ชื่อ-นามสกุล
 อาจารย์นงพงา สุขโอสถ  
 Miss Nongpanga Sukosot
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: nongpanga.s@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 กศ.ม. (เทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2558
2 บธ.บ (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553
 
ความเชี่ยวชาญ
เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา, คอมพิวเตอร์
 
ความสนใจ
AI (artificial intelligence)ปัญญาประดิษฐ์ ChatGPT , Google Bard , Microsoft Bing, การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดการสารสนเทศ
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: ฟ้า วิไลขำ, สุธัญญา ปานทอง , ดุจรวี กรรมถัน, และนงพงา สุขโอสถ. (2567, กรกฎาคม-สิงหาคม). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน เพื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางท่องเที่ยวชุมชน จังหวัดสุโขทัย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 43(3), 433-444. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/humsujournal/article/view/270117/184306
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ฟ้า วิไลขำ, และนงพงา สุขโอสถ. (2566). การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวในชุมชนราวต้นจันทน์และชุมชนบ้านวังหาด จังหวัดสุโขทัย. Journal of Information and Learning, 34(2), 99-107.https://doi.org/10.14456/jil.2023.23
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: นพมาศ แก้วเหม, ปวีณา บัวคำ และนงพงา สุขโอสถ. (2565). พฤติกรรมการเรียนออนไลน์ในช่วงโควิด-19 ของนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ในการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 17” วันที่ 6-8 มิถุนายน 2565. สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: พลอยไพริน ต่ายฝอย, มาริสา มีนามัย และนงพงา สุขโอสถ. (2564). การใช้บริการสืบค้นจากระบบ OPAC ของผู้ใช้บริการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. (รายงานสืบเนื่อง) ใน การประชุมวิชาการ วิทยาการจัดการ วิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 10 และนานาชาติ ครั้งที่ 3 ภายใต้หัวข้อ “การจัดการนวัตกรรมสู่การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก” วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2564. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: นงพงา สุขโอสถ, ธัญญาศิริ เต็มวัน, และชนกนันท์ รุ่งฉัตร. (2563). พฤติกรรมการใช้โปรแกรมค้นหาของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2563 เรื่อง “การขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมเพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม” วันที่ 21 พฤศจิกายน 2563 (น.443-452). มหาวิทยาลัยเกริก.
-
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: โครงการ Train The Trainer “การพัฒนาทักษะความรู้ในการพัฒนาเทคโนโลยีและส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม”
อ้างอิง: การเรียนออนไลน์ตามเกณฑ์การวัดผลในรายวิชา จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น
อ้างอิง: โครงการพัฒนาสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัล สำหรับบุคลากร ภายใต้กิจกรรมอบรมและทดสอบ PSRU Digital Test สำหรับบุคลากรภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: AUN-QA Implementation and Gap Analysis version 4: In-House Training ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 2
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ การยกร่างหลักสูตรตามแนวทาง OBE+CWIE รุ่นที่ 2
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: โครงการพัฒนาสมรรถนะและทักษะด้านดิจิทัลสำหรับบุคลากร ภายใต้กิจกรรม การอบรมและทดสอบ Google Certified Educator level 1 รุ่นที่ 2
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation): In-House Tr3aining ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 3
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE (Outcome-Based Education): In-House Training ของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม รุ่นที่ 3
อ้างอิง: โครงการ PSRU Content Creator for Lifelong Learning
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการสัญจรการขับเคลื่อนงานวิจัยเชิงพาณิชย์ด้วยการบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญา
อ้างอิง: โครงการพัฒนาสมรรถนะภาษาอังกฤษเพื่อยกระดับคุณภาพนักศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการพัฒนาทักษะด้านภาษาอังกฤษแก่อาจารย์ผู้สอนในรายวิชาอื่น ๆ
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
ชื่อลิขสิทธิ์: เว็บแอพพลิเคชันเพื่อประชาสัมพันธ์เส้นทางท่องเที่ยวชุมชน จังหวัดสุโขทัย 3 ภาษา (ภาษาไทย ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ)
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.