|
|
|
ชื่อ-นามสกุล |
รองศาสตราจารย์ ดร. ปิยะดา วชิระวงศกร Assoc. Prof. Dr. Piyada Wachirawongsakorn |
ตำแหน่ง: รองศาสตราจารย์ |
สังกัดหน่วยงาน:
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน:
- |
อีเมล์: piyada333@hotmail.com |
|
|
|
|
|
ลำดับการศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
ปีการศึกษาที่จบ |
1 |
Dr.nat.tech (Atmosphere, Water and Environment) |
BOKU |
2551 |
2 |
Diploma ((Land and water management and engineering) |
BOKU |
2549 |
3 |
วท.ม. (การจัดการทรพยากรธรรมชาติ) |
ม.นเรศวร |
2545 |
4 |
วท.บ. (อัญมณีวิทยา) |
ม.เชียงใหม่ |
2543 |
|
|
|
|
|
สิ่งแวดล้อม/พลังงาน/ทรัพยากรธรรมชาติ, การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในสิ่งแวดล้อม, การปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
|
การจัดการสิ่งแวดล้อม, การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพในสิ่งแวดล้อม, การปนเปื้อนมลพิษในสิ่งแวดล้อม |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
Khamjing, T. & Wachirawongsakorn, P. (2023). Knowledge, behavior and awareness of farmers in agrochemical use in Phitsanulok province. PSRU Journal of Science and Technology, 8(3), 1-19. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/252374 |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakorn, P & Jamnongkan, T. (2023). Evaluation of heavy metal contamination in water for paddy fields usage of Phitsanulok province. Life Sciences and Environment Journal, 24(2): 309-326. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/psru/article/view/252690 |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakorn, P., Phiromchom, S. & Junrak, S. (2023). Safety evaluation on cadmium contamination and bioaccumulation in pomelo (CITRUS MAXIMA (BURM.F.) MERR.) in Phichit province. Academic Journal: Uttaradit Rajabhat University Science and Technology (for Local Development), 18(1), 1-19. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/uruj/ article/view/248518 |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakorn, P. and Jamnongkarn, T. (2022). Paddy Farmer’s Knowledge, Attitude and Key Factors Affecting the Decision Making on Organic Rice Production of Farmers in Phitsanulok Province. Rajabhat Chiang Mai Research Journal, 23(2), 190-202. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/cmruresearch/article/view/258928. |
|
|
อ้างอิง: |
Phiromchom, S., Junrak, S. and Wachirawongsakorn. (2022). Evaluation of Heavy Metals Contamination and Bioaccumulation in Citrus Maxima (CITRUS MAXIMA (BURM.) MERRILL) in Pho Prathap Chang Sub-District, Pho Prathap Chang District, Phichit Province. Life Sciences and Environment Journal. 23(1): 393-408. |
|
|
อ้างอิง: |
Thipphawan, P. and Wachirawongsakorn, P. (2022). Soil quality assessment in pomelo orchards in Pho Prathap Chang Sub-District, Pho Prathap Chang District, Phichit Province. PSRU Journal of Science and Technology, 7(2): 73-88. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/248438. |
|
|
อ้างอิง: |
Jamnongkan, T., Intaramongkol, N., Kanjanaphong, N., Ponjaroen, K., Sriwiset, W., Mongkholrattanasit, R., Wachirawongsakorn, P., Lin, K.A. & Huang, C.F. (2022). Study of the Enhancements of Porous Structures of Activated Carbons Produced from Durian Husk Wastes. Sustainability, 14(10): 5896; https://doi.org/10.3390/su14105896. |
|
|
อ้างอิง: |
Jamnongkan, T., Mongkholrattanasit, R., Wattanakornsiri, A., Wachirawongsakorn,P., Takatsuka, Y., Hara, T. (2021). Green adsorbents for copper (II) biosorption from waste aqueous solution based on hydrogel-beads of biomaterials. South African Journal of Chemical Engineering. 35:14-22. |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakon, P., Ninsonti, T., Aykam, M., Phueakchaona, K., Chueygratok, T. and Jantakun, O. (2021). Safety Evaluation on Cd-Bioaccumulation of Exported Mango in Phitsanulok. Thai Journal of Toxicology. 36(1):1-17. Linlk: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/ThaiJToxicol/article/view/248011 |
