ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. เอกรงค์ ปั้นพงษ์  
  Dr. Akkarong Punpong
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะวิทยาการจัดการ
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: 055267103
อีเมล์: akkarongpunpong@gmail.com
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (นิเทศศาสตร์และนวัตกรรม) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 2562
2 ศศ.ม. (สื่อสารมวลชน) ม.รามคำแหง 2554
3 ศศ.บ. (สื่อสารมวลชน) ม.รามคำแหง 2551
4 วท.บ. (เศรษฐศาสตร์การเกษตร) ม.เกษตรศาสตร์ 2550
 
ความเชี่ยวชาญ
นิเทศศาสตร์/สื่อสารมวลชน, News, Investigative Journalism, Tradition Media, New Media, Intercultural , Entertainment Media, Cutural studies, Cultural Hybridization
 
ความสนใจ
Post-Modern, Popculture, Softpower, Sport media studies
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: เบญจมาศ วงศ์พุฒิ, วิจิตรา จำลองราษฎร์ และเอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2567). ส่วนประสมทางการตลาดบริการ และการยอมรับเทคโนโลยีบนสมาร์ตโฟน ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้แอปพลิเคชัน GHB ALL ของลูกค้า ธนาคารอาคารสงเคราะห์. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 11(1): 1-20.
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ เเละพิชญพร ประครองใจ. (2567). การสื่อสารเพื่อการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติในกลุ่มมหาวิทยาลัยกำกับรัฐในเขตภาคเหนือ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 6(1): 1 - 20.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, และพิมพ์ชญา ฟักเปี่ยม. (2566). แบบจำลองการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ในการป้องกันโรคจากการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่สังกัดมหาวิทยาลัยในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารนิเทศศาสตร์, 41(3).
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, และพิมพ์ชญา ฟักเปี่ยม. (2566). การสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ในการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่สังกัดมหาวิทยาลัยในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 10(2).
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2566). พลังการสือสารผ่านแนวคิดอำนาจละมุน (Soft power) ของประเทศญี่ปุ่นใน หนังสือการ์ตูนยอดต่พิมพ์อันดับ 1 ของโลก “วันพีซ”. วารสารนิเทศศาสตร์ปริทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต, 27(2).
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2566). การสื่อสารผ่านบริบททางสังคม และการผสมผสานทางวัฒนธรรมในหนังสือการ์ตูนยอดตีพิมพ์อันดับ 1 ของโลก “วันพีซ”. วารสารการสื่อสารมวลชน คณะสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 11(1).
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, และภรัณยู ขำน้ำคู้. (2566). การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมเพื่อการปรับตัวของนักศึกษาต่างชาติในกลุ่มมหาวิทยาลัยกำกับรัฐในเขตภาคเหนือ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบราชภัฏพิบูลสงคราม, 17(1).
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, กอบกาญจน์ ปั้นพงษ์, พิชญาพร ประครองใจ และศรัณย์ รื่นณรงค์. (2563). การสื่อสารเพื่อการปรับตัวทางวัฒนธรรมสำหรับนักฟุตบอลต่างชาติ ในสโมสรฟุตบอลไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(3).
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, พิชญาพร ประครองใจ และสิขรินทร์ คงสง. (2563). รูปแบบการดำเนินชีวิต กับพฤติกรรมการใช้นวัตกรรมการสื่อสารผ่าน Application : Line ทางโทรศัพท์สมาร์ทโฟนของนักศึกษาในเขตจังหวัดพิษณุโลก. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.), 26(2): 81-90.
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, และพิชญาพร ประครองใจ. (2563). การประเมินหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศ ศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สทมส.), 26(3): 97-111
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: พิชญาพร ประครองใจ และ เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2562). รู้เท่าทันสื่อดิจิทัลกับบทบาทของผู้บริโภค. วารสารการสื่อสารมวลชน, 7(1): 133-146.
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2562). ปัจจัยเชิงสาเหตุในการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อการปรับตัวของนักฟุตบอลต่างชาติในสโมสรฟุตบอลไทยลีก. วารสารปาริชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 32(12): 90-103.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2561). มองอุตสาหกรรมเพลงสากลไทยผ่านแนวคิดอุตสาหกรรมวัฒนธรรม. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, 18(2): 217-229.
