ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. นพดล สีสุข  
  Dr. Noppadon Sisuk
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267000
อีเมล์: noppadon.s@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2562
2 วท.ม. (ฟิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556
3 วท.บ. (พิสิกส์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553
 
ความเชี่ยวชาญ
Applies Physics, Embedded and IoT Development, Signal and Systems Analysis, Electrical and Electronic Circuit Design, Digital Signal Processing System Design, Medical Device Design and Development
 
ความสนใจ
Internet of Things, Embeded System, Artificial Intelligence, Electronics and Smart systems, Medical Device Design and Development
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: รัชนู กัดมั่น, นพดล สีสุข, และอนุชา แก้วพูลสุข. (2022), การทดลองเพื่อตรวจวัดค่าความต้านทานภายในของมัลติมิเตอร์ บนโปรแกรม TINKERCAD, PSRU Journal of Science and Technology, 7(1), 100-116
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Kriangsak Prompak, Pimonwan Phoomsrikaew, Anucha Kaewpoonsuk and Noppadon Sisuk, Development of Automatic Fall Detection Device for Old People Based on 3-Axis Accelerometer Sensor with Mobile IoT System, ICIC Express Letters, Part B: Applications, An International Journal of Research and Surveys. Vol.12, Num.5, March 2021, pp. 461-469.
อ้างอิง: Anucha Kaewpoonsuk, Sukkan Sudtana, Kriangsak Prompak and Noppadon Sisuk, Automatic Blood Pressure for Wearable Health Monitoring Using IoT Technology, ICIC Express Letters, Part B: Applications, An International Journal of Research and Surveys. Vol.12, Num.5, March 2021, pp. 479-486.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Sudtana, S., Sisuk, N., Prompak, K., Keawpoolsuk, A., Maneegirapragarn, N., Wardkein, P. (2020). Ultrasonic Distance Detection Based on Forced Oscillation of Quadrature Oscillator. Proceedings of the 16th International Electrical Engineering Congress (iEECON), (p. 66). Chonburi: Rajamangala University of technology phra Nakhon.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Sukkan Sudtana, Kriangsak Prompak, Suphawadee Suphramit, Noppadon Sisuk, Surapol Boonjun, Paramote Wardkein. Velocity Detection by Ultrasonic Doppler based on Multi-Time Technique Analysis. The 16th International Conference on Electrical Engineering/Electronics, Computer, Telecommunications and Information Technology or ECTI-CON 2019; July 10-13 2019; D Varee Jomtien Beach Hotel, Pattaya, Thailand; 2019; 190-94.
อ้างอิง: Anucha Punapung, Noppadon Sisuk, and Anucha Kaewpoonsuk, A Design and Analysis For Weld Seam Detector Based on Eddy Current and Phase Lock Loop Technique, ICIC Express Letters, Part B: Applications, An International Journal of Research and Surveys. Vol.10, Num.3, March 2019, pp. 227-233.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Anucha Kaewpoonsuk, Noppadon Sisuk, and Krit Smerpitak, Analysis of Beat Frequency Detector Based on Basic Logic Gates, ICIC Express Letters, Part B: Applications, An International Journal of Research and Surveys. Vol.12, Num.8, August 2018, pp. 815-822.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Noppadon Sisuk, Suphawadee Suphramit, Anucha Kaewpoonsuk and Paramote Wardkien, Design and Analysis of Single Phase Pure Sine Inverter Based on Phase Locked Loop, ICIC Express Letters, Part B: Applications, An International Journal of Research and Surveys. Vol.7, Num.10, October 2016, pp. 2011-2016.
อ้างอิง: Suphawadee Suphramit, Noppadon Sisuk, Anucha Kaewpoonsuk and Paramote Wardkien, Damping Coefficient Detector for Damped Oscillation, ICIC Express Letters, Part B: Applications, An International Journal of Research and Surveys. Vol.7, Num.12, December 2016, pp. 2585-2590.