|
|
อ้างอิง: |
Jinta, S., & Wachirawongsakorn, P. (2021). EVALUATION HEAVY METALS CONTAMINATED OF ECONOMIC VEGETABLES: CASE STUDY IN BUENGPHRA SUB-DISTRICT, MUANG DISTRICT, PHITSANULOK. PSRU Journal of Science and Technology, 6(1), 28-38. Link: https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/243459 |
|
|
อ้างอิง: |
Thaysnit, N. and Wachirawongsakorn, P. (2021). Assessment of Some Heavy Metal Contaminations in Paddy Soilso Sukhothai Province. PSRU Journal of Science and Technology. 6(1): 99-108. Link : https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/243621/166035 |
|
|
อ้างอิง: |
Tamdee, P. and Wachirawongsakorn, P. (2021). Heavy Metal Contamination in Soil of Economic Vegetable Producing Areas in Phitsanulok Province. PSRU Journal of Science and Technology. 6(2): 98-108. Link: https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/Scipsru/article/view/243631 |
|
|
อ้างอิง: |
Noinumsai, S, Sangkam D and Wachirawongsakorn. (2019). Environmental Impact Assessment and Quality of Life of Communities around Landfill Site: A Case Study of Tha Phoe Sub-district, Muang District, Phitsanulok Province. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 12(2), 152-167. |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakorn, P., Wongtawee, P. and Noinumsai, S.(2018). Health Impact Assessment of Communities Surround Landfill Site of Sukhothaithani Municipality, Sukhothai Province. Journal of Community Development and Life Quality. 6, 2 (May 2018), 376-402. |
|
|
อ้างอิง: |
Noinumsai, S. and Wachirawongsakorn, P. (2017). The Assessment of Suitable Sanitary Landfills Area in Uttaradit Province by Using Geograpic Information System. Naresuan University Journal: Science and Technology, (25)3: 77-88. |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakorn, P. (2016). Health risk assessment via consumption of Pb and Cd contaminated vegetables collected from fresh markets in the lower north of Thailand. Human and Ecological Risk Assessment. 22(3): 611-622. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร และวิภาภรณ์ สุดนุ่ม. (2559). การประเมินการจัดการความเป็นโรงเรียนสีเขียวในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 4(3): 349-359. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร และณัฏฐิณี ดีแท้. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนล่าง. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม. 12(2): 4-21. |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakorn, P., Jamnongkarn, T. and Latif, M.T. (2015). Removal of Cyanide-Contaminated Water by Vetiver Grasses. Modern Applied Science. 9(13): 252-262. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร, สิรินรัตน์ รอดขาว และเจนจิรา ช่วยปุ่น. (2558). การประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการบริโภคผักประเภทใบ ที่มีการปนเปื้อนสารตะกั่วและแคดเมียม: กรณีศึกษาเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. 16(2): 167-177. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร และอุษณีย์ ทิมสูงเนิน. (2558). การประเมินการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการประเภทโรงแรมในเขตภาคเหนือตอนล่าง. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม. 11(1): 100-115. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร และธันวดี ศรีธาวิรัตน์. (2557). คุณภาพสิ่งแวดล้อมและการดำเนินชีวิตของชุมชนบริเวณใกล้เหมืองแร่ทองคำในจังหวัดพิจิตร เพชรบูรณ์ และพิษณุโลก. วารสารการจัดการสิ่งแวดล้อม. 10(2): 91-105. |
|
|
อ้างอิง: |
Tongsai, J., Amnuay, W., Piyada, W., and Supranee, K. (2014). Effects of crosslinking degree of poly(vinyl alcohol) hydrogel in aqueous solution: kinetics and mechanism of copper(II) adsorption. Polym. Bull. (2014) 71:1081–1100. |
|
|
อ้างอิง: |
Wachirawongsakorn, P. and Sangyoka, S. (2013). Assessment of heavy metal distribution in soil and groundwater surrounding municipal solid waste dumpsite in Nai Muang sub-district administrative organization, Amphur Phichai, Uttaradit. NU Sciene Journal. 10(1): 18-29. |
