ชื่อ-นามสกุล
 อาจารย์วริศรา ตั้งค้าวานิช  
 Miss Warisara Tangkawanich
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: warisara.t@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 อ.ม. (ประวัติศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556
2 อ.บ. (ประวัติศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
 
ความเชี่ยวชาญ
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่, ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, History, Modern Thai History, Southeast Asian History
 
ความสนใจ
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่, ประวัติศาสตร์นิพนธ์, ประวัติศาสตร์ความคิดและภูมิปัญญา, Historiography, Intellectual History
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: วริศรา ตั้งค้าวานิช. “ประวัติศาสตร์, เรื่องเล่า และอนุสาวรีย์: อะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี” ศิลปวัฒนธรรม. 39,3 (มกราคม 2561): 68-103.
ปี พ.ศ. 2552 (2009)
อ้างอิง: วริศรา ตั้งค้าวานิช. “ภาพลักษณ์สมเด็จพระนเรศวรของราชสำนักไทยสมัยรัตนโกสินทร์ถึงทศวรรษ 2480” วารสารฟ้าเดียวกัน 7,3 (กรกฎาคม – กันยายน 2552): 94 – 132.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: วริศรา ตั้งค้าวานิช. (2560). อะแซหวุ่นกี้ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี: ประวัติศาสตร์ของรัฐ เรื่องเล่าของคน ท้องถิ่น และการสร้างพื้นที่ความทรงจำ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 11 เปิดโลกสุนทรีย์ในวิถีมนุษยศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 8-9 กันยายน 2560. หน้า 720-734.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Warisara Tangkawanich. “The Making of the Golden Age: The Idealization of Sukhothai History, 1907 – 1952” นำเสนอใน The 8th Singapore Graduate Forum on Southeast Asian Studies, Asia Research Institute, National University of Singapore (22 – 26 July 2013)
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: Warisara Tangkawanich. “Before becoming “The Dawn of Happiness”: Historiography of “Sukhothai” in Thailand in the mid-fifteenth to mid-twentieth centuries” นำเสนอใน The 7th Singapore Graduate Forum on Southeast Asian Studies, Asia Research Institute, National University of Singapore (16 – 20 July 2012)
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: อบรม AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4 In-House Training (รุ่น 2) วิทยากรโดย รศ. ดร.เภสัชกรหญิง กัญคดา อนุวงศ์
อ้างอิง: อบรมแนวทางการผลิตผลงานเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการและการพัฒนานวัตกรรมสู่การเรียนการสอน ณ อาคารศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการการประกันคุณภาพการศึกษา (AUN-QA) ณ ห้องปางอุบล ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง วังจันทน์ ริเวอร์วิว
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา (Course Learning Outcomes: CLOs) ที่สอดคล้องกับสิ่งที่คาดหวังเป้าหมายของหลักสูตร (Program Learning Outcomes: PLOs) ตามแนวทางการจัดหลักสูตรการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome Based Education: OBE) ณ อาคารศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรม Train The Trainer “การพัฒนาทักษะความรู้ในการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม” (รุ่นที่ 1) ณ อาคารพิบูลวิชญ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมหลักสูตรดารา+โหราศาสตร์ โดย อาจารย์อารี สวัสดี อดีตนายกสมาคมดาราศาสตร์ไทย ณ มูลนิธิสมาคมโหรแห่งประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ์
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการการยกระดับคุณภาพการศึกษาด้วยเกณฑ์ AUN-QA และการพัฒนาผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย ณ อาคารศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ e-Signature (PSRU) โดยคณะวิทยากรจาก IDT PSRU ณ อาคารศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมการใช้งานห้อง smart classroom โดย สถาบันเทคโนโลยีดิจิทัล
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: เวิร์กชอปโหราศาสตร์สากล Cosmo Biography Level 1 รุ่น 3/2023 โดยอาจารย์ลัทธนันท์ สันทนาคณิต (ไฟน่อน)
อ้างอิง: หลักสูตร สุริยยาตร์ศึกษา ของ มูลนิธิสมาคมโหรแห่งประเทศไทย ในพระสังฆราชูปถัมภ์ โดย อาจารย์ วรพล ไม้สน (พลังวัชร์)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: อาศรมวิจัยมนุษยศาสตร์ ครั้งที่ 4 โดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (The 4th Humanities Research Training by The Thailand Research Fund)
อ้างอิง: โครงการฝึกอบรมระยะสั้น เพื่อพัฒนานักวิจัยทางสังคมศาสตร์ หลักสูตรปรัชญาสังคมศาสตร์กับการวิเคราะห์ทางสังคม (Philosophy of Social Science and Social Analysis) ณ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อหนังสือ:
วริศรา ตั้งค้าวานิช. ประวัติศาสตร์ “สุโขทัย” ที่เพิ่งสร้าง. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557. (ปรับปรุงจากวิทยานิพนธ์เรื่อง “รุ่งอรุณแห่งความสุข”: การสร้างประวัติศาสตร์ “สุโขทัย” พ.ศ. 2450 – 2534)
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.