อ้างอิง: นพดล สีสุข, สุภาวดี สุพระมิตร, และ เกรียงศักดิ์ พรมภักดิ์, การพัฒนาต้นแบบระบบเฝ้าตรวจวัดสารละลายธาตุอาหารพืชในแปลงปลูกไฮโดรโปนิกส์ผ่านระบบสื่อสารไร้สายย่านความถี่ 2.4 GHz, วารสาร มทร.อีสาน ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, ปีที่ 9, ฉบับที่ 3, กันยายน-ธันวาคม, 2559, หน้า 42-54.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Kriangsak Prompak, Noppadon Sisuk, Suphawadee Suphramit, Anucha Kaewpoonsuk, Thongchai Maneechukate and Natthawud Dussadee. (14-17 September 2013). Simple Opamp-Based Circuit for Measuring Electro-Conductivity of Electrolytic Solutions in Hydroponics System. In The Innovative Computing, Information and Control (ICIC) Express Letters an International Journal of Research and Surveys. Vol.8, Num.4, April 2014, pp.1097-1102. Japan: Kumamoto City International Center, Kumamoto.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Sujitra Katekarn, Kanjana Jittiporn, Teonchit Nuamchit, Janjira Payakpate and Noppadon Sisuk. (2022). A Synthetic of Wolff-Parkinson-White (WPW) Pattern Based on the Fourier Series, 16th International Conference on Innovative Computing, Information and Control (ICICIC2022), September 15-16, 2022.
อ้างอิง: Nattapong Apirattanon, Sudarat Tokampang, Kriangsak Prompak and Noppadon Sisuk. (2022). Development of Wearable Fall Detection System using ML and IoT for The Elderly, 16th International Conference on Innovative Computing, Information and Control (ICICIC2022), September 15-16, 2022.
อ้างอิง: Sujitra Katekarn, Noppadon Sisuk, Janejira Sawasdimanont, Janjira Payakpate and Kanjana Jittiporn. (2022). Design and Simulation of a Synthetic ECG and Intracardiac Electrogram Based on the Fourier Series, The 54th National Graduate Research Conference, 46-57.
อ้างอิง: Wasan Wichai, Wasu Panpaisan, Kriengsak Phromphak, Anucha Kaewpoonsuk, Noppadon Sisuk and Pramote Wardkien. (2022). Autometic 2 wheel solar areator bot controlled with GPS. โครงการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 11 “Economic and social recovery from covid-19 by research and Innovation”, 25 – 28 มกราคม 2565. 1213-1223.
อ้างอิง: Anucha Kaewpoonsuk, Sukkan Sudtana, Wanchai Khunnam and Noppadon Sisuk. (2022). Study of smartphone applications for the beat phenomenon experiment. โครงการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 11 “Economic and social recovery from covid-19 by research and Innovation ” 25 – 28 มกราคม 2565. 1297-1307.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: นพดล สีสุข และ อนุชา แก้วพูลสุข. การวิเคราะห์ตัวผสมสัญญาณที่อาศัยลอจิกเกตพื้นฐานในการออกแบบ, การประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 9. หน้า PY-O-005. มหาวิทยาลัยบูรพา: คณะวิทยาศาสตร์, 25-26 พฤษภาคม, 2560.
อ้างอิง: N. Sisuk, S. Suphramit, A. Kaewpoonsuk, P. Wardkien. Design and Analysis the Voltage and Frequency Control System of Gasoline Generator using Phase Locked Loop. 8th International Sciences, Social Sciences, Engineering and Energy Conference; March 15-17 2017; A-One The Royal Cruise Hotel, Pattaya Beach, Chonburi, Thailand; 2017; 267-70.