|
|
อ้างอิง: |
กรรณิการ์ บุตรเอก, สุวิมล แก้วเงา และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2554). สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. วารสารวิทยาศาสตร์. 12(2): 74-89. |
|
|
อ้างอิง: |
สุขสันต์ สุภาวงศ์ และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2554). คุณภาพน้ำผิวดินในหมาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนทะเลแก้ว) จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์. 12(2): 72-85. |
|
- |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
กลวัชร ปีพาด และปิยะดา วชิระวงศกร. (2563). การประเมินคุณสมบัติและการปนเปื้อนโลหะหนักในดินนาข้าวปลอดภัยของจังหวัดพิษณุโลก. พิบูลสงครามวิจัยครั้งที 6, วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563. 801-809. |
|
|
อ้างอิง: |
นพกร สุขพัฒน์ และปิยะดา วชิระวงศกร. (2563). การประเมินการปนเปื้อนโลหะหนักของดินนาข้าวในอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. พิบูลสงครามวิจัยครั้งที 6, วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563. 846-854. |
|
|
อ้างอิง: |
ประไณย รวบรวม และปิยะดา วชิระวงศกร. (2563). การประเมินโลหะหนักในดินนาของจังหวัดพิษณุโลก. พิบูลสงครามวิจัยครั้งที 6, วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563. 864-873. |
|
|
อ้างอิง: |
อรอนงค์ จันทคุณ, ธมนวรรณ ฉวยกระโทก และปิยะดา วชิระวงศกร. (2562). การประเมินการปนเปื้อนโลหะหนักในมะม่วงน้ำดอกไม้สีทองในจังหวัดพิษณุโลก. พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5. วันที่ 15 มีนาคม 2562. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 523-528. |
|
|
อ้างอิง: |
มุกตาภา อ้ายคำ และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2562). การประเมินการปนเปื้อนโลหะหนักในดินสวนมะม่วงน้ำดอกไม้สีทองสำหรับส่งออกในจังหวัดพิษณุโลก. พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5. วันที่ 15 มีนาคม 2562. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 419-424. |
|
|
อ้างอิง: |
ณัฏฐินี ดีแท้, ศรัญญา ทองสุข, ปิยะดา วชิระวงศกร และปัณณวิช คำรอด. (2561). การศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายของประชาชนในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และลำปางวิจัย ครั้งที่ 4. หน้า 748. |
|
|
อ้างอิง: |
เกสรา เผือกชาวนา และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2561). การประเมินการกักเก็บคาร์บอนในดินสวนมะม่วงน้้าดอกไม้สีทองในจังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยนเรศวร. 173-180. |
|
|
อ้างอิง: |
เทียมจันทร์ นิลสนธิ และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2561). การประเมินการสะสมแคดเมียมของมะม่วงน้้าดอกไม้เบอร์ 4 ในจังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศ และสิ่งแวดล้อม ครั้งที่ 3. มหาวิทยาลัยนเรศวร. 162-172. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร และพัชราภรณ์ วงทวี. (2560). สภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณรอบสถานที่ฝังกลบมูลฝอยเทศบาลเมืองสุโขทัยธำนี จ.สุโขทัย. การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากรธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม นเรศวร ครั้งที่ 2”. วันศุกร์ที่ 15 ธันวาคม 2560 ณ ห้องประชุม Main Conference อาคารศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. มหาวิทยาลัยนเรศวร. 296-302. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร และพัชราภรณ์ วงทวี. (2560). สภาพสิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณรอบสถานที่ฝังกลบมูลฝอยเทศบาลเมืองสุโขทัยธำนี จ.สุโขทัย. การประชุมทางวิชาการ “ทรัพยากร ธรรมชาติ สารสนเทศภูมิศำสตร์ และสิ่งแวดล้อม นเรศวร ครั้งที่ 2”. วันศุกร์ที่ 15 ธันวำคม 2560 ณ ห้องประชุม Main Conference อาคารศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. มหาวิทยาลัยนเรศวร. 296-302. |
|
|
อ้างอิง: |
รุ่งไพลิน วนรัตน์วิจิตร และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การประเมินการปนเปื้อนของตะกั่ว แคดเมียม และทองแดง ในข้าวสารที่วางจำหน่ายในตลาดเทศบาลเมืองในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2559. 19-20 ธันวาคม 2559. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. 1160-1168. |
|
|
อ้างอิง: |
