ชื่อ-นามสกุล
   
ตำแหน่ง: -
สังกัดหน่วยงาน: -
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: -
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 วท.ด. (วิทยาศาสตร์ชีวภาพ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
2 วท.ม. (กีฏวิทยา) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2550
3 วท.บ. (เกษตรศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับ 2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2545
 
ความเชี่ยวชาญ
Agriculture, สัตววิทยา, เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, กีฏวิทยาทางการแพทย์และสัตวแพทย์ , อนุกรมวิธานของสัตว์, ศัตรูพืชและการป้องกันกำจัด, นิเวศวิทยา, พิษวิทยาของสารฆ่าแมลง, เนื้อเยื่อวิทยา
 
ความสนใจ
การเกษตร/การประมง/ปศุสัตว์, เทคโนโลยีชีวภาพ/ชีววิทยา, เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตร
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: Kelly, E.T., Whittall, J,B., Poolprasert, P. and Edgerly, J.S. 2023. Twelve More Bulky Genomes in the Polyneoptera: Characterizing the Order Embioptera. Insect Diversity and Systematics. (Under review)
อ้างอิง: Pengsakul, T., Senarat, S., Sukparangsi, W., Wongkamhaeng, K., Poolprasert, P., Wangkulangkul, S., Kettratad, J. and Jiraungkoorskul, W. 2023. Morphometric Analysis and Characterization of Periherial Blood Cells in the Golden Tree Snake Chrysopelea ornata (Shaw, 1802). Russian Journal of Herpertology. 30(1): 11-19 DOI: 10.30906/1026-2296-2023-30-1-11-19.
อ้างอิง: คณพศ ทองขาว, วุุฒิกรณ์ รอดความทุุกข์, กชพรรณ สุุกระ, อุุบลรัตน์ นิลแสง, ทัศนีย์ จิตรแก้ว, ยุุพยง อัตตะ, พิสิษฐ์ พููลประเสริฐ. 2566. ความชุกทางเซรั่มวิทยาของการติดเชื้อริกเก็ตเซียในหนูในพื้นที่ภาคใต้ตอนบนของประเทศไทย. วารสารควบคุมโรค. 49(1): 711-722.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Senarat, S.,Thongboon, L., Thaochan, N., Mongkolchaichana, E., Sukparangsi, W. and Charoenphon, N. 2023. Histological organization of tephritid fruit flies (Diptera, Tephritidae) from Thailand. Songklanakarin Journal of Science and Technolohy. 45 (3), 348–355.
อ้างอิง: ธีราภรณ์ คำปลิว, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ, วิชญ์ภาส สังพาลี, จุฑามาศ อาจนาเสียว, สุธีระ เหิมฮึก, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ปิยะวรรณ สุทธิประพันธ์, วรุฒ ศิริวุฒิ และวาสนา วิรุญรัตน์. 2566.ความสัมพันธ์ของสัตว์ขาปล้องขนาดเล็กในดินและคุณสมบัติดินระหว่างพื้นที่ป่าฟื้นฟูของศูนย์ศึกษาพัฒนาห้วยฮ่องไคร้ฯ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วารสารผลิตกรรมการเกษตร. 5(1):41-61.
อ้างอิง: Senarat, S., Sopon, A., Kettratad, K., Angsujinda, K., Charoenphon, N., Kosiyachinda, P., Kongthong, K., Poolprasert, P., Boonyoung, P. and Kongtueng, P. 2023. Erythrocytic Nuclear Abnormalities and Leucocyte Profiles of Asian Seabass (Lates calcarifer) Exposed to Polluted Seawater. Sains Malaysiana 52(4): 1059-1068.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Mongkolchaichana, E., Kettratad, J., Angsujinda, K., Senarat, S., Poolprasert, P., Charoenphon, N., Sirinupong, P., Pairohakul, S. and Wongkamhaeng, K. 2022. A comparison of the retinal structure in the zebra-snout seahorse (Hippocampus barbouri Jordan & Richardson, 1908) between juveniles and adults in captivity. Maritime Technology and Research. 4(2 ): 25458. https://doi.org/10.33175/mtr.2022.254581
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ชลดา สุดแก้ว, กีรติ ตันเรือน, ศิริรัตน์ พันธ์เรือง, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย และ วิษณุ ธงไชย. 2565. การประยุกต์ใช้สารสกัดจากใบขอบชะนางในการควบคุมเพลี้ยแป้งสีชมพู. PSRU Journal of Science and Technology. 7(1): 45-54.
อ้างอิง: อรยา โมเรือง, กีรติ ตันเรือน, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2565. ความหลากหลายของแมลงในไร่ข้าวโพด ตำบลท่าสะแก อำเภอชาติตระการ จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิจัยและส่งเสริมการเกษตร. 39(1): 72-78.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Senarat, S., Kettratad, J. Kaneko, G.,Mongkolchaichana, E., Charoenphon, N. and Thaochan, T. 2022 Comprehensive structure of the female marine water-strider Asclepios annandalei Distant, 1915 from Pranburi River estuary, Thailand: New information for the Genus Asclepios. Tropical Life Sciences Research, 33(3): 47–60.
