ชื่อ-นามสกุล
 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วสันต์ ปวนปันวงศ์  
 Asst. Prof. Wasan Pounpunwong
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: reddevil_small@hotmail.com
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 รป.ม. (วิทยาการจัดการ แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยสุโขท้ยธรรมาธิราช 2566
2 ร.บ. (ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2562
3 ร.บ. (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2562
4 ร.บ. (ทฤษฎีและเทคนิคทางรัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2558
5 ร.ม. (การเมืองและการปกครอง) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2558
6 ศศ.บ. (ไทยศึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2554
 
ความเชี่ยวชาญ
รัฐศาสตร์
 
ความสนใจ
พื้นที่ชายแดน ทุนนิยม เกษตรพันธะสัญญา ความสัมพันธ์เชิงอำนาจ, การพัฒนาชุมชน การท่องเที่ยว อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ เพศภาพ การปกครองท้องถิ่น, เศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศ พัฒนาประชาธิปไตย การสร้างสันติภาพ, นโยบายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ปัญหาและนโยบายเกี่ยวกับยาเสพติดและการพนัน
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2567). ยุทธศาสตร์และกลไกภาครัฐในระดับภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการป้องกันเยาวชนในการเล่นการพนันออนไลน์ กรณีศึกษา จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 13(1),114-129.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2567).อาเซียนกับสถานการณ์ความร่วมมือภายใต้การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. วารสารสักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 30(1),1-16
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2567). การพัฒนาและการรวมกลุ่มของเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพรไทยสู่ภาคอุตสาหกรรมตามนโยบาย และแผนพัฒนาเมืองสมุนไพรจังหวัดพิษณุโลก กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชน ปลูกและแปรรูปสมุนไพรทับยายเชียง อำเภอพรหมพิราม กับกลุ่มปลูกสมุนไพรชาติพันธุ์ม้ง อำเภอนครไทย. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 19(1),141-154.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). นโยบายและมาตรการของสถานศึกษาในการป้องกันและการแก้ไขปัญหายาเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ชายแดน อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 42(6),963-967.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). เยาวชนกับสถานการณ์ปัญหายาเสพติดในพื้นที่ชุมชน กรณีศึกษา เขตเทศบาลเมือง จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 15(30),1-15.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). การกระจายอำนาจภายใต้การบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับในนโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทั้งในระดับชาติและท้องถิ่น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 14(2),28-59.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์ . (2566). ยาเสพติดกับเยาวชน: สภาพปัญหา ความเสี่ยง ทั้งนอกสถานศึกษาและในสถานศึกษาในพื้นที่ชายแดน อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก.วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 3(2), 441-454.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). สถานการณ์ ความเสี่ยง ข้อพิจารณา รัฐไทยกับปัญหายาเสพติดในเยาวชน กรณีศึกษา จังหวัดภาคเหนือตอนล่างในช่วงปี ค.ศ. 2019-2020. วารสารวิชาการ มทร. สุวรรณภูมิ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 8(1),61-76.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). เศรษฐกิจพอเพียงกรอบคิดการพัฒนาชุมชนชาติพันธุ์ของรัฐไทย:ศึกษาความเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต กิจกรรมทางเศรษฐกิจ บริบททางสังคมและชุมชนของชนเผ่าในบริเวณศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอยจังหวัดเชียงใหม. วารสารสังคมศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 53(1),1-24.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). ว่าด้วยอำนาจรัฐกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์: กฎหมาย นโยบาย และมาตรการ.วารสารการเมืองการปกครอง, 13(1), 205-221
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). บทบาทและความสัมพันธ์ของพลวัตระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้นโยบาย การควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของรัฐ. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 18(1),121-136.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์.(2565).แนวทางการพัฒนาของรัฐในการส่งเสริมการพึ่งพาตนเองของชนเผ่าตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, 13(3), 65-81
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). แนวคิดอารยสถาปัตย์: นโยบายและแนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอย่างมี ส่วนร่วมของชุมชน กรณีศึกษาเทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 11 (3),154-170.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์, กิตติพงษ์ เกียรติวัชรชัย และอิศเรศ ศันสนีย์วิทยกุล. (2565). โควิดภิวัฒน์: การบริหารการเปลี่ยนแปลงขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายใต้ การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีศึกษา เทศบาลนครพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. Journal of Social Sciences and Humanities Research in Asia (JSHRA), 28(3),1-16