ชวนชม โพธิ์บุญ และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของประชาชนในจังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2559. 19-20 ธันวาคม 2559. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. 1179-1192. |
|
|
อ้างอิง: |
พงษ์สิทธิ์ แสงอรุณ และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งจากการบริโภคข้าวสารที่ปนเปื้อนแคดเมียมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2559. 19-20 ธันวาคม 2559. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. 256-267. |
|
|
อ้างอิง: |
กานต์ธิดา กมลรัตน์ และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). ความรู้และความตระหนักถึงผลกระทบในการใช้สารเคมีทางการเกษตรของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงในอำเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2559. 19-20 ธันวาคม 2559. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. 1151-1159. |
|
|
อ้างอิง: |
จริยา วิชัยต๊ะ และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งจากการบริโภคผักที่ปนเปื้อนแคดเมียม กรณีศึกษาในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 "พหุวัฒนธรรม: โอกาสและความท้าทาย". มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 129-140. |
|
|
อ้างอิง: |
กานต์ธิดา อรรคศรี และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการบริโภคข้าวเหนียวที่มีการปนเปื้อนสารตะกั่วและเเคดเมียมที่จำหน่ายในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 "พหุวัฒนธรรม: โอกาสและความท้าทาย". มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 117-128. |
|
|
อ้างอิง: |
วรรณิภา พุ่มน้อย และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการบริโภคผักที่มีการปนเปื้อนสารตะกั่วในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 "พหุวัฒนธรรม: โอกาสและความท้าทาย". มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 104-116. |
|
|
อ้างอิง: |
รวิพร วันยศ และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การประเมินการปนเปื้อนโลหะหนักในผักที่จำหน่ายในตลาดสดบริเวณเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 "พหุวัฒนธรรม: โอกาสและความท้าทาย". มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 95-103. |
|
|
อ้างอิง: |
กุลฑิมาพร คำอ้าย และปิยะดา วชิระวงศกร. (2559). การประเมินการปนเป้อนของโลหะหนักบางชนิดในข้าวสารที่วางจำหน่ายในตลาดสดบริเวณภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 "พหุวัฒนธรรม: โอกาสและความท้าทาย". มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. 83-94. |
|
|
อ้างอิง: |
ณัฐวุฒิ คงคุ้ม และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). คุณสมบัติของวัสดุดูดซับธรรมชาติที่เหลือใช้จากชุมชน. การประชุมวิชาการระดับชาติลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ครั้งที่ 3 วันที่ 28-29 พฤษภาคม 2558. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร, ชิดชนก แก้วละมุน และดาริณี พวงแก้ว. (2558). ทัศนคติของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษาในจังหวัดพิจิตร. การประชุมวิชาการระดับชาติลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ครั้งที่ 3 วันที่ 28-29 พฤษภาคม 2558. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร, อาภาภรณ์ หมีคุ้ม และอุษณี ทิมสูงเนิน. (2558). การกำจัดทองแดงและสังกะสีที่ปนเปื้อนในน้ำด้วยเปลือกหอยแครง เปลือกหอยลาย และเปลือกหอยแมลงภู่. การประชุมวิชาการระดับชาติลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลา ครั้งที่ 3 วันที่ 28-29 พฤษภาคม 2558. มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. |
|
|
อ้างอิง: |
นภาพร ชุนนะวรรณ์ และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). การปนเปื้อนสารตะกั่วในก๋วยเตี๋ยวที่จำหน่ายในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 2 "งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น". มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. 171-177. |
|
|
อ้างอิง: |
ภิญโญ กรุดธูป และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). ประสิทธิภาพในการกำจัดตะกั่วและแคดเมียมที่ปนเปื้อนในน้ำโดยพืช. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 2 "งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น". มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. 186-191. |
|
|
อ้างอิง: |