อ้างอิง: Likittrakulwong, W., Poolprasert, P., Hanthongkul, W. and Roytrakul, S. 2022. "Effects of Intramuscular Injections of Vitamins AD3E and C in Combination on Fertility, Immunity, and Proteomic and Transcriptomic Analyses of Dairy Cows during Early Gestation" BioTech 11(2): 20. https://doi.org/10.3390/biotech11020020
อ้างอิง: วันเพ็ญ ตรงต่อกิจ, เชาวลิต พึ่งแตง, นพรัตน์ วรรณเทศ, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา, วีระ นาคผู้, สุฑามาศ จันทร์แจ่ม และกีรติ ตันเรือน. 2565. ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเห็ดราทําลายไม้. PSRU Journal of Science and Technology 7(2): 126-137.
อ้างอิง: Thongboon, L., Senarat, S., Pengsakul, T., Charoenphon, N., Wangkulangkul, S., Para, C., Kettratad, J., Poolprasert, P., Palasai, A. and Sayoh, I. 2022. Intestinal Histology and Infiltration of Intestinal Eosinophils of the Golden Tree Snake Chrysopelea ornata (Shaw, 1802). Pridiyathorn Science Journal. 1(1): 1-9.
อ้างอิง: กาญจนา ธนนพคุณ, สุธาสินี ทองมี, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เรืองวุฒิ ชุติมา และ กีรติ ตันเรือน. 2565. การตรวจสอบคุณค่าทางโภชนาการของแป้งจากลูกจันและการประเมินคุณสมบัติการเป็นแป้งที่ทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์. PSRU Journal of Science and Technology 7(3): 47-62.
อ้างอิง: พรพิณ เผ่าพันธ์แปลก, ฑิฆัมพร ห่วงแสง, กีรติ ตันเรือน, วิษณุ ธงไชย, วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2565. ประสิทธิศักดิ์ของสารสกัดหยาบจากใบกระท่อม Mitragyna speciosa Korth. ต่อการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน Aedes aegypti (L.). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนอร์ทเทิร์น 3(3): 90-99.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J., Boobyoung, P., Jiraunkoorskul, W., Kato, F., Mongkolchaichana, E., Kaneko, G. and Poolprasert, P. 2021. Oocyte Differentiation and Reproductive Health of Solitary Tunicate (Styela plicata) from Eastern Coast of Thailand. Sains Malaysiana. 50(1): 93-99. http://dx.doi.org/10.17576/jsm-2021-5001-10
อ้างอิง: Senarat, S., Poolprasert, P., Kettratad, J., Sukparangsi, W., Wangkulangkul, S., Kaneko, G. and Jiraungkoorskul, W. 2021. Ultrastructure of Ovarian Follicles and Testes in Zebra-snout Seahorse Hippocampus barbouri (Jordan & Richardson, 1908) under Aquaculture Conditions. J. Adv. Vet. Res. 11(1): 47-53.
อ้างอิง: Tanruean, K., Poolprasert, P., Suwannarach, N., Kumla, J. and Lumyong, S. (2021). Phytochemical Analysis and Evaluation of Antioxidant and Biological Activities of Extracts from Three Clauseneae Plants in Northern Thailand. Plants (Basel, Switzerland), 10(1), E117. https://doi.org/10.3390/plants10010117
อ้างอิง: Thongchai, W., Poolprasert, P. and Thongchai, S. 2021. The Synthesis of Molecularly Imprinted Polymers on Microcentrifuge Tube Filters for Solid-Phase Extraction and the HPLC-UV Determination of Andrographolides, J. Chromatogr. Sci. 59(9): 877-886. https://doi.org/10.1093/chromsci/bmaa139
อ้างอิง: สุทธิกานต์ เนตรแสงสี, กีรติ ตันเรือน, เรืองวุฒิ ชุติมา, วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2564. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากผักสะเดาดินต่อด้วงงวงข้าว. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์, มกราคม – มิถุนายน หน้า 1 – 8.
อ้างอิง: Sudtongkong, C., Senarat, S., Kong-oh, S., Poolprasert, P., Wongkamhaeng, K. and Jiraungkoorskul, J. 2021. Comparative stages of atretic oocytes between Episesarma versicolor and E. singaporense from Thailand: Implication on the reproductive success. Veterinary Integrative Sciences. 19(1): 75-86.
อ้างอิง: Likittrakulwong, W., Poolprasert, P. and Srikaeo, K. 2021. Effects of extraction methods on protein properties obtained from paddy rice and germinated paddy rice. PeerJ, https://doi.org/10.7717/peerj.11365.
อ้างอิง: ทัศนัย ปัญจันทร์สิงห์, กีรติ ตันเรือน, วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2564. ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของมัลเบอร์รี่ โดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ ของยีน ITS และ matK.วารสารผลิตกรรมการเกษตร, 3(1):71-85.