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2561). โซเชี่ยลทีวีกับ โลกทัศน์ใหม่ในการรับชมกีฬาฟุตบอล. วารสารมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 10(2): 1-17.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: พิชญาพร ประครองใจ และ เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2559). ความพึงพอใจของนักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตร บัณฑิต.ที่มีต่อการใช้สื่อการสอนของอาจารย์สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัย ราชภัฎพิบูลสงคราม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์,บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูล สงคราม, 10(2): 1-4.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: อารียา ไทยธรรม, ณิชากร ลาภา, บัญญวัต เจริญศรี, และเอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2567). ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อสื่อคลิปวีดีโอออนไลน์เพื่อการท่องเที่ยววัดพระศรีรัตนมหาธาตุวรมหาวิหาร อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. การประชุมวิชาการผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ (GNRU) ครั้งที่ 24.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: สร้อยเพชร พั้วพวง, ปัณฑิตา ปั่นป่วน, อุษณีกรณ์ ศรีชาติปรเมษฐ์, วิภาพรรณ เกนเกตกรณ์, วิภาวรรณ พูลพินิจ5 และเอกรงค์ ปั้นพงษ์ (2566). การโฆษณาสินค้าผ่านแอปพลิเคชันที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของวัยรุ่น. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: พิชญาพร ประครองใจ และเอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2561). คุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ์และปัจจัยในการเลือกรับเข้าทำงานของหน่วยงานราชการและธุรกิจในเขตจังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ “บูรณาการงานวิจัยสู่การพัฒนาท้องถิ่นที่ยั่งยืน”. เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 18 และลำปางวิจัย ครั้งที่ 4, 894-904.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Akkarong Punpong. (2015). A Study of Educational Achievement and Attitudes by using Evaluation form during studying of COMM112 Principles of Mass Communication of The Students in Pibulsongkram Rajabhat University. Internaternational conference Burapa University 2015, Page:-
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ (2557).การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนการสอน โดยใช้กรณีศึกษาแบบประเมินระหว่างเรียนของนักศึกษารายวิชา วจ.สส.211 กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. งานประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาการ 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2557. Page:-
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ (2557).พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อจัดการเรียนการสอนของอาจารย์สังกัดคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 2557. Page:-
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: พิมพ์ชญา ฟักเปี่ยม เเละเอกรงค์ ปั้นพงษ์, (2567). การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมแพลตฟอร์มสื่อออนไลน์เกี่ยวกับจัดการเกษตรสมัยใหม่. ทุนวิจัยกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ เเละพิชญาพร ประครองใจ, (2567). การสื่อความหมายตราสัญลักษณ์ทีมสโมสรฟุตบอลไทยลีกและการเสริมพลังอำนาจละมุนเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นท้องถิ่นนิยม.ทุนวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ เเละพิชญาพร ประครองใจ, (2566). การประกอบสร้างภาพตัวแทนซูเปอร์ฮีโร่และกลวิธีการเล่าเรื่องและการสร้างสรรค์เนื้อหาให้เกิดความนิยมในภาพยนตร์ของมาร์เวลสตูดิโอ.คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, ยรรยงวรกร ทองเเย้ม เเละวราภรณ์ จันทะศร. (2564). การสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรีในจังหวัดพิษณุโลก . มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, ณภัทร วุฒะพันธ์ ภรัณยู ขำน้ำคู้ พิมพ์ชญา ฟักเปี่ยม เเละศรัณย์ รื่นณรงค์, (2564). การสื่อสารผ่านแนวคิด Soft power ของประเทศญี่ปุ่น : บริบททางสังคม และการผสมผสานทางวัฒนธรรมในหนังสือการ์ตูนเรื่องวันพีซ.คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: ภรัณยู ขำน้ำคู้ เเละเอกรงค์ ปั้นพงษ์ , (2563). กลวิธีการสื่อสารผ่านศิลปะการพากย์เรือยาวของปราชญ์ชาวบ้านในเขตพื้นที่ จ.