อ้างอิง: S. Suphramit, N. Sisuk, A. Kaewpoonsuk, P. Wardkien. Low Frequency Amplitude Modulation Using Time-Varying Forced Function of Spring-Mass System. 8th International Sciences, Social Sciences, Engineering and Energy Conference; March 15-17 2017; A-One The Royal Cruise Hotel, Pattaya Beach, Chonburi, Thailand; 2017; 291-95.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: นพดล สีสุข, สุภาวดี สุพระมิตร, วนิศา ทุ้ยแป, ศิริพร นนทะ, ภูวดล กลํ่าเทศ และ ปราโมทย์ วาดเขียน. การประยุกต์ใช้วงจรกำเนิดสัญญาณคลื่นรูปไซน์ให้ทำหน้าที่เป็นตัวกรองสัญญาณและตัวให้กำเนิดสัญญาณ, การประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 8. หน้า PH 108-PH113. มหาวิทยาลัยพะเยา: คณะวิทยาศาสตร์
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: นพดล สีสุข, สุภาวดี สุพระมิตร, และ เกรียงศักดิ์ พรมภักดิ์. การพัฒนาอินเวอร์เตอร์ชนิดแหล่งจ่ายแรงดันเฟสเดียว สำหรับปั๊มน้ำในแปลงปลูกพืชแบบไฮโดรโปนิกส์ขนาดเล็ก, การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8. หน้า 231-234. คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
อ้างอิง: นพดล สีสุข, สุภาวดี สุพระมิตร, และ เกรียงศักดิ์ พรมภักดิ์. การพัฒนาหัววัดและระบบเฝ้าตรวจวัดสารอาหารในแปลงปลูกไฮโดรโปรนิกส์ผ่านระบบสื่อสารไร้สาย, การประชุมวิชาการ งานวิจัยและพัฒนาเชิงประยุกต์ ครั้งที่ 7. หน้า 297-300.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: สุภาวดี สุพระมิตร, นพดล สีสุข, เกรียงศักดิ์ พรมภักดิ์, อนุชา แก้วพูลสุข และ ปราโมทย์ วาดเขียน. (20-21 มีนาคม 2557). การสร้างระบบการสั่นของมวล-สปริงที่มีค่าแรงหน่วงเป็นศูนย์ และมีการป้อนแรงบังคับจากภายนอกด้วยส่วนการป้อนกลับทางไฟฟ้า ซึ่งสามารถอธิบายพฤติกรรมของมันได้อย่างสมบูรณ์ ด้วยแบบจำลองตัวแปรเวลาหลายตัว. การประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 6. หน้า PH 713-PH76. มหาวิทยาลัยบูรพา: คณะวิทยาศาสตร์
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: นพดล สีสุข, เกรียงศักดิ์ พรมภักดิ์, อนุชา แก้วพูลสุข, วศุ พันไพศาล และ ปราโมทย์ วาดเขียน. (11-13 ธันวาคม 2556). การอธิบายพฤติกรรมของระบบเชิงเส้นอันดับหนึ่งทางไฟฟ้าอย่างแม่นยำด้วยเทคนิคตัวแปรเวลาหลายตัว. การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 36 (EECON-36. กาญจนบุรี: เฟลิกซ์ ริเวอร์แคว รีสอร์ท
อ้างอิง: สุภาวดี สุพระมิตร, นพดล สีสุข, วสุพล ม่วงเล็ก และ ธงชัย มณีชูเกตุ. (2556). การเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องอัดประจุแบตเตอรี่สำหรับแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยอาศัยเทคนิคตัวเก็บประจุคู่. การประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 5. มหาวิทยาลัยพะเยา: อาคารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
อ้างอิง: นพดล สีสุข, ธงชัย มณีชูเกตุ และ ปราโมทย์ วาดเขียน. (2556). การรักษาเสถียรภาพทางความถี่ของเครื่องกำเนิดกำลังงานไฟฟ้าแก๊สโซลีนบนพื้นฐานของเฟสล็อกลูป. การประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัย ครั้งที่ 4. หน้า PH 72-PH76. มหาวิทยาลัยนเรศวร: คณะวิทยาศาสตร์
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: นพดล สีสุข, สุภาวดี สุพระมิตร, ธงชัย มณีชูเกตุ และ ปราโมทย์ วาดเขียน. (30 พฤศจิกายน-2 ธันวาคม 2554). วงจรเฟสล็อกลูปอันดับที่ 1 ที่อาศัยตัวแปลงเวลาเป็นศักดาไฟฟ้าแทนวงจรกรองความถี่ต่ำผ่าน. การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้าครั้งที่ 34 (EECON34), หน้า 925-928. ชลบุรี: โรงแรมแอมบาสเดอร์ซิตี้ จอมเทียน