อ้างอิง: Napiroon T, Tanruean K, Poolprasert P, Bacher M, Balslev H, Poopath M, Santimaleeworagun W. 2021. Cannabinoids from inflorescences fractions of Trema orientalis (L.) Blume (Cannabaceae) against human pathogenic bacteria. PeerJ 9:e11446 https://doi.org/10.7717/peerj.11446
อ้างอิง: กีรติ ตันเรือน, สุภัค คนดารา, เรืองวุฒิ ชุติมา, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2564. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากฝอยทองและแบคทีเรีย ต่อการควบคุมไรไข่ปลา. วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 13(3) : 609-622.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Tanruen, K., Senarat, S. and Edgerly, J.S. 2021. Diastolembia thailandensis, a Remarkable New Genus and Species of Embiids (Embioptera: Embiidae) from Thailand. Journal of Hunan University(Natural Sciences). 48(10): 56-63.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Poolprasert, P., Chitchamnong, A., Boonyoung, P., Senarat, S., Dokchan, P., Mongkolchaichana, E., Likittrakulwong, W. and Berry, G. 2020. COI Nucleotide Sequence Confirms the Species of Common Posy Butterfly, Drupadia ravindra Horsfield, 1829 and Histological Feature Reveals Its Microanatomical Structure of Nervous System and Sense Organs. Khon Kaen Agr. J. 48 Suppl. 1: 755-764.
อ้างอิง: Senarat, S., Poolprasert, P., Kettratad, J., Boonyoung, B., Jiraungkoorskul, W., Huang, S., Pengsakul, T., Kosiyachinda, P. and Sudtongkong, C. 2020.Histological observation of digestive system of malayan halfbeak, Dermogenys pusilla (Kuhl & van Hasselt, 1823) during juvenile stage from Thailand.Veterinary Integrative Science. 18(1): 33-41
อ้างอิง: Senarat, S., Boonyoung, P., Kettratad, J., Jiraungkoorskul, W., Poolprasert, P., Huang, S., Pengsakul, T., Mongkolchaichana, E. and Para, C. 2020. The identification and distribution of the mucous secreting cells in the integument of the Schaap’s dragonet, Callionymus schaapii, Bleeker, 1852.Veterinary Integrative Science. 18(1): 23-32.
อ้างอิง: Senarat, S., Thongboon, L., Jiraungkoorskul, W., Kettratad, J., Pengsakul, T., Mongkolchaichana, E. and Poolprasert, P. 2020. Field Observation the Female Reproductive Maturation of the Spotted Catfish, Arius maculatus that Inhabit in Estuarine Areas of Pranburi River, Thailand. Thai J. Agric. Sci. 53(1): 1−10.
อ้างอิง: อัมภรณ์พรรณ พลาศัย, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระทัต, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, พหล โกสิยะจินดา และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. โครงสร้างรังไข่และกระบวนการสร้างไข่ที่เน้นลักษณะของนิวเคลียสในปลา Neoscopelus microchir Matsubara, 1943. วารสารก้าวทันโลกวิทยาศาสตร์. 20(1): 105-123.
อ้างอิง: Berry, G., Tanruean, K., Napiroon, T., Saetang, W., Penpo, M., Duangrod, S. and Poolprasert, P. 2020. The community structure of beneficial and harmful arthropod fauna in rice field ecosysterms in lower Northern Thailand. The Journal of Applied Science. 19 (1): 1-12.
อ้างอิง: Suttiarporn, P., Wongkattiy, N., Buaban, K., Poolprasert, P. and Tanruean, K. 2020. Process Optimization of Microwave Assisted Simultaneous Distillation and Extraction from Siam cardamom using Response Surface Methodology. Processes. 8, 449.https://doi.org/10.3390/pr8040449
อ้างอิง: ดุษิต โพธิ์ทอง, นันทิดา คำศรี และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. การทดสอบความไวยุงลายต่อสารเคมีในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. PSRU Journal of Science and Technology 5(2): 1-13.
อ้างอิง: Somala, N., Senarat, S., Para, C., Jiraungkoorskul, W., Kaneko, G., Poonpet, T. and Poolprasert, P. 2020. SYSTEMIC ORGANIZATION OF Tetraponera rufonigra JERDON, 1851 (HYMENOPTERA: FORMICIDAE): HISTOLOGICAL OBSERVATION. Serangga, 25(1):53-67.
อ้างอิง: Boonyoung, P., Senarat, S., Kettratad, J., Jiraungkoorskul, W., Thaochan, N., Sing, K-W., Pengsakul, T. and Poolprasert, P. 2020. Mature gonadal histology and gametogenesis of the tortoise beetle Aspidimorpha sanctaecrucis (Fabricius, 1792) (Coleoptera: Cassidinae: Chrysomelidae): Histological observation. Songklanakarin J. Sci. Technol. 42(4): 873-878.
อ้างอิง: Likittrakulwong, W., Srikaeo, K., Poolprasert, P., Laorodphan, N., Incharoen, T. and Koonawootrittriron, S. 2020. Chemical composition, nutrient digestibility and metabolizable energy of germinated paddy rice. Animal Nutrition and Feed Technology, 20: 333-343.
อ้างอิง: Likittrakulwong, W., Laorodphan, N., Srikaeo, K., Poolprasert, P., Incharoen, T. and Koonawootrittriron, S. 2020. Effect of Gamma Amino Butyric Acid from Germinated Paddy Rice Supplementation on Egg Performance and Qualities. YRU Journal of Science and Technology. 5(1):41-47.
อ้างอิง: ละม้าย ทองบุญ, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระทัต, พิสิษฐ์พลู ประเสริฐ, เอสรา มงคลชัยชนะ, ณัฐกิตทิ์โตอ่อน, วิษณุ ธงไชย และวรรณีย์จิรอังกูรสกุล. 2563. จุลกายวิภาคและสุขภาวะของอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของหอยกาบแหลมในแม่น้้ำซองกาเลีย ช่วงไหลผ่านอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ประเทศไทย. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง ปีที่ 14 ฉบับที่ 1: 33-43.