พิษณุโลก. คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ , (2562). การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมและการปรับตัวของนักศึกษาต่างชาติในกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ. คณะวิทยการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: พิชญาพร ประครองใจ และเอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2561). รุ้เท่าทันสื่อดิจิทัลกับบทบาทผู้บริโภค . มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ เเละพิชญาพร ประครองใจ, (2560). การประเมินหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560) .คณะวิทยการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: พิชญาพร ประครองใจ และเอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2559). คุณสมบัติของนักประชาสัมพันธ์และปัจจัยในการเลือกรับเข้าทำงานของหน่วยงานราชการและธุรกิจในเขตจังหวัดพิษณุโลก. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2559). รูปแบบดำเนินชีวิต กับพฤติกรรมการใช้นวัตกรรมการสื่อสารผ่าน Application: Line ทางโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ของนักศึกษาในเขตจังหวัดพิษณุโลก. ทุนส่งเสริมองค์ความรู้ สถาบันวิจัยเเละพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: พิชญาพร ประครองใจ และเอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2558). ความพึงพอใจของนักศึกษาหลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิตที่มีต่อการใช้สื่อการสอนของอาจารย์สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . สถาบันวิจัยเเละพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, (2557). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อการเรียนการสอน โดยใช้กรณีศึกษาแบบประเมินระหว่างเรียนของนักศึกษารายวิชา วจ.สส.211 กฎหมายและจริยธรรมสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.ทุนวิจัยในชั้นเรียนคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์ เเละพิณรัตน์ นุชโพธิ์, (2556). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของอาจารย์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม .คณะวิทยการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: เอกรงค์ ปั้นพงษ์, (2555).ทัศนคติ ความพึงพอใจ และความต้องการของนักศึกษาที่มีต่อการจัดสภาพแวดล้อมคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. ทุนวิจัยกองบริหารงานบุคคล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: สุทิติ ขัตติยะ, วิไลลักษณ์ สุวจิตตานนท์ และเอกรงค์ ปั้นพงษ์, (2554). รูปแบบพฤติกรรมการรับฟังรายการวิทยุรัฐสภาของเรา ปี พ.ศ. 2554. กรมประชาสัมพันธ์.
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: ถอดบทเรียน อบรมแลกเปลี่ยน และพัฒนาความรูšการสื่อสารสุขภาพ (Health Literacy) และนวัตกรรมการสื่อสารและรณรงค์ผ่านเครือขŠายทางสังคมออนไลน์
อ้างอิง: การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE
อ้างอิง: การจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation)
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนาศักยภาพชุมชนแบบบูรณาการ ด้วยการสร้างการเรียนรู้และพัฒนาเศรษฐกิจท้องถิ่นภายใต้แนวคิด (BCG Model) บhานปากน้ำปอย หมูj 16 ต.วังนกแอ่น อ.วังทอง จ.พิษณุโลก โครงการที่ 4 การพัฒนาชjองทางการจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์ แบบ online และ offline
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยมทางสังคม ในการไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “นวัตกรรมสื่อสังคมและเครือข่ายนักสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง ค่านิยมและสุขภาวะชุมชน” โดยความร่วมมือระหว่าง ภาคีเครือข่ายนิเทศศาสตร์ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏ และสำนักงาน
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อโครงการ: โครงการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยมทางสังคม ในการไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ “นวัตกรรมสื่อสังคมและเครือข่ายนักสื่อสารเพื่อการเปลี่ยนแปลง ค่านิยมและสุขภาวะชุมชน” โดยความร่วมมือระหว่าง ภาคีเครือข่ายนิเทศศาสตร์ 10 มหาวิทยาลัยราชภัฏ และ สำนักงาน
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อหนังสือ:
เอกรงค์ ปั้นพงษ์. (2566). กฎหมายเเละจริยธรรมสื่อสารมวลชน. เอกสารประกอบการสอน. สาขาวิชานิเทศศาสตร์คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.