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์.(2565). ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้นโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กรณีศึกษา ความสัมพันธ์ พลวัต ปัญหา และข้อจำกัด. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 15(1), 48-63.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์ และรตา อนุตตรังกูร. (2565). ความเหลื่อมล้ำด้านเทคโนโลยีผ่านการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์บนฐานคิด แบบรัฐรวมศูนย์อำนาจ. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(5), 415-430.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564). การปรับตัวของธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ย่านถนนนิมมานเหมินท์ ภายใต้นโยบายของรัฐ ในช่วง พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2563. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, 9(2), 83-103.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564). การมีส่วนร่วมในการป้องกัน ลดความเสี่ยง และแก้ไขปัญหาเยาวชนที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดของ รัฐ สังคม และชุมชน ในพื้นที่ชุมชน เขตเทศบาลเมืองในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 7(11), 181-198.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564). สถานการณ์การเล่นการพนันของเยาวชนในพื้นที่ชายแดนแม่สอด - เมียวดี.วารสารการเมืองการปกครอง, 11(3), 161-183
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564). สถานการณ์เกี่ยวกับเครื่องดื่มแอลกอฮอล์กรณีศึกษา ถนนนิมมานเหมินท์ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 38(2), 214-243.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564).รัฐชาติสมัยใหม่ อำนาจทุนนิยม การพนันชายแดน ในพื้นที่แม่สอด-เมียวดี. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 12 (1)เพิ่มเติม, 115-138.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). การศึกษาประเด็นทางนโยบายและมาตรการของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์: กรณีศึกษา พื้นที่ถนนนิมมานเหมินทร์ จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการบริหารปกครอง มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 9(2), 138-182.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์ และภานุวัตน์ ฟูจักรคำ. (2563). ครู – ศิษย์: ความสัมพันธ์แบบอำนาจนิยมความมืดบอดของการถ่ายทอดองค์ความรู้. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 9 (3), 246-259.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). การตั้งถิ่นฐานของชาวจีนในประเทศเมียนมา: พัฒนาการชุมชน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียใหม่, 11 (2), 195-218.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). มาตรการและแนวทางการป้องกันปัญหาการเล่นพนันของเยาวชนไทยในพื้นที่ชายแดนแม่สอด – เมียวดี. วารสารการบริหารปกครอง มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 9(1), 168-193.
อ้างอิง: ปนัดดา พวงบานชื่น, เดชาวัต พูลศิริ, พีรดนย์ โสมนัสแสง, สุชาครีภ์ เพชรสุข และวสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). การเตรียมความพร้อมระบบโครงสร้างพื้นฐานในหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนเพื่อรองรับแผนยุทธศาสตร์พิษณุโลก 2020 กรณีศึกษาเขตพื้นที่อำเภอเมืองพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. วารสารการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1 (2), 69-87.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). แรงงานไทยภายใต้นโยบายการนาเข้าแรงงานต่างชาติของประเทศสิงคโปร์. วารสารการจัดการและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 1 (2), 21-38.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2562). การย้ายถิ่นระหว่างประเทศกับสถานการณ์แรงงานต่างด้าวในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 8 (2), 248-265.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2561). ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง: การเปลี่ยนแปลงของสังคมเกษตรกรในการทำเกษตรแบบพันธะสัญญาในพื้นที่ชายแดนไทย-เมียนมาร์ (Ayeyawady-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy: Social Change of Farmers in Contract Farming Agriculture in Thailand-Myanmar Boundary). วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช. 31 (2), 44-64
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2561). สิทธิการศึกษาของเด็กไร้สัญชาติ กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (Nationality less Children’s Education right, in case study of Ban Pong Noi School, Amphoe Mueng, Chiang Mai Province) วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียใหม่, 9 (2), 123-156.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2560). การพัฒนาพื้นที่ชนบทให้กลายเป็นเมือง กรณีศึกษาแหล่งท่องเที่ยวดอยม่อนแจ่ม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ (The development of rural into the urban A case study Doi Mon Cham, Mea Rim district, Chiang Mai province). วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียใหม่, 8 (2), 55-80.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2559).การแปลงเพศในบริบทของความหลากหลายทางเพศกับมุมมองที่เห็นต่างระหว่างวิทยาศาสตร์และสังคมศาสตร์ (The context of diversity in Transgender of the difference between Sciences and Social Sciences). วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 5 (1), 77-86.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: ณัฎฐา อินทร์บัว, ชัยวุฒิ หุนกระโทก, ธนภูมิพันฉนวน, นันทวัฒน์จีนเท่ห และวสันต์ ปวนปันวงศ์ (2564). ยุทธศาสตร์และนโยบายการพัฒนาผู้สูงอายุของการปกครองส่วนท้องถิ่น กรณีศึกษา เทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลก.การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 และนานาชาติ ครั้งที่ 2 (MJUP Conference 2024) (270-282). แพร่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้เฉลิมพระเกียรติแพร่.