วิภาภรณ์ สุดนุ่ม และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). การประเมินการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนในจังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 2 "งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น". มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. 199-206. |
|
|
อ้างอิง: |
สิรินรัตน์ รอดขาว และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งจากการบริโภคผักประเภทใบในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 2 "งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น". มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. 192-198. |
|
|
อ้างอิง: |
อาภาภรณ์ หมีคุ้ม และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). การกำจัดตะกั่วและแคดเมียมที่ปนเปื้อนในน้ำด้วยเปลือกหอยแครง เปลือกหอยลาย และเปลือกหอยแมลง. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 2 "งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น". มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. 255-262. |
|
|
อ้างอิง: |
อุษณีย์ ทิมสูงเนิน และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). การประเมินบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการประเภทโรงแรมในจังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 2 "งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น". มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์. 207-213. |
|
|
อ้างอิง: |
ดาริณี พวงแก้ว และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). การจัดการของเสียของคลินิกในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.
53rd Kasetsart University Annual Conference: Smart Agriculture "The Future of Thailand". |
|
|
อ้างอิง: |
แพรชมพู ประเสริฐศรี และปิยะดา วชิระวงศกร. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาอุทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำยม กรณีศึกษาตำบลวังจิก อำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัดพิจิตร. 53rd Kasetsart University Annual Conference: Smart Agriculture "The Future of Thailand". |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร (2557).การจัดการของเสียของคลีนิกในเขตอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 53 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ระหว่างวันที่ 3 - 6 กุมภาพันธ์ 2558, 2557. Page:- |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร (2557).การตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษา: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดพิจิตร. การประชุมทางวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ, 2557. Page: 120-130 |
|
|
อ้างอิง: |
เจนจิรา ช่วยปุ่น, สิรินรัตน์ รอดขาว และปิยะดา วชิระวงศกร. (2557). การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการบริโภคผักประเภทใบที่มีการปนเปื้อนของสารตะกั่วในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. งานประชุมนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 8 13-14 ธันวาคม 2557. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธาณี. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร (2556).สมบัติทางกายภาพและความอุดมสมบูรณ์ของดินในสวนยางพาราในตำบลโพธิ์ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 52, 2557. Page: 463-470 |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร (2556).การป้องกันการสูญเสียธาตุอาหารจากการไหล่บ่าของน้ำบนพื้นที่ทำการเกษตรโดยใช้แถบหญ้าแฝก. การประชุมวิชาการ “พิบูลสงครามวิจัย” และนิทรรศการ “การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว” จากท้องถิ่นสู่อาเซียน 2557, 2557. Page: 453-459 |
|
|
อ้างอิง: |
Piyada Wachirawongsakorn, Boonseub Thongkam, Nattawut KongKum and Prawit Hoonthong. (2556). Comparative study on growth and effieciency of Vetiver grass strip in preventing soil loss : NIDA-ICCS 2013 on September 5-6, 2013. NIDA, Bangkok. P.154-162. |
|
|
อ้างอิง: |
จุฑารัตน์ พฤกษะวัน, จันทร์ฉาย ต๊ะเทียน และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2556). การประเมินคุณภาพน้ำผิวดินและน้ำบาดาลในพื้นที่บริเวณใกล้เหมืองแร่ทองคำ. การประชุมวิชาการวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 7. 20 ธันวาคม 2556 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. หน้า 405-411. |
|
|
