ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. อารยา บุญศักดิ์  
  Dr. Araya Bunsak
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: arayab@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (วิทยาศาสตร์การเกษตร) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2566
2 วท.ม. (วิทยาศาสตร์การเกษตร) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2558
3 วท.บ. (เทคโนโลยีชีวภาพ) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553
 
ความเชี่ยวชาญ
Entomopathogenic Fungi
 
ความสนใจ
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: อารยา บุญศักดิ์, วิภา หอมหวล, วีรเทพ พงษ์ประเสริฐ, และ สุพรรณิกา อินต๊ะนนท์. (2024). การจัดจำแนกและ วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการทางชีวโมเลกุลของไอโซเลตเชื้อราเมตาไรเซียมที่มีศักยภาพก่อโรคกับเพลี้ย กระโดดสีน้ำตาล. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 7(1), 116-128.
อ้างอิง: Sumrit, T., Bunsak, A., Uprapui, A., & Jantarasricha, T. (2024). Invention of a Semiautomatic Machine with an Electro-Pneumatic Control System for the Mushroom Spawn Compression-Molding Process. Journal of The Institution of Engineers (India): Series A, 1-13.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: Bunsak, A., W. Homhaul, W. Pongprasert, K. Ruangrit and S. Intanon. (2023). Occurrence of Entomopathogenic Fungi from Natural Ecosystems in Phetchabun, Thailand and Their Virulence Against Brown Planthopper. Current Applied Science and Technology, 23(4): p. 15.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: วิชัย สรพงษ์ไพศาล, ปภพ สินชยกุล, อารยา บุญศักดิ์ และวณิชญา ฉิมนาค. (2564). ผลของสารสกัดจากพืชบางชนิดต่อหนอนกระทู้ผัก. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ. 4(3).29-38.
อ้างอิง: วิชัย สรพงษ์ไพศาล, ปภพ สินชยกุล, อารยา บุญศักดิ์, วิภา หอมหวล และปาณิสรา เทพกุศล. (2564). การคัดแยกและจัดจำแนกแอคติโนมัยซีทจากดินเพื่อใช้ในการควบคุมแมลงศัตรูผักบางชนิด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ. 4(3). 16-28.
อ้างอิง: ภามิน ทิมเจริญสมบัติ, ปภพ สินชยกุล, วิชัย สรพงษ์ไพศาล, และอารยา บุญศักดิ์. (2564). การคัดแยกและจัดจำแนกแอคติโนมัยซีทจากดินที่มีฤทธิ์ในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ. 4(2). 23-35.
อ้างอิง: อารยา บุญศักดิ์, สุดารัตน์ สุตพันธ์, วีรเทพ พงษ์ประเสริฐ และคณิตา เกิดสุข. (2564). ศักยภาพของเชื้อ Bacillus spp. คัดแยกจากดินนา เพื่อควบคุมโรคใบจุดสีน้ำตาล Bipolaris spp. ในข้าว. Life Sciences and Environment Journal, 22(2), 137-147.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: นิสา เกลี้ยงเกลา, ปภพ สินชยกุล วิชัย, สุรพงษ์ไพศาล และอารยา บุญศักดิ์. (2563). ชนิดของเพลี้ยไฟในกุหลาบและการควบคุมโดยใช้สารสกัดจากพืช. วิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 3(3), 78-89.
อ้างอิง: ปรางค์นัดดา ประกอบนา, ปภพ สินชยกุล, วิชัย สุรพงษ์ไพศาล, คณิตา เกิดสุข และอารยา บุญศักดิ์. (2563). พันธุ์ข้าวที่นิยมปลูกของเกษตรกรในเขตภาคกลางและความสัมพันธ์ต่อคุณสมบัติประจำพันธุ์. วิทยาศาสตร์เกษตรและการจัดการ, 3(1), 29-38.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Bunsak, A., Pongprasert, W., Buranapanichpan , S. and Kulsarin, J. (2015). Screening on Potential Metarhizium anisopliae (Metschnikoff) Sorokin for Controlling Brown Planthopper in Paddy Field. Journal of Agriculture. 31:(3). 291-299-
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ปิยธิดา ม่วงทิม, วิศิษฏ์สิริ เลี่ยมวัฒนสุธา, ทศพร อินเจริญ, สุภาวดี แหยมคง, ประภาศิริ ใจผ่อง, อารยา บุญศักดิ์, ขนิษฐา ไชยแก้ว, ปุณณดา ทะรังศรี และ จักรกฤช ศรีละออ. (2566). อัตราส่วนที่เหมาะสมในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์น้ำจากมูลจิ้งหรีดต่อผลผลิตของผักกาดหอมกรีนโอ๊ค. วารสารแก่นเกษตร. 51(เพิ่มเติม). 468-474.
อ้างอิง: สุดารัตน์ สุตพันธ์, อารยา บุญศักดิ์, กฤษณชัย คลอดเพ็ง, ปุณณดา ทะรังศรี, ธีรภัทร อินทร์ทอง และ ขนิษฐา ไชยแก้ว. (2566). ผลของสารสกัดจากพืชต่อการควบคุมวัชพืช “ต้อยติ่ง”. วารสารแก่นเกษตร. 51(เพิ่มเติม). 424-428.