อ้างอิง: ฐิติพร เจาะจง, สโรชา โพธิ์อภัย, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และ กษมะ ดรุงคศักดิ์. 2563. โครงสร้างโฟโตนิกส์คริสตัลของด้วงขาโต Sagra femorata (Drury, 1773) เพศผู้. วารสารวิทยาศาสตร์ แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 17(1): 25-31.
อ้างอิง: ธีราพร จันทร์ศรี, อัปสรสวรรค์ ใจบุญ, กีรติ ตันเรือน,พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, รัตน์ติพร สําอางค์, รําไพ โกฎสืบ และเรืองวุฒิ ชุติมา. 2563. การสำรวจและการแยกเชื้อราไมคอร์ไรซาจากกล้วยไม้ดินสกุล Spathoglottis ที่ปลูกในกระถาง. PSRU Journal of Science and Technology 5(3): 128-139.
อ้างอิง: อัปสรสวรรค์ ใจบุญ, กีรติ ตันเรือน, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ภรภัทร สำอางค์, มานพ ผู้พัฒน์, กุสุมา ภูมิคอนสาร, วิชัย สันติมาลีวรกุล, และทิวธวัฒ นาพิรุณ. 2563. พฤกษเคมีเชิงนิเวศของพืชสมุนไพรพังแหร วงศ์กัญชา ในพื้นที่กลุ่มป่าภูเมี่ยง-ภูทอง ประเทศไทย. วารสารวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้เมืองไทย 4 (2): 1-16.
อ้างอิง: ศิริลักษณ์ ปานทุ่ง, นวพรรษ เหลาทอน, กีรติ ตันเรือน, เรืองวุฒิ ชุติมา, วิษณุ ธงไชย, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. พิษของสารสกัดหยาบผักคราดหัวแหวนต่อการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลระยะตัวอ่อน. วารสารผลิตกรรมการเกษตร. 2(3): 73-82.
อ้างอิง: Poolprasert, P. and Chorchong, T. 2020. Preparation of ActivatedCarbon from Cassava Root for CadmiumRemoval in Aqueous Solution Sample. Journal of Renewable Energy and Smart Grid Technology, 15(02): 26-38.
อ้างอิง: จักรพงษ์ สุภาวรรณ์, กรวัฒน์ อรรถโสภา, ปิยะวรรณ สุทธิประพันธ์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, กุลชา ชยรพ, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ และ ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว. 2563. ประสิทธิภาพของเชื้อราสาเหตุโรคแมลงในการควบคุมไรสองจุด. วารสารเกษตรพระวรุณ. 17(2): 235-246.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: Tanruean, K., Poolprasert, P., Kumla, J., Suwannarach, N. and Lumyong, S. 2019. Bioactive compounds content and their biological properties of acetone extract of Cuscuta reflexa Roxb. grown on various host plants, Natural Product Research, 33:4, 544-547, DOI: 10.1080/14786419.2017.1392955
อ้างอิง: Boonyoung, P., Senarat, S., Jiraungkoorskul , W., Kettratad, J., Yenchum, W., Poolprasert, P. and Pengsakul, T. 2019. Natural gonadal compartmentalizing of economical important Hemirahamphus far from Thailand by visual observation and histological technique. Songklanakarin J. Sci. Technol. 41(3): 693-699.
อ้างอิง: Likittrakulwong, W., Poolprasert, P. and Roytrakul, S. 2019. Morphological Trait, Molecular Genetic Evidence and Proteomic Determination of Different Chickens (Gallus gallus) Breeds. J App Biol Biotech. 01):065-070. DOI: 10.7324/JABB.2019.70112
อ้างอิง: Senarat, S., Thongboon, L., Kettratad, J., Jiraungkoorskul, W., Thaochan, N., Pengsakul, T., Poolprasert, P., Para, C. and Dokchan, P. 2019. Light microscopic evidence of spermatogenesis of firefly, Pyrocoelia tonkinensis Olivier, 1886 (Coleoptera: Lampyridae). The Journal of Applied Science. 18(1): 12-19. DOI: 10.14416/j.appsci.2019.01.001
อ้างอิง: Innak, N., Yaemkong, S., Rattanapradit, P., Poolprasert, P., Incharoen, T. and Likittrakulwong, W. 2019. Phylogenetic analysis in various chicken strains inferred from mtDNA D-loop information. Khon Kaen Agr. J. 47 Suppl. 1: 717-722.
อ้างอิง: Tanruean, K., Napiroon, T., Phusing, S., Torres, J.R.D., Villanueva, P.M. and Poolprasert, P., 2019. Larvicidal effects of Paederia pilifera Hook.f. leaf and Cuscuta reflexa Roxb. stem extracts against the dengue vector mosquito Aedes aegypti Linn. The Journal of Applied Science. 18(1): 31-38. DOI: 10.14416/j.appsci.2019.04.001
อ้างอิง: ณัฐดนัย ลิขิตตระการ, จักรพงษ์ สุภาวรรณ์, วงค์พันธ์ พรหมวงศ์, ฉัตรสุดา เผือกใจแผ้ว, ธีราภรณ์ คำปลิว, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ปิยะวรรณ สุทธิประพันธ์, วรุฒ ศิริวุฒิ. 2562. ประสิทธิภาพของคาร์บาริล ฟิโปรนิล และไซเพอร์เมทรินต่อกิ้งกือตะเข็บสามสี Antheromorpha uncinataJeekel. วารสารเกษตร 35(2): 283-294.
