ชื่อ-นามสกุล
  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัชราวลัย มีทรัพย์  
  Asst. Prof. Dr. Phutcharawalai Meesup
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: phutcharawalai.m@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ค.ด. (การวัดและประเมินผลการศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555
2 กศ.ม. (การวิจัยและพัฒนาการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2542
3 ค.บ. (คณิตศาสตร์) สถาบันราชภัฏอุตรดิตถ์ 2539
 
ความเชี่ยวชาญ
วิจัย วัดผล ประเมินผล สถิตประยุกต์ ประกันคุณภาพ, การวัดและประเมินผลการศึกษา, ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์
 
ความสนใจ
งานประกันคุณภาพการศึกษา, วิจัยการศึกษา วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา, Measurement
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: พัชราวลัย มีทรัพย์.(2565). รูปแบบการพัฒนาศักยภาพครูในการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดของ นักเรียนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน. วารสารราชพฤกษ์, 20(2): 124-138.
อ้างอิง: ณัฐพล ปะละใจ และพัชราวลัย มีทรัพย์.(2565). การพัฒนาตัวบ่งชี้ด้านการจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะของครู ระดับมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารราชพฤกษ์, 20(1): 48-58.
อ้างอิง: ขจรศักดิ์ ขจรไชยกูล พัชราวลัย มีทรัพย์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ.(2565). การพัฒนาแบบวัดการคิดวิเคราะห์ผ่านกระบวนการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(6): 55-68.
อ้างอิง: วิลาวรรณ สังข์ทอง พัชราวลัย มีทรัพย์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ.(2565). การสร้างแบบ ทดสอบวินิจฉัยวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องภาคตัดกรวยสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(6): 55-68.
อ้างอิง: วัลลี ไหวพรม ปิยมนัส วรวิทย์รัตนกุล และพัชราวลัย มีทรัพย์. (2565). การพัฒนาชุดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ผ่านคิวอาร์โค้ดเรื่องแรงและการเคลื่อนที่สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนบ้านวังแช่กลอย. วารสารครุพิบูล, 9(1): 149-162.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: ฉัตรญาณิน แก้วกอ สุภาวดี พรมสอน พัชราวลัย มีทรัพย์ อนุ เจริญวงศ์ระยับ และปิยมนัส วรวิทย์รัตนกุล. (2564). การพัฒนาแอปพลิเคชันรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เรื่อง ชาวพุทธที่ดีสำหรับ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเทศบาลวัดไทยชุมพล(ดำรงประชาสรรค์). วารสาร มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 15(2): 443-454.
อ้างอิง: ไมตรี มั่นทรัพย์ พัชราวลัย มีทรัพย์ และยุพร ริมชลการ. (2564). การศึกษาสภาพความต้องการจำเป็นการ พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เชิงรุกแบบรวมพลังร่วมกับเทคนิค KWDL เพื่อเสริมสร้างทักษะการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 15(2): 468-482.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Pornphimon Boonsong, Phutcharawalai Meesup.(2020). The flipped classroom approach through a google site and project based learning on creative thinking and innovation in the 21st century. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences. Vol. 21 No. 1: 194-212.
อ้างอิง: พัชรี ปุ่มสันเทียะ สิริณดา เจริญชอบ พัชราวลัย มีทรัพย์ และ ปิยมนัส วรวิทย์รัตนกุล. (2563). การพัฒนาสื่อ การเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีความเป็นจริงเสริมในรายวิชาภาษาจีน สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 48(2) : 184-202.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: ณัฏฐินี คำมา และพัชราวลัย มีทรัพย์. (2562). การศึกษาความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้เพื่อเสริม ทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของครูผู้สอน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 13(2): 590-603.
อ้างอิง: Phutcharawalai Meesup. (2019). A Needs Assessment of Kindergarten Teachers’ Basic Skill. Humanities and Social Sciences Journal of Graduate School, Pibulsongkram Rajabhat University. Vol. 13 No. 2: 580-589.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: พัชราวลัย มีทรัพย์. (2561). การเปรียบเทียบคุณภาพแบบวัดฉบับสั้นของแบบวัดความกลัวในการเข้าสู่ประชาคม อาเซียน ของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่คัดเลือกด้วยวิธีต่างกัน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 41(1) , 101-113.