อ้างอิง: เจษฎา บานแย้ม , ชินคุปต์ สังข์ทอง , ทวีชัย ขันแก้ว , มนูญศักด์ ทับพิมล , ศรายุทธ มอญดี และวสันต์ ปวนปันวงศ์ (2564). แนวทางการลดข้อพิพาทของภาครัฐต่อประเด็นปัญหาเรื่องเอกสารสิทธิ์ กรณีศึกษาพื้นที่ตำบลไกรนอก อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย.การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 และนานาชาติ ครั้งที่ 2 (MJUP Conference 2024) (303-311). แพร่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้เฉลิมพระเกียรติแพร่.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: Wasan Pounpunwong. (2023, August 9-11 ). Educational Institutes Policies and Measures in Preventing and Solving Drug-Related Problems among Youth in Border Areas, Mae Sot District, Tak Province. Thailand Addiction Scientific Conference (TASC) 2023 joint with ICUDDR Annual Conference 2023. [Poster presentation].Chiang Mai University, Chiang Mai, Thailand.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: นนทวัต สุกันทา ยศกร ก้อนเสทื้อน รติพงษ ชิดพันธ์ เรวัต คณะชัยนะ พันธวัท สิทธิเดช และวสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). บทบาทของประชาชนในฐานะพลเมืองต่อการเลือกตั้งท้องถิ่นในเขตพื้นที่การศึกษาองค์การบริหารส่วนตําบลกําแพงดิน อําเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร. การประชุมวิชาการเครือข่ายราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “ความท้าทายของนักรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ไทยในวิถีถัดไป (Next Normal)”(336-347). นครสวรรค์:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อ้างอิง: นนทวัต สุกันทา ยศกร ก้อนเสทื้อน รติพงษ ชิดพันธ์ เรวัต คณะชัยนะ พันธวัท สิทธิเดช และวสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). ประสิทธิภาพในการดําเนินงานของโรงพยาบาลภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติด เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) กรณีศึกษา โรงพยาบาลทับคล้อ ตําบลเขาทราย อําเภอทับคล้อ จังหวัดพิจิตร. การประชุมวิชาการเครือข่ายราชภัฏรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 5 ในหัวข้อ “ความท้าทายของนักรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ไทยในวิถีถัดไป (Next Normal)”(323-335). นครสวรรค์:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย ในประเด็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการพัฒนาสังคม ผ่านแนวคิดการพึ่งพาตนเองของชนเผ่าตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ชุมชนบริเวณศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย จังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 9 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2565 ในหัวข้อ "ารพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสังคมยุค Next Normal : การเปลี่ยนผ่านจากภาวะปกติใหม่" (665-682). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
อ้างอิง: ศิวพร จงแจ่มฟ้า สุชานรี พิมให้ผล กิตติธรา อินทะชัย ณัฐพล เมธาวีกุลชัย และวสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). การเข้าถึงมาตรการโครงการรัฐในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (covid-19) ในช่วงปี พ.ศ 2562 - 2564 ในเขตพื้นที่ชุมชนเทศบาลเมืองสวรรคโลก อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย. ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 ในหัวข้อ "การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อความยั่งยืนภายใต้ชีวิตวิถีใหม่" (912-922). พิษณุโลก:มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์)
อ้างอิง: กฤตภาส แซวหิว ภานุวัฒน์ ชูบุญวงศ์ ศรัณยู ดอนไพรเมือง เอกชัย เอี่ยมโอน และวสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). การมีส่วนร่วมของภาครัฐและภาคประชาชนในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว กรณีศึกษาพื้นที่เทศบาล ตำบลสนามคลี อำเภอบางกระทุ่ม จังหวัดพิษณุโลก. ประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 7 ในหัวข้อ "การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อความยั่งยืนภายใต้ชีวิตวิถีใหม่" (441-452). พิษณุโลก:มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์).