อ้างอิง: Thongboon , L., Senarat, S., Kettratad, J., Jiraungkoorskul, W., Wangkulangkul, S., Poolprasert, P., Para, C. Kaneko, G. and Pengsakul, T. 2019. Gastrointestinal Tract and Accessory Organs in the Spotted Bent-toed Gecko, Cyrtodactylus peguensis (Boulenger, 1893): A Histological and Histochemical study. Journal of Morphological Sciences. 223–230.DOI https://doi.org/ 10.1055/s-0039-169302
อ้างอิง: นุชนาฎ บุญชู, วีรนุช แซ่ตั้ง, กีรติ ตันเรือน, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. การใช้สารสกัดจากใบกะเพราและดอกดาวเรืองเป็นสารล่อและเหยื่อพิษ เพื่อควบคุมแมลงวันผลไม้ในสวนมะม่วง. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 1-7.
อ้างอิง: พีรวิชญ์ สุขพัฒน์, วีรนุช แซ่ตั้ง และพิสิษฐ์ พูลประสริฐ. 2562. การวิเคราะห์ทางเรขาคณิตสัณฐานวิทยาเชิงจุดกำหนดของเส้นปีกแมลงปอบ้าน 2 ชนิด ระหว่าง Brachythemis contaminata และ Diplacodes trivialis. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 8-13.
อ้างอิง: ปิยากร บุญยัง, ศิลปชัย เสนารัตน์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เจษฏ์ เกษตระทัต, วรรณีย์จิรอังกูรสกุล, พหล โกสิยะจินดา และ ธีรกมล เพ็งสกุล. 2562. มิญชวิทยาและสุขภาวะของรังไข่ปลากดเหลือง Hemibagrus filamentus (Fang and Chaux, 1949) จากแม่น้ำตาปี ภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารวิจัยเทคโนโลยีการประมง ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม –ธันวาคม) น.46-57.
อ้างอิง: Senarat, S., Jiraungkoorskul, W. Kettratad, J. Kaneko, G., Poolprasert, P. and Para, C. 2019. Histological analysis of reproductive system of Dermogenys pusilla (Kuhl & van Hasselt, 1823) from Thailand: Sperm existence in ovary indicates viviparous reproductive mode. Maejo International Journal of Science and Technology. 13(03): 185-195.
อ้างอิง: สุกัญญา ภูสิงห์, กีรติ ตันเตือน, วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ, ศิลปชัย เสนารัตน์ และพิสิษฐ์ พูลปรเสริฐ. 2562. การวิเคราะห์ความแปรผันทางพันธุกรรมของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) โดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน COI. เกษตรนเรศวร. 16(1): 37-46.
อ้างอิง: วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และสุวรรณา ธงไชย. 2562. การใช้กล้องดิจิตอลร่วมกับการวิเคราะห์ทางด้านสีสำหรับการตรวจวัดคุณภาพดินอย่างง่ายในสวนมะม่วงน้ำดอกไม้. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 50(2): 211-223.
อ้างอิง: ยุวดี สีนวนขำ, กาญจนา เกตุอ่อน, กีรติ ตันเรือน, ทิวธวัฒ นาพิรุณ, วิษณุ ธงไชย, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบเขยตาย Glycosmis pentaphylla (Retz.) DC. ต่อการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน Aedes aegypti. (L.). วารสารผลิตกรรมการเกษตร. 1(3): 21-31.
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J. Plumley, F.G., Wangkulangkul, S., Jiraungkoorskul, W., Boonyoung, P. and Poolprasert, P. 2019. Pathological microscopy in liver parenchyma of gray-eel catfish, Plotosus canius, from the Ang-Sila area, Chonburi Province, Thailand. Veterinary Integrative Sciences. 17(3): 255-261.
อ้างอิง: ชญานิศ โตมอญ, ภัทราภรณ์ เพ็ญโพธิ์, กีรติ ตันเรือน, ทิวธวัฒ นาพิรุณ, กู้เกียรติ ก้อนแก้ว, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ, จอห์น เรย์มันด์ ดี และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. ศักยภาพในการเป็นสารกาจัดแมลงของสารสกัดจากพืชสมนุไพรในการควบคุมหนอนแมลงวันบ้าน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). น. 94.103.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Senarat, S., Nak-eiam, S., Likhitrakarn, N. (2019). Molecular Phylogeny of Predatory Ladybird Beetles (Coleoptera: Coccinellidae) Inferred from COI Sequences. Malaysian Journal of Applied Sciences, 4(2), 10-18.
