|
|
|
ชื่อ-นามสกุล |
อาจารย์ ดร. สมเกียรติ ติดชัย Dr. Somkiat Tidchai |
ตำแหน่ง: อาจารย์ |
สังกัดหน่วยงาน:
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน:
- |
อีเมล์: somkiat.t@psru.ac.th |
|
|
|
|
|
ลำดับการศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
ปีการศึกษาที่จบ |
1 |
ศศ.ด. (ภาษาไทย) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2558 |
2 |
ศศ.ม. (ภาษาไทย) |
มหาวิทยาลัยนเรศวร |
2550 |
3 |
พธ.บ (ปรัชญา) |
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย |
2548 |
|
|
|
|
|
ภาษาไทย วรรณคดีไทย, ศาสนา, ปรัชญา, คติชนวิทยา |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
สมเกียรติ ติดชัย.(2566). นิทานพื้นบ้านของอำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก : การวิเคราะห์ความขัดแย้ง และการแก้ไขปัญหา.วารอักษราพิบูล ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (2023): กรกฎาคม - ธันวาคม 2566 หน้า 45-70 |
|
|
อ้างอิง: |
สมเกียรติ ติดชัย. (2558). เวสสันดรชาดก : การวิเคราะห์ความขัดแย้งและการแก้ไขปัญหา. วารสารทางวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ ปีที่ 10 ฉบับพิเศษ 2 (สิงหาคม-พฤศจิกายน 2558) |
|
- |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
ชลดา อินเสือ, พัชรัตน์ แนบเนียน และสมเกียรติ ติดชัย.(2565). โลกทัศน์เหนือธรรมชาติที่ปรากฏในนวนิยายเรื่อง นาคี. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 11 ระหว่างวันที่ 25 – 28 มกราคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา |
|
|
อ้างอิง: |
กนกพร อินแตง, นิศากานต์ ทุตะกิจ, พัชรินทร์ พาพิมพ์ และสมเกียรติ ติดชัย. (2565). รสวรรณคดีไทยที่ปรากฏในเพลงไทยลูกกรุงที่ขับร้องโดย สุเทพ วงศ์กำแหง และชรินทร์ นันทนาคร. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 11 ระหว่างวันที่ 25 – 28 มกราคม 2565 ณ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา |
|
|
อ้างอิง: |
พรไพลิน พุฒฝอย, รมณียา อุ่นเต่า และ สมเกียรติ ติดชัย.(2564). นิทานโบราณคดี : การศึกษาวิเคราะห์โลกทัศน์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 25-28 มกราคม 2564 |
|
|
อ้างอิง: |
นันทวัน อินหมี, สุมาลี อินทุภูติ และ สมเกียรติ ติดชัย.(2564). การศึกษาวิเคราะห์ความขัดแย้งและการแก้ไขปัญหาที่ปรากฏในชาดก. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 10 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 25-28 มกราคม 2564. |
|
|
อ้างอิง: |
ดวงนภา ขุมเพชร, ขัตติยาภรณ์ เอี่ยมสวัสดิ์, สริตา บัวดี, สุดารัตน์ มั่นคง และดร.สมเกียรติ ติดชัย.(2562). การวิเคราะห์เคราะห์ความเชื่อ และค่านิยมจากวรรณกรรมตำบลศรีคีรีมาศ อำเภอคีรีมาศ จังหวัดสุโขทัย. “พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา: วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. |
|
|
อ้างอิง: |
ปนัดดา คำหยุย พรธีรา เรืองขจร เทพเทวิน บุญคุ้ม ธวัชชัย ทับใหญ่ และดร.สมเกียรติ ติดชัย. (2562). นวนิยายทองเนื้อเก้า : การวิเคราะห์ทิศทั้ง 6. “พหุวิทยาการแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา: วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. |
|
|
อ้างอิง: |
นุชจรี พงษ์โพธิ์, ธรรมลักษณ์ ไกรรุ่ง, อาทิตติญา สงครามศรี และสมเกียรติ ติดชัย. (2562). การศึกษาการเทศน์มหาชาติ (กัณฑ์ชูชก) ของตำบลหนองกะท้าว อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 24-25 มกราคม 2562 |
|
|
อ้างอิง: |
ภัครพล แสงเงิน และสมเกียรติ ติดชัย. (2560). การศึกษาลักษณะเด่นของการสืบขนบและสร้างนวลักษณ์ในเรื่อง ลิลิตพายัพ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติพะเยาวิจัย ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยพะเยา วันที่ 26-27 มกราคม 2560. |
|
-
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมเชิงปฎิบัติการ โครงการพัฒนาทบทวนนโยบายเป้าหมายของมหาวิทยาลัย การสร้างภาวะผู้นำและทักษะการทำงานเป็นทีม "การปรับ mindset เพื่อความสำเร็จของผู้นำและทีม" |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมเชิงปฎิบัติการ โครงการพัฒนาทบทวนนโยบายเป้าหมายของมหาวิทยาลัย การสร้างภาวะผู้นำและทักษะการทำงานเป็นทีม "การสื่อสารเพื่อความเป็นผู้นำ" |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมเชิงปฎิบัติการ โครงการพัฒนาทบทวนนโยบายเป้าหมายของมหาวิทยาลัย การสร้างภาวะผู้นำและทักษะการทำงานเป็นทีม "การพัฒนาบุคลิกภาพสู่ความสำเร็จ" |
|
|
อ้างอิง: |
AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4: In-House Training ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 2 วันที่ 6-7 สิงหาคม 2567 |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมเชิงปฏิบัติการการยกร่างหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome-based Education), CWIE. |
|
|
อ้างอิง: |
เทคนิคการเขียนสังเคราะห์องค์ความรู้ในตำราและหนังสือ เพื่อเสนอขอตำแหน่งทางวิชาการ |
|
|
อ้างอิง: |
เทคนิคการทำงานและการสื่อสารระหว่าง Generation Gap เปลี่ยนช่องว่างให้เป็นพื่นที่สร้างสรรค์ |
|
|
อ้างอิง: |
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับบุคลากรในอนาคต และศิลปะการทำงานในมหาวิทยาลัย |
|
|
อ้างอิง: |
Power up Possitive thinking เพิ่มศักยภาพการทำงานด้วยความคิดบวก |
|
|
อ้างอิง: |
หลักสูตรการจัดการทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (Clos Formulation) : In-House Trainin ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 4 |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการ Coaching SAR AUN-QA ครั้งที่ 4 (criterion 7,8) |
|
|
อ้างอิง: |
การจัดทําหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome-Based Education): In-House Training มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม วันที่ 29-30 เมษายน 2567 (แบบออนไลน์) |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการพัฒนาศักยภาพการให้คำปรึกษาเบื้องต้นสำหรับอาจารย์ที่ปรึกษา |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Team Teaching ระหว่างวันที่ 13-14 พ.ย.66 |
|
|
อ้างอิง: |
โครงการพัฒนาทักษะ soft skill ด้วยกระบวนการวิศกรสังคม (Social Engineer) เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน สำหรับคณาจารย์และบุคลากร |
|
|
|
|
|
|
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล |
|
|
|
|
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน |
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง |
|
|
|
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ |
|
|
|
|