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ธนิตพงษ์ แก้วชูเชิด, ธีระพงษ์ ดีเอี่ยม, โสภณ จ้อยโหมด, เสกสรร น้อยนวล และวสันต์ ปวนปันวงศ์ (2564). การพัฒนาความเป็นเมืองกับการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร ศึกษาพื้นที่เทศบาลนครพิษณุโลก จังหวัด พิษณุโลก.การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 10 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 3 วิทยาการจัดการวิชาการ 2021 “นวัตกรรมการวิจัยสู่การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก” (793-801). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: ภาณุพงศ์ อาจองค์, นพรัตน์ กําวัน, นวลนภา หอมสิงทอง, รัตนาภรณ์ แก้วเข้ม และวสันต์ ปวนปันวงศ์ (2564). การยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรที่อยู่ในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ศึกษาพื้นที่ : บ้านเนินตูม ตําบลเนินเพิ่ม อําเภอนครไทย.การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 10 และระดับนานาชาติ ครั้งที่ 3 วิทยาการจัดการวิชาการ 2021 “นวัตกรรมการวิจัยสู่การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก” (784-782). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564). เกษตรแบบพันธสัญญา: รัฐ นายทุน และเกษตรกร ชายแดนแม่สอด-เมียวดี. ในงานการจัดประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 (4219-4230). พะเยา: มหาวิทยาลัยพะเยา.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563).รัฐชาติสมัยใหม่ อำนาจทุนนิยม การพนันชายแดน ในพื้นที่แม่สอด-เมียวดี. ประชุมวิชาการระดับชาติ ในหัวข้อ “เหลียวหลังแลหน้า ตระหนักปัจจุบันกับนวัตกรรมทางรัฐศาสตร์ไทย. เชียงใหม่: คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). นโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของรัฐกับการสร้างความมั่งคั่งด้านเศรษฐกิจในพื้นที่ถนนนิมมานเหมินท์ จังหวัดเชียงใหม่.การประชุมวิชาการสุราระดับชาติ ครั้งที่ 11.กรุงเทพมหานคร: ศุนย์ศึกษาปัญหาสุรา. (Poster Presentation)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). รัฐตลาด: มุมมองความคิดผ่านทุนนิยมชายแดน. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์: ศิลปศาสตร์วิชาการครั้งที่ 1. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
อ้างอิง: สิทธิชัย มีบุตร, เจษฎาภรณ์ รัตนะ, นัทธมน แก้วคง, ณัฎฐกิตต์ วัฒนวานิชย์, เสรี ศรีเทศ และวสันต์ ปวนปันวงศ์ (2563). ความเข้าใจเกี่ยวกับการไปใช้สิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี 2562 ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก. ในงานการจัดประชุมรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 10. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์ และ รตา อนุตรางค์กูล. (2563). การช่วงชิงความหมายอำนาจสถาปนาในรัฐธรรมนูญบนเส้นทางการพัฒนาประชาธิปไตยผ่านเส้นทางและนโยบายของพรรคอนาคตใหม่. ในงานการจัดประชุมรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 10. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2560, เมษายน). การปกครองส่วนท้องถิ่นไทย: บทสรุปการปฏิรูปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ของรัฐบาลคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) (Thai Local Government: Conclusion of local government reform of National Council for Peace and Order (NCPO)) .ในการประชุมวิชาการบัณฑิตศึกษาระดับชาติด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ครั้งที่ 1"The 1st National Graduate Conference on Political Science and Public Administration 2017. (น.21-47). เชียงใหม่: คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Pounpunwong, W. (2015). Social Change of Farmers in Contract Farming Agriculture under ACMECS in Myawaddy Province, Republic of the Union of Myanmar. In Greater Mekong Sub region Studies Center Chiang Mai University. (107-120). Chiang Mai: Faculty of Political Science and Public Administration Chiang Mai University.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2567). การเมืองเรื่องกัญชา: เยาวชนกับนโยบายกัญชาเสรีภายหลังการเปลี่ยนแปลงนโยบายและกฎหมายที่เกี่ยวกับยาเสพติดในปี พ.ศ. 2564 กรณีศึกษา จังหวัดพิษณุโลก (รายงานวิจัย). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566) การเคลื่อนย้ายสมุนไพรไทยจากสวนหลังบ้านสู่ภาคอุตสาหกรรม ศึกษาพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.).