อ้างอิง: |
นรินธร เกตุแก้ว, ปาริชาติ ก้อนกลีบ และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2556). ปริมาณคลอรีนและโคลิฟอร์มแบคทีเรียของน้ำดื่มในตู้กดอัตโนมัติ จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 7. 20 ธันวาคม 2556 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. หน้า 449-454. |
|
|
อ้างอิง: |
ประภาภรณ์ สร้อยทอง, ภัทรสุดา ใสยัง และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2556). คุณภาพน้ำทิ้งและแม่น้ำน่านในจังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 7. 20 ธันวาคม 2556 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. หน้า 443-448. |
|
|
อ้างอิง: |
ศิริรัตน์ ผาแสนเถิน และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2556). การประเมินการปนเปื้อนของโลหะหนักในหอมแดงที่จำหน่ายในตลาด กรณีศึกษา: เขตจังหวัดภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. การประชุมวิชาการวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 7. 20 ธันวาคม 2556 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. หน้า 439-442. |
|
|
อ้างอิง: |
อารีย์ สูตรอุดม, มินตรา สุมาลี และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2556). การประเมินการปนเปื้อนของโลหะหนักในการปลูกหอมแดง. การประชุมวิชาการวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 7. 20 ธันวาคม 2556 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. หน้า 425-430. |
|
|
อ้างอิง: |
สุจิตรา จันทคูณ, นิสา ทันโคกกรวด และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2556). ระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินในสวนยางพารา กรณีศึกษา: ตำบลบ่อโพธิ์ อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการวิจัยรำไพพรรณี ครั้งที่ 7. 20 ธันวาคม 2556 ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี. หน้า 418-424. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร นิพล เก้าพัน และอุษณีย์ ทิมสูงเนิน. (2556). ความคิดเห็นของเกษตรกรที่มีต่อการใช้แถบหญ้าแฝกในพื้นที่ทำการเกษตร. เกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11. 29 กรกฎาคม 2556. คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 358-365. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร, ณัฐวุฒิ คงคุ้ม และประวิทย์ หุ่นทอง. (2556). การสูญเสียปริมาณธาตุอาหารจาการชะล้างพังทลายของดินบนพื้นที่ทำการเกษตร กรณีศึกษาการใช้หญ้าแฝก: เกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11. 29 กรกฎาคม 2556. คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 350-357. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร, บุญสืบ ทองคำ และณัฐวุฒิ คงคุ้ม. (2556). ประสิทธิภาพของหญ้าแฝกในการลดการชะล้างพังทลายของหน้าดินของพื้นที่ทำการเกษตรในหมู่บ้านโคกผักหวาน อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก: เกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11. 29 กรกฎาคม 2556. คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 375-382. |
|
|
อ้างอิง: |
ปิยะดา วชิระวงศกร, ภิญโญ กรุดธุป และ โสภา มีสุข. (2556). การใช้หญ้าแฝกในการบาบัดน้าที่ปนเปื้อนไซยาไนด์: สิ่งแวดล้อมนเรศวร” ครั้งที่ 9. “การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคอาเซียน”. 1 สิงหาคม 2556. คณะเกษตรศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร. หน้า 101-104. |
|
|
อ้างอิง: |
ทับทิม สวรรค์วงศ์ และ ปิยะดา วชิระวงศกร. (2555). การประเมินการปนเปื้อนของโลหะหนักในดินและหอมแดงในพื้นที่ปลูกหอมแดง ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย. The 4th Science Research Conference. 12-13 March 2012. Faculty of Science, Naresuan University. |
|
|
อ้างอิง: |
อนุพงศ์ เพ็ญศรี และ ปิยะดา วชิรวงศกร. (2555). คุณภาพทางจุลชีววิทยาของน้ำดื่มบรรจุขวดขาวขุ่นที่วางจำหน่ายในเขตเทศบาลนครพิษณุโลก จังหวัดพิษณุโลก. The 4th Science Research Conference. 12-13 March 2012. Faculty of Science, Naresuan University. |
|
-
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
การประเมินปริมาณและความเสี่ยงทางสุขภาพจากโลหะหนักในน้ำบาดาลบริเวณที่อยู่อาศัยรอบพื้นที่ศูนย์จัดการขยะในจังหวัดพิษณุโลก (แหล่งทุน สนับสนุนงานพื้นฐาน (Fundamental Fund; FF) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566) |
|
|
อ้างอิง: |