อ้างอิง: สุดารัตน์ สุตพันธ์, ขนิษฐา ไชยแก้ว, ธวัลรัตน์ สัมฤทธิ์, ญาณิศา จินดาหลวง, วีรเทพ พงษ์ประเสริฐ, คณิตา เกิดสุข, ชโลทร หลิมเจริญ และ อารยา บุญศักดิ์. (2566). ชีววิทยาและตารางชีวิตของแมลงหล่า (Scotinophara coarctata (Fabricius)). วารสารแก่นเกษตร, 51(เพิ่มเติม). 600-607.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: อารยา บุญศักดิ์, วิภา หอมหวล, วีรเทพ พงษ์ประเสริฐ และ สุพรรณิกา อินต๊ะนนท์. (2564). การคัดแยกและคัดเลือกเชื้อราสกุลเมธาไรเซียมจากดินป่าในพื้นที่อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เพื่อควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล. การประชุมวิชาการระดับชาตินเรศวรวิจัยและนวัตกรรมครั้งที่ 17, มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก, 716-728.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: สุรัสวดี ทุมมา, อรพิน เสละคร และอารยา บุญศักดิ์. (2563). ผลของวัสดุเพาะที่ต่างชนิดกันต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของเห็ดโคนน้อยในตะกร้า. การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม พิษณุโลก.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: กุลสินี บุญช่วย, อารยา บุญศักดิ์, และสุดารัตน์ สุตพันธ์. (2562). การใช้สารเร่งรากเพื่อส่งเสริมการออกรากของหน่อกล้วยน้ำว้าพันธุ์มะลิอ่อง. ในการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5 , 15 มีนาคม 2562. 344-351 .
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: วณิชญา ฉิมนาค, ขนิษฐา ไชยแก้ว, สุรีรัตย์ บัวชื่น และอารยา บุญศักดิ์. (2561). ความหลากหลายของอาร์โทรพอดในสวนยางพารา อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก. มอบ.วิจัย ครั้งที่ 12,12-13 กรกฎาคม 2561. 168-169.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การพัฒนาผลิตภัณฑ์เห็ดสามรส หมู่ที่ 6 ตำบลจอมทอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลท่าสะแก อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก
อ้างอิง: โครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมฐานรากหลังโควิดด้วยเศรษฐกิจ BCG (U2T for BCG) มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ตำบลสวนเมี่ยง อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากร
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: เทคนิคการเขียนตำรา หนังสือ และบทความวิจัยสำหรับการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานรากของชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs ตำบลเกาะตาเลี้ยง อำเภอศรีสำโรง จังหวัดสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อโครงการ: โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรและพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรและพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรและพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อเพิ่มรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ จังหวัดพิษณุโลก และจังหวัดสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อโครงการ: โครงการการถ่ายทอดเทคโนโลยีและพัฒนาคุณภาพชีวิตเพื่อแก้ไขปัญหายากจนให้กับเกษตรกร ตำบลดินทอง อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
ชื่อโครงการ: โครงการการทำหัวเชื้อเห็ดนางฟ้าอย่างง่าย
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อโครงการ: โครงการการเพาะเห็ดฟางในตะกร้า
ชื่อโครงการ: โครงการการทำหัวเชื้อเห็ดอย่างง่าย
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อโครงการ: การพัฒนากระบวนการผลิตและการปรับปรุงสถานที่การผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP สําหรับผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มผงสําหรับชงดื่มจากจมูกข้าวไรซ์เบอร์รี่
ชื่อโครงการ: การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์กล้วยทอดกรอบ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: การพัฒนากระบวนการผลิตและการปรับปรุงสถานที่การผลิตให้เป็นไปตามมาตรฐาน GMP สำหรับผลิตภัณฑ์กล้วยกรอบของกลุ่มอาชีพสตรีกำแพงดิน
ชื่อโครงการ: การพัฒนาและออกแบบกระบวนการผลิตเห็ดโดยระบบรดน้ำอัตโนมัติ
ชื่อโครงการ: การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เครื่องดื่มผงสําหรับชงดื่มจากจมูกข้าวไรซ์เบอร์รี่ผสมสมุนไพร
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อโครงการ: การพัฒนาผลิตภัณฑ์และออกแบบบรรจุภัณฑ์ชาเห็ดหลินจือเพื่อสุขภาพ
ชื่อโครงการ: การออกแบบกระบวนการผลิตน้ำกระชายเข้มข้นเพื่อยืดอายุการเก็บรักษา
ชื่อโครงการ: การพัฒนาผลิตภัณฑ์และการออกแบบบรรจุภัณฑ์ผงปรุงรสสมุนไพรสำหรับคลุกข้าวรสไข่เค็มที่ผลิตจากไข่เค็มจากไข่ไก่
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: บุคลาการผู้สร้างผลงานหรือโครงการบริการวิชาการดีเด่น
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.