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2566). ยุทธศาสตร์และกลไกภาครัฐในระดับภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อการป้องกันเยาวชนในการเล่นการพนันออนไลน์ กรณีศึกษา จังหวัดพิษณุโลก. (รายงานวิจัย). คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). สถานศึกษากับนโยบายและมาตรการป้องกันการใช้สารเสพติดของเยาวชนในพื้นที่ชายแดน กรณีศึกษา อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก (รายงานวิจัย). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2565). อารยสถาปัตย์กับสังคมผู้สูงอายุในสภาวะวิถีชีวิตใหม่: การพัฒนาสภาพแวดล้อม เพื่อการสนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างยั่งยืนผ่านกรอบการศึกษา นโยบายภาครัฐและการมีส่วนร่วมของชุมชน ศึกษาพื้นที่ เทศบาลเมืองอรัญญิก จังหวัดพิษณุโลก. (รายงานวิจัย). คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564). บทบาทและความสัมพันธ์ของพลวัตระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใต้วาทกรรมนโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (รายงานวิจัย). สงขลา: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564). รัฐ สังคม ชุมชน: สถานการณ์ความเสี่ยงของเยาวชนต่อปัญหายาเสพติดในพื้นที่ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง (รายงานวิจัย). สงขลา: ศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2564) โครงการหลวงกับการพัฒนาสังคมและชุมชนเพื่อส่งเสริมการพึ่งพาตนเองของชนเผ่าตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ศึกษาพื้นที่ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงหนองหอย จังหวัดเชียงใหม่ (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.).
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2563). นโยบายการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของรัฐกับการสร้างความมั่งคั่งด้านเศรษฐกิจในพื้นที่ถนนนิมมานเหมินท์ จังหวัดเชียงใหม่ (รายงานวิจัย). สงขลา: ศูนย์วิจัยปัญหาสุรา (ศวส.) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2562). มาตรการป้องกันปัญหาการเล่นพนันของเยาวชนไทยในพื้นที่ชายแดนแม่สอด-เมียวดี (รายงานวิจัย). กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2558). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมของเกษตรกรในการทำเกษตรแบบพันธะสัญญา ตามยุทธศาสตร์ ACMECS ในจังหวัดเมียวดี สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์[วิทยำนิพนธ์ปริญญำโท, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]. Chiang Mai University Digital Collections. https://cmudc.library.cmu.ac.th/frontend/Creator/personDc/87666
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: วิจัยเรื่อง การพัฒนาพื้นที่ชนบทให้กลายเป็นเมือง กรณีศึกษาแหล่งท่องเที่ยวดอยม่อนแจ่ม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: วิจัยเรื่อง สิทธิการศึกษาของเด็กไร้สัญชาติ กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านโป่งน้อย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: ค่ายพัฒนางานสอน งานวิจัย เพื่อเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้น คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น
อ้างอิง: AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4: In-House Training ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 3
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation): In-House Training ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 4
อ้างอิง: หลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome-Based Education): In-House Training ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 4
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ (Paper Camp) ณ โรงแรมบูลสกาย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชบูรณ์ จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมโครงการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษแก่อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาอื่น ๆ คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพทางวิชาการ หัวข้อ “ก้าวสู่ตำแหน่งทางวิชาการ เจาะลึกหลักเกณฑ์การกำหนดตำแหน่งทางวิชาการตามประกาศ ก.พ.อ. พ.ศ. 2564” ณ ห้องประชุม MS 308 จัดโดย คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ (Paper Camp) ณ โรงแรมการ์เด้นคลิฟฟ์ รีสอร์ท แอนด์ สปา พัทยา จ.ชลบุรี จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างทักษะ Soft Skill แก่นักศึกษาด้วยกระบวนการทางวิศวกรสังคม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัย ที่ใช้ได้จริง โดยสมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร 6 การวิเคราะห์ข้อมูลสาหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัย ที่ใช้ได้จริง โดยสมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร 5 การแปลผลและการเขียนรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัย ที่ใช้ได้จริง โดยสมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร 4 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม R