องค์ความรู้และปัจจัยส่งเสริมการปลูกข้าวให้ปลอดภัยในสภาวะการผลิตด้วยการใช้สารเคมีทางการเกษตรในปัจจุบัน: กรณีศึกษาในจังหวัดพิษณุโลกและสุโขทัย (แหล่งทุน สนับสนุนงานพื้นฐาน (Fundamental Fund; FF) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565) |
|
|
อ้างอิง: |
การประเมินการปนเปื้อนโลหะหนักในน้ำสำหรับใช้นาข้าวในจังหวัดพิษณุโลก: Evaluation of Heavy Metal Contamination in Water for Paddy Fields Usage in Phitsanulok Province (ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2565 แหล่งทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม) |
|
|
อ้างอิง: |
การรับรู้และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติและการตัดสินใจในการผลิตข้าวอินทรีย์ของชาวนาในจังหวัดพิษณุโลก (ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2564 แหล่งทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม) |
|
|
อ้างอิง: |
การประเมินการปนเปื้อนสารพิษทางการเกษตรและโลหะหนักต่อคุณภาพของผลผลิตมะม่วงส่งออกและความตระหนักของเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงถึงผลกระทบในการใช้สารเคมีทางการเกษตร กรณีศึกษา จังหวัดพิษณุโลก: Agrochemicals and heavy metal contamination assessment on exported mango quality and mango farmer awareness concerning on the effects of the use of agrochemicals: Case study in Phitsanulok province (ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2561 แหล่งทุนสนับสนุน วช.) |
|
|
อ้างอิง: |
การรวบรวมและจัดการองค์ความรู้เกี่ยวกับการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้สีทองเพื่อการส่งออกในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก ยั่งยืน : Knowledge Collection and Management on thai Golden Honey mango Production for Exporting in Phitsanulok Province (ทุนจากงบประมาณแหล่งทุนภายนอก โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนรากฐาน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร) |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตมะม่วงน้ำดอกไมสีทองในจังหวัดพิษณุโลกเพื่อการส่งออกสู่ตลาดโลกอย่างยั่งยืน: Potential Development of Thai Golden Honey Mango (Mam Dok Mai Mango) Production in Phitsanulok Province for Sustainable Global Export (ทุนจากงบประมาณแหล่งทุนภายนอก โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนรากฐาน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยนเรศวร: 1,400,000 บาท) |
|
|
อ้างอิง: |
การประเมินความเข้มข้นของโลหะหนักในข้าวสารที่จำหน่ายในตลาดและความเสี่ยงต่อสุขภาพของผู้บริโภคข้าว: กรณีศึกษาในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย: Concentrations and health risk assessments of heavy metals in rice grain available in markets: Case study in the North of Thailand (ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2560 แหล่งทุนสนับสนุน วช.) |
|
|
อ้างอิง: |
การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการบริโภคผักที่ปนเปื้อนโลหะหนักที่จำหน่ายในตลาดสด: กรณีศึกษาเขตภาคเหนือของประเทศไทย: Health Risk Assessment on the Consumption of Vegetables sold in Fresh Markets: Case study in the North of Thailand (ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2559 แหล่งทุนสนับสนุน วช.) |
|
|
อ้างอิง: |
การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและระดับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันปัญหาอุกทกภัยในพื้นที่ลุ่มน้ำยมตอนล่าง: Water management and community participation level base flood problem in lower Yom river basin (ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดินปี 2558 แหล่งทุนสนับสนุน วช.) |
|
|
อ้างอิง: |
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากเหมืองแร่ทองคำและการบำบัดโดยวิธีการชีวภาพ กรณีศึกษา: ตำบลวังโพรง อำเภอเนินมะปราง พิษณุโลก: Environmental impact of gold mining and its biological remediation: A case study Wang Prong Sub-district, Nern Maprang District, Phitsanulok Province. (ทุนวิจัยงบประมาณปี 2554 แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, สกอ) |
|
|
อ้างอิง: |