อ้างอิง: ทัพประดิษฐ์ มิตรเปรียญ, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระทัต, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, สุรัตตา บุญสมบูรณ์สกุล, เอสรา มงคลชัยชนะ, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, ปิยากร บุญยัง. 2562. พัฒนาการของเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้ของปลาไหลปากเป็ด Gavialiceps javanicus ที่อาศัยอยู่ในทะเลอันดามันความลึกปานกลางของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). น. 74-83
อ้างอิง: เอสรา มงคลชัยชนะ, ทัศพร กาญจนเรขา, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระทัต, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ณัฐกิตทิ์ โตอ่อน, ชาญยุทธ สุดทองคง, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, วิษณุ ธงไชย. 2562. พัฒนาการของเซลล์สืบพันธ์ุเพศผู้และการประเมินสุขภาวะของอัณฑะของหอยขี้นก Cerithidea cingulata (Gmelin, 1791) ที่อาศัยอยู่บริเวณปากแม่น้ำปราณบุรีของประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). น. 84-93.
อ้างอิง: ภัทราภรณ์ เพ็ญโพธิ์, ชญานิศ โตมอญ, กีรติ ตันเรือน, ทิวธวัฒ นาพิรุณ, วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ม และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. การประยุกต์ใช้สารสกัดหยาบจากสาบเสือในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล (Hemiptera: Delphacidae). เกษตรนเรศวร 16(2) : 45-58.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Senarat , S., Kettratad, J., Tipdomrongpong , S, Plumley, F.G., Jiraungkoorskul , W. and Poolprasert, P. 2018. Health status in wild and captive Rastrelliger brachysoma from Thailand: Histopathology. Songklanakarin J. Sci. Technol. 40 (5): 1090-1097.
อ้างอิง: Thongboon, T., Senarat, S. Kettratad, J., Poolprasert, P. Wangkulangkul, S. Jiraungkoorskul, W., Mongkolchaichana, E., Pengsakul, T., Huang, S. and Para, C. 2018. Structure of the heart wall and existence of the blood cells in the heart of the dog-faced water snake Cerberus rynchops (Schneider, 1799). Veterinary Integrative Science. 16(2): 79-86.
อ้างอิง: ศุภลักษณ์ รอดเรืองศรี, ทัชพล กำเนิดนิล, ละม้าย ทองบุญ, ศิลปชัย เสนารัตน์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เจษฏ์ เกษตระทัต, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, ชำนาญ ภารา. 2561. โครงสร้างของรังไข่และกระบวนการพัฒนาเซลล์ไข่ในหมึกกะตอย Loliolus (Loliolus) affinis Steenstrup, 1856 จากบริเวณแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 23-29.
อ้างอิง: ละม้าย ทองบุญ, ศิลปชัย เสนารัตน์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เจษฏ์ เกษตระทัต, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, พหล โกสิยะจินดา, ธีรกมล เพ็งสกุล และกรอร วงศ์กำแหง. 2561. โครงสร้างทางจุลกายวิภาคของเซลล์ไข่และเซลล์ฟอลลิเคิล ในฤดูสืบพันธุ์ของปลาเข็ม Dermogenys pusillus (Kuhl & van Hasselt, 1823) จากบริเวณ ปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. ปีที่ 46. ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน) น.277-282.
อ้างอิง: พัทธเมธา คงเจริญ, เกียรติศักดิ์ โพธิ์นาค, สราวุติ สิทธิกุล, สิริวดี พรหมน้อย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. ชนิดของแมลงที่พบในแปลงมันสําปะหลังในเขตพื้นที่อําเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 31-40.
อ้างอิง: วีรนุช แซ่ตั้ง, นุชนาฎ บุญชู และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. โครงสร้างทางชุมนุมและความหลากหลายทางชีวภาพของแมลงในนาข้าวสายพันธุ์ต่างๆ. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 41-47.
อ้างอิง: วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์, ณรกมล เลาห์รอดพันธ์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, รังสรรค์ เจริญสุข และทศพร อินเจริญ. 2561.ความสัมพันธ์ระหว่าง SNP ของยีน VLDL/VTG receptor กับลักษณะการให้ผลผลิตไข่และการเจริญเติบโตของไก่สี่สายพันธุ์. Rajabhat J. Sci. Humanit. Soc. Sci. 19(1): 287-296.
อ้างอิง: Senarat, S., Jiraungkoorskul, W., Kettratad, J., To-orn, N., Poolprasert, P., Sudtongkong, C., Pengsakul, T., Para, C. and Sukparangsi, W. 2018. Prevalence, site of infection, and differentiating oocytes of the cymothoid isopod, Norileca indica (Milne Edwards, 1840) from its infected short mackerel, Rastrelliger brachysoma, in the Upper Gulf of Thailand. The Journal of Applied Science. 17(2): 1-8.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, สุชารัตน์ สุขใส, ทัตพล กาเนิดนิล, เจษฏ์ เกษตระทัต, ละม้าย ทองบุญ, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, ชำนาญ ภารา, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และธีรกมล เพ็งสกุล. 2561. การเปลี่ยนแปลงของเซลล์สืบพันธุ์เม่นทะเลหนามยาว Diadema setosum (Leske, 1778) จากบริเวณเกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ประเทศไทย : การศึกษาเบื้องต้น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). น. 109-114.
อ้างอิง: เกียรติศักดิ์ โพธิ์นาค พัทธเมธา คงเจริญ และ พิสิษฐ์ พูลประสริฐ. 2561. ความหลากหลายของหิ่งห้อย (Coleoptera: Lampyridae) ในเขตพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). น. 101-108.