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัย ที่ใช้ได้จริง โดยสมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร หลักสูตร 3 สถิติสาหรับการวิจัยขั้นสูง
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัย ที่ใช้ได้จริง โดยสมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร 2 สถิติสาหรับการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัย ที่ใช้ได้จริง โดยสมาคมรัฐศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลักสูตร 1 การกาหนดโจทย์การวิจัยและการเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมสาหรับการวิจัย
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: หลักสูตร “5ส กับการเพิ่มผลผลิตภาพ” by Technology Promotion Association (Thailand-Japan)
อ้างอิง: หลักสูตร “หลักสูตรเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนด้วย KAIZEN” by Technology Promotion Association (Thailand-Japan)
อ้างอิง: หลักสูตร “Professional Internal Audit Technique by ISO/TS 16949:2009” Robere and Associates (Thailand)
อ้างอิง: หลักสูตร “Key to Success an Implementation by ISO/TS 16949:2009 (Requirement)” Robere and Associates (Thailand)
อ้างอิง: หลักสูตร “Key to Success an Implementation by ISO 14001:2015 (Requirement)” Robere and Associates (Thailand)
อ้างอิง: หลักสูตร “Professional Internal Audit Technique by ISO 14001:2015” Robere and Associates (Thailand)
อ้างอิง: หลักสูตร “การจัดการงานธุรการบุคคลให้ประสบความสำเร็จและเป็นที่พอใจของพนักงาน” รุ่นที่ 36 บริษัท เอช อาร์ เซนเตอร์จำกัด
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” รุ่นที่ 2 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Completing the Challenge of JATH-QCC Activity Award 2015-2016
อ้างอิง: หลักสูตร “ Update กฎหมายใหม่ของระบบไฟฟ้า ปี 2558” บริษัทเอไอเอ็ม คอนซัลแตนท์ จำกัด
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: วิทยากรถอดบทเรียนธรรมนูญสุขภาพตำบลทุ่งหลวง อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย
ชื่อโครงการ: วิทยากรโครงการรับฟังความคิดเห็นการพัฒนาเส้นทางการท่องเที่ยวจากตัวเมืองสุโขทัยสู่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยตามวิถีชุมชนผ่านการบริการรถคอกหมู
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: วิทยากรประชุมรับฟังความคิดเห็นสำนักงานหลักประกันสุขแห่งชาติภาพเขต 2 พิษณุโลก ปี 2560
ชื่อโครงการ: วิทยากรปฐมนิเทศนักศึกษาใหม่ประจำปี 2560 สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
ชื่อโครงการ: วิทยากรโครงการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาและบริการวิชาการสู่ชุมชน ณ โรงเรียนวัดจอมทอง ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่อหนังสือ:
วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2567). รัฐตลาดกับการพนันชายแดนแม่สอด-เมียวดี: แนวคิดและกรณีศึกษาสถานการณ์ ปัญหา มาตรการป้องกันการพนันกับเยาวชน. ปทุมธานี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ชื่อหนังสือ:
วสันต์ ปวนปันวงศ์. (2567). พิษณุโลกเมืองสมุนไพร จากนโยบายรัฐสู่พหุปฏิบัติการภาคการในเกษตรและอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร: ดีเซมเบอรี่.
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรดีเด่นด้านการวิจัยและบริการวิชาการประจำปี พ.ศ. 2566 ด้านการขอรับทุนวิจัยจากสถาบันภายนอก โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการและวิจัย ประจำปี 2566 คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยดีเด่น ประจำปี 2566 ในการประชุมวิชาการและนิทรรศการระดับชาติ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ครั้งที่ 5 โดย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการรับทุนสนับสนุนการวิจัย คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชพภัฏพิบูลสงคราม พ.ศ.2565
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการและวิจัย คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชพภัฏพิบูลสงครามพ.ศ.2565
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรที่มีผลงานดีเด่นด้านการวิจัยและบริการวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2565 ประเภทรางวัล นักวิจัยดีเด่นสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยระดับดีด้านการตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการและวิจัย คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชพภัฏพิบูลสงคราม พ.ศ.2564
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการรับทุนสนับสนุนการวิจัยทั้งทุนภายในและภายนอกคณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชพภัฏพิบูลสงครามพ.ศ.2564
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรที่มีผลงานดีเด่นด้านการวิจัยและบริการวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2564 ประเภทรางวัล นักวิจัยรุ่นใหม่ดีเด่นกลุ่มสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อรางวัล: ได้รับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ที่ผลการปฏิบัติงานดีเด่น คณะสังคมศาสตร์และการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชพภัฏพิบูลสงคราม พ.ศ.2563
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.