อ้างอิง: พัชราวลัย มีทรัพย์ และ อนุ เจริญวงศ์ระยับ. (2561). การประเมินประสิทธิผลโครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน: Spirit of ASEAN ของส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(1) , 15-29.
อ้างอิง: สุวารีย์ วงศ์วัฒนา พัชราวลัย มีทรัพย์ ยุพร ริมชลการ อัญชนา ปรีชาวรพันธ์ และ ไพศาล ริ้วธงชัย(2561). การประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 12(1), 30-44.
อ้างอิง: อธิฎฐาน จันทร์ทา อนุ เจริญวงศ์ระยับ และพัชราวลัย มีทรัพย์. (2561). การพัฒนาตัวบ่งชี้ความพร้อมตาม ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(2), 99-119.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เวลิกา ไผ่เรือง อัญชนา ปรีชาวรพันธ์ และ พัชราวลัย มีทรัพย์. (2560). การพัฒนาการจัดกาเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิดพหุปัญญา เรื่อง สารรอบตัวเราสำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 2. วารสารวิชาการเครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ, 7(13), 111-124
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: ศรัญญา ทับน้อย พัชราวลัย มีทรัพย์ และลาวัณย์ ถาพันธ์. (2559). การพัฒนาความสามารถด้านการเป็นวิทยากรของครูศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดกำแพงเพชรโดยใช้การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 10(1), 209-222.
อ้างอิง: ประกฤติยา ทักษิโณ และ พัชราวลัย มีทรัพย์. (2559). การพัฒนาแบบวัดความเป็นไทยของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 10(2), 194-212.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: ศุภลักษณ์ แป้นเพชร ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ พัชราวลัย มีทรัพย์. 2558. การวิเคราะห์องค์ประกอบสมรรถนะครูวิทยาศาสตร์ระดับมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 41 และ 42. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มรพส.,9(1), 90-108 .
อ้างอิง: น้ำเพชร ภู่แส ปัณณวิชญ์ ใบกุหลาบ พัชราวลัย มีทรัพย์. 2558. การพัฒนาตัวบ่งชี้คุณลักษณะการอยู่ร่วมกันตามวิถีประชาธิปไตยของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มรพส.,9(1), 145-162.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: เจษฎาภรณ์ อ้นแก้ว พัชราวลัย มีทรัพย์ นิคม นาคอ้าย. 2557. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก: การวิเคราะห์พหุระดับโดยใช้โมเดลระดับลดหลั่นเชิงเส้น (HLM). วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 8(1), 18-36.
อ้างอิง: กิตติธัช สีหะวงษ์ พัชราวลัย มีทรัพย์ วิราพร พงศ์อาจารย์. 2557. การศึกษาสภาพและแนวทางการพัฒนาการประเมินตามสภาพจริงของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39 อำเภอเนินมะปราง จ.พิษณุโลก.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 8(1), 82-95.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: พัชราวลัย มีทรัพย์ (2560).ผลการใช้บทเรียน E-learning เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2. การประชุมวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17, 21 กรกฎาคม 2560. Page: 232-237
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง:
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: เตรียมความพร้อมการเข้าสู่มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ
อ้างอิง: ประชุมปฏิบัติการประมวลผลสอบ
อ้างอิง: การปรับปรุงตัวชีวัดการประเมินผลการสอนอาจารย์
อ้างอิง: หลักสูตร Outcome-based Education
อ้างอิง: ประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 8 “การวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)”
อ้างอิง: การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนโดยใช้กระบวนการชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community:PLC)
อ้างอิง: TPCK Model
อ้างอิง: การสร้างเครื่องมือวัดสมรรถนะ
อ้างอิง: วัดและประเมินผลอย่างไรใน Active Learning
อ้างอิง: การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
อ้างอิง: AUN-QA
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.