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J., Jiraungkoorskul, W., Plumley, F.G., Tongmitr, K.,Poolprasert, P., Kangwanrangsan, N., Amano, M., Shimizu, A. and Boonyoung, P. 2018. Identification of sbGnRH-GTHs system and estrogen receptor α (ER α) immunoreactivites in the mature testicular tissue in Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851). Eurasia J Biosci 12, 385-392.
อ้างอิง: พนิดา พึ่งเถื่อน, ศิลปชัย เสนารัตน์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ทัศพร กาญจนเรขา, เจษฏ์ เกษตระทัต และพหล โกสิยะจินดา. 2561. มิญชวิทยารังไข่ของปลาบู่เขือ Trypauchen vagina (Bloch & Schneider, 1801) ช่วงฤดูสืบพันธุ์ จากจังหวัดสมุทรสงคราม. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. ปีที่ 46 เล่มที่ 3. หน้า 462-468.
อ้างอิง: สิริวดี พรหมน้อย, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และกานต์ติมา ศิริจันทร์. 2561. ความหลากหลายของแมลงศัตรูธรรมชาติในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ 2561(2) กรกฎาคม – ธันวาคม หน้า 105 – 115.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: ปิยากร บุญยัง, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระฑัต, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และวรรณีย์ จิรอังกูรสกุล.2560. โครงสร้างของรังไข่และกระบวนการพัฒนาของเซลล์ไข่ปลาข้าวเม่า Ambassis vachellii Richardson, 1846 จากปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 25 ฉบับที่ 4: น. 571-578.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, ปิยากร บุญยัง, ภากร ณ ลําปาง, อัมภรณ์พรรณ พลาศัย, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเจษฏ์ เกษตระฑัต. 2560. มิญชวิทยาเชิงเปรียบเทียบทางโครงสร้างของม้ามปลาฉลามหัวบาตร Carcharhinus leucas (Müller & Henle, 1839) และปลาไหลงู Pisodonophis boro (Hamilton, 1822). วารสารวิทยาศาสตร์ มข. ปีที่ 45. ฉบับที่ 1 (มกราคม-มีนาคม) น.105-113.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์ปิยากร บุญยัง ธีรกมล เพ็งสกุล ศันสรียา วังกุลางกูร ณัฐรินทร์ วงศ์ธรรมวานิช พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเจษฏ์ เกษตระฑัต. 2560. จุลกายวิภาคของเนื้อเยื่อปอดงูปากกว้างน้ำเค็ม Cerberus rynchops จากบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 1-9.
อ้างอิง: ละม้าย ทองบุญ, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฎ์ เกษตระฑัต, ศัลสรียา วังกุลางกูล, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และMark Tunmore. 2560. โครงสร้างออโรฟาริ้งค์ของปลาตะกรับ Scatophagus argus ระยะวัยรุ่น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม - ธันวาคม) น. 77-85.
อ้างอิง: ละม้าย ทองบุญ, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระฑัต, F. Gerald Plumley, วธิพร เย็นฉ่ำ, ศันสรียา วังกุลางกูล, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. มิญชวิทยาและมิญชเคมีของไตปลาตะกรับระยะวัยรุ่นจากปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 36 ฉบับที่ 3 น.249-253.
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ศิลปชัย เสนารัตน์ และภราดร ดอกจันทร์. 2560. การใช้ลำดับเบสของยีน COI สำหรับระบุชนิดของแมลงปั่นใย (Embioptera) ในประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 2 ฉบับที่1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 29-38.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, ปิยากร บุญยัง, ธีรกมล เพ็งสกุล, ศันสรียา วังกุลางกูร, ณัฐรินทร์ วงศ์ธรรมวานิช, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เจษฏ์ เกษตระฑัต. 2560. จุลกายวิภาคของเนื้อเยื่อปอดงูปากกว้างน้ำเค็ม Cerberus rynchops จากบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 2 ฉบับที่1 (มกราคม-มิถุนายน). น. 1-7.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, ปิยากร บุญยัง, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ศุภพงศ์ อิ่มสรรพางค์ และ เจษฎ์ เกษตระฑัต. 2560. มิญชวิทยาและมิญชเคมีของหลอดอาหารและแกสโตรอินเทสทีนปลาตะกรับ Scatophagus argus ระยะวัยรุ่น จากปากแม่น้ําปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์ มข. ปีที่ 45. ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน) น.369-378.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตรฑัต, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, เอสรา มงคลชัยชนะ และวรรณีย์ จิรอังกูรสกุล. 2560. การใช้จุลกายพยาธิเป็นตัววัดทางชีวภาพเพื่อประเมินสุขวะเบื้องต้นของหอยขม Filopaludina nartensi ในลำน้ำเข็ก ช่วงไหลผ่านอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 19 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม): น. 7-14.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, วรรณีย์ จิรอังกูลสกุล, ธีรกมล เพ็งสกุล, F. Gerald Plumley, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเจษฏ์ เกษตระทัต.2560. จุลกายพยาธิวิทยาของสมองและการฝ่อของออพติกโลบ ปลาทู (Rastrelliger brachysoma) ในบริเวณอ่าวไทยตอนบน. เชียงใหม่สัตวแพทยสาร. 15(2): 109-115.
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และวิสูตร จันทร์อิฐ. 2560. การใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์บางส่วนของยีน COI เพื่อการระบุชนิดของเพลี้ยอ่อนพืชตระกูลถั่วในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. PSRU Journal of Science and Technology 2(2): 1-10.