อ้างอิง: ธงชัย มณีชูเกตุ, นพดล สีสุข, สุภาวดี สุพระมิตร และศิรินุช จินดารักษ์. (2554). เครื่องบันทึกข้อมูลไร้สายพลังงานแสงอาทิตย์โดยใช้โปรโตคอลแบบโพลลิ่ง. การประชุมสัมมนาเชิงวิชาการ รูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4. หน้า 83-93. มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง: อาคารโอฬารโรจนหิรัญจน์
อ้างอิง: Thongchai Maneechukate, Noppadon Sisuk, Suphawadee Suphramit, Kitsana Muanmee Paramote Wardkein. (2011). A Class D High Power Transfer Efficiency Amplifier Based on PLL. The 26th International Technical Conference on Circuits/System, Computers and Communication. Hyundai Hotel in Korea, Gyeongju.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE รุ่น มรพส#2
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#2
อ้างอิง: GCP online training (Computer-based) “แนวทางการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH-GCP:E6(R2))”
อ้างอิง: โครงการยกระดับระบบการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วยแพลตฟอร์ม PSRU Lifelong Learning เพื่อรองรับหลักสูตรระยะสั้นเพื่อเพิ่มทักษะ Re-skill /Up-skill
อ้างอิง: คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบรูณาการกับการทำงาน รุ่นที่ 3 ประเภท: คณาจารย์นิเทศ
อ้างอิง: พัฒนาทักษะ Soft Skills ด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม (Social Engineer) เพื่อบรูณาการเรียนการสอน สำหรับคณาจารย์และบุคลากร
อ้างอิง: แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน เพิ่มโอกาสทางธุรกิจใหม่ รุ่นที่ 1
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: เทคนิคการเขียนตำรา หนังสือ และบทความวิจัยสำหรับการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: เครื่องตรวจหมู่เลือดแบบไม่ลุกล้ำโดยอาศัยแสงแอลอีดี
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: ชุดทดลองการเคลื่อนที่แบบวงกลมโดยอาศัยมอเตอร์ควบคุมความเร็วรอบ
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: เครื่องตรวจวัดค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดระหว่างการใช้เครื่องหัวใจและปอดเทียม
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: หมวกเตือนสิ่งกีดขวางระดับศีรษะสำหรับคนตาบอด
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: แท่นสำหรับวางโทรศัพท์มือถือสำหรับอ่านบาร์โค้ด 2 มิติ ของสลากกินแบ่งรัฐบาล
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: ชุดทดลองค่าความจุไฟฟ้าของแผ่นตัวนำคู่ขนานแบบปรับเปลี่ยนพื้นที่หน้าตัดและระยะห่าง
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: ชุดตรวจวัดค่าคงที่ความหน่วงของออสซิลเลเตอร์ทางกลศาสตร์
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: เครื่องตรวจวัดและบันทึกความเข้มข้นของสารละลายธาตุอาหารพืชแบบเวลาจริง
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: อุปกรณ์ช่วยตรวจหาด้านแข็งของก้านไม้กอล์ฟด้วยโมดูลกล้องตรวจจับสีและวัตถุ (Pixy)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: อุปกรณ์จับเวลาสำหรับชุดทดลองวัตถุตกอย่างอิสระที่มีการใช้เซนเซอร์เสียง เป็นตัวตรวจจับการตกของวัตถุลงสู่พื้น
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.