การศึกษาวิจัยเรื่องการใช้ประโยชน์จากหญ้าแฝกในการควบคุมการชะล้างหน้าดินและปรับปรุงคุณภาพดินบนพื้นที่ดินทรายที่มีความลาดชันเพื่อยกระดับเศรษฐกิจภายในชุมชนของหมู่บ้านโคกผักหวาน ตำบลชาติตระการ อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก: Using of Vetiver Grass Strips in Preventing Soil Loss and Soil Treatment of Sandy Slope Area for Community Economic Development in Ban Khok Phak Wan Village, Charttrakarn District, Phitsanulok. (ทุนวิจัยงบประมาณปี 2554 แหล่งทุนสนับสนุน สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ) |
|
|
อ้างอิง: |
ประสิทธิภาพของหญ้าแฝกในการดูดซับและทานทนต่อสารพิษพวกไซยาไนด์ในน้ำ: Adsorption Efficiency and Tolerance of Vetiver Grass in Cyanide Contaminated Water (ทุนวิจัยงบประมาณปี 2553 แหล่งทุนสนับสนุน วช.) |
|
|
อ้างอิง: |
คุณภาพน้ำผิวดินในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม: Surface Water Quality in Pibulsongkram Rajabhat University (Talay Kaew), Phitsanulok. (ทุนวิจัยงบประมาณปี 2552 แหล่งทุนสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม) |
|
|
อ้างอิง: |
การบริหารจัดการขยะมูลฝอย กรณีศึกษาในเทศบาลเมืองพิชัย อำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์: Planning in Municipal Solid Waste Management: A Case Study in Maung Municipality, Phichai District, Uttaradit Province. (ทุนวิจัยงบประมาณปี 2552 แหล่งทุนสนับสนุน วช) |
|
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
โครงการจัดการความรู้ KM เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการพัฒนาศักยภาพการให้คำปรึกษาและส่งเสริมสุขภาวะด้านจิตใจ |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการเตรียมความพร้อมเพื่อยกระดับมหาวิทยาลัยเข้าสู่การประเมิน SDG Ranking 2023 |
|
|
อ้างอิง: |
ประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องการปฏิรูปหลักสูตรหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อการพลิกโฉมมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงครามและสอดรับการเป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม 2 (พัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม) |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการจัดการความรู้ (KM) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวข้อ การพัฒนาโจทย์วิจัย และนวัตกรรมงานวิจัยเชิงพื้นที่ |
|
|
อ้างอิง: |
การเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง การจัดหลักสูตร CWIE อย่างเป็นระบบและมีมาตรฐาน / รูปแบบของการจัดหลักสูตร CWIE |
|
|
|
|
|
|
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล |
|
|
|
|
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน |
|
|
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ประธานกรรมการการพัฒนาวิพากษ์หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2567) (28 มีนาคม พ.ศ.2566) |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (6 พฤษภาคม พ.ศ.2566) |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโครงการส่งประกวดในโครงการเสริมสร้างการเรียนรู้ผ่านการประกวดโครงงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม นักศึกษา กศน. ประจำปีงบประมาณ 2565 |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัยให้กับวารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินเอกสารทางวิชาการ (เอกสารประกอบการสอน) มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความวิจัยให้กับวารสาร Advances in Environmental Technology (วารสารนานาชาติ) |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโครงการส่งประกวดในโครงการเสริมสร้างการเรียนรู้ผ่านการประกวดโครงงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม นักศึกษา กศน. ประจำปีงบประมาณ 2564 |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
กรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตรสาขาวิชาเกษตรศาสตร์ |
|
|
|
|
|
|
|
ชื่อหนังสือ: |
|
ปิยะดา วชิระวงศกร. (2562). การประเมินความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม. พิษณุโลก: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. |
|
|
ชื่อหนังสือ: |
|
ปิยะดา วชิระวงศกร. (2562). การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
|
|
ชื่อหนังสือ: |
|
ปิยะดา วชิระวงศกร. (2555). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาชีวิตกับสิ่งแวดล้อม. พิษณุโลก: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. |
|
|
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง |
|
|
|
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ |
|
|
|
|