจัดไอออนแคดเมียม. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชาติ ครั้งที่ 1 "การสร้างสรรค์และนวัตกรรมก้าวสู่ปะเทศไทย 4.0", 2560. Page: 305-315
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น (Basic Human Subject Protection Course)
อ้างอิง: อบรมการใช้งาน Turnitin
อ้างอิง: โครงการพัฒนาผลงานวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย ในหัวข้อ “BCG CANVAS FOR RESEARCHER
อ้างอิง: การประชุมเครือข่ายการพัฒนาคุณภาพวารสารวิชาการไทย ครั้งที่ 14
อ้างอิง: โครงการนิทรรศการ “วิทยาศาสตร์วิชาการ” ปีการศึกษาที่ 2/2565 ณ อาคารเรียนรวมคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเขียนข้อเสนอโครงการและเตรียมความพร้อมในการรับทุนสนับสนุน Talent Mobility ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ความสำคัญของ พ.ร.บ. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 ต่อการทำวิจัย
อ้างอิง: โครงการจัดการความรู้ KM เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายใต้หัวข้อ การพัฒนาโครงการเพื่อขอรับทุนสนับสนุน งบประมาณในโครงการสำคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
อ้างอิง: กิจกรรมการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ เพื่อมุ่งสู่การเป็น Talent Pioneer
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏ (Retreat) ระดับคณะและสถาบัน (UR0026R)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระดับหลักสูตร (PR0610)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผู้ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระดับคณะและสถาบัน (UR0199)
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.