อ้างอิง: Senarat S., Kettratad J., Boonyoung P., Yenchum W., Poolprasert P. and Jiraungkoorskul W. 2017. Histological organization of head skin in the female Devario regina (Fowler, 1934). Journal of Science and Technology, Ubon Ratchathani University. 19(2): 136-143.
อ้างอิง: Thongboon, L., Senarat, S. Kettratad, J.,Huskul, A., Jiraungkoorskul, W.,Poolprasert, P., Sukparangsi, W. and Wongthamwanich, N. 2017. Microanatomical structure of the dog-faced water snake(Cerberus rynchops) from Thailand: A functional unit of the kidney. Chiang Mai Veterinary Journal. 15(3): 189-197.
อ้างอิง: ศุภลักษณ์ สุ่มแช่ม, ณภัทร โสมาลา, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และศิลปชัย เสนารัตน์. 2560. มิญชวิทยาของระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกของผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา Catopsilia pomona (Fabricius, 1758). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม) น.43-55.
อ้างอิง: นิดา นันทกรปรีดา, สมฤทัย ในแสน, กีรติ ตันเรือน, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, มนตรา ศรีษะแย้ม, ดุษิต โพธิ์ทอง และ ยุวดี ตรงต่อกิต. 2560. ฤทธิ์ฆ่าลูกน้ำยุงลายบ้าน (Aedes aegypti) ของสารสกัดเมล็ดน้อยหน่า (Annona squamosa) ที่หมักด้วยน้ำส้มควันไม้. PSRU Journal of Science and Technology 2(3): 33-40.
อ้างอิง: Boonyoung, P., Senarat, S., Kettratad, J., Jiraungkoorskul, W., Poolprasert, P., Wangkulangkul, S., Pengsakul, T., Yenchum, W., Sulieman, Y. 2017. Esophagogastric region and liver tissue in dog-faced water snake Cerberus rynchops: Histology and histochemistry. Agriculture and Natural Resources. 51(6):538-543.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Boonyoung, P., Senarat, S., Kettratad, J., Poolprasert, P., Yenchum,W. and Angsirijinda, W. 2016. Histological organization of the female queen Devario regina (Fowler, 1934) during its juvenile stage. Songklanakarin J. Sci. Technol. 38(1): 1-6.
อ้างอิง: สิริกานต์ สวัสดิ์สลุง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง และปิยะวรรณ สุทธิประพันธ์. 2559. ชนิดและสีของครั่ง (Hemiptera: Kerriidae) จากพืชอาศัยชนิดต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารเกษตร. ปีที่ 32 ฉบับที่ 2: น. 163-170.
อ้างอิง: ปิยากร บุญยัง, ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระฑัต, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเอสรา มงคลชัยชนะ. 2559. จุลกายพยาธิวิทยาเบื้องต้นของเนื้อเยื่อตับและไตของปลาน้ำดอกไม้ Megalops cyprinoides (Broussonet, 1782) บริเวณปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 24 ฉบับที่ 5 (ฉบับพิเศษ): น. 785-792.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระฑัต, ปิยากร บุญยัง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล และเอสรา มงคลชัยชนะ. 2559. โครงสร้างและการเปลี่ยนแปลงเนื้อเยื่อตับของปลาตะกรับ Scatophagus argus ระยะวัยรุ่น จากบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). น. 1-6.
อ้างอิง: ปิยากร บุญยัง, ศิลปชัย เสนารัตน์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล และศันสรียา วังกุลางกูร. 2529. จุลกายวิภาคม้ามของปลาตะกรับ Scatophagus argus (Linnaeus, 1766) ช่วงวัยรุ่น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มรย. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม- มิถุนายน) น. 79-85.
อ้างอิง: Thonhboon, L., Senarat, S., Kettratad, J.,Tunmore, M., Poolprasert, P., Wangkulangkul, S., Yenchum, W. and Jiraungkoorskul, W. 2016. Heart histology of the four chambers in the spotted scat, Scatophahus argus, during the juvenile stage. Suranaree J. Sci. Technol. 23(4): 429-433.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J., Poolprasert, P., Yenchum, W. and Jiraungkoorskul, W. 2015. Histopathological finding of liver and kidney tissues of the yellow mystus, Hemibagrus filamentus (Fang and Chaux, 1949), from the Tapee River, Thailand. Songklanakarin J. Sci. Technol. 37(1): 1-5.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Mongkolchaichana, E., Senarat, S., Kettratad, J., Yenchum, W. and Angsirijinda, W. 2015. Light microscopic observations of the mesentero-proctodeal regions in Catopsilla pomana (Fabricius, 1758) (Lepidoptera: Pieridae). Suranaree J. Sci. Technol. 22(1): 93-103.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตรฑัต, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ปิยากร บุญยัง และวรรณีย์ จิรอังกูรสกุล. 2558. มิญชวิทยาของท่อลม หลอดเลือด และกล้ามเนื้อลายของผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา Catopsilia pomona (Fabricius, 1758). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 23 ฉบับที่ 2 (เมษายน – มิถุนายน): น. 276-282.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Pama, W., Chammui, Y. and Thongchai, W. 2015. Screening of medical plants extracts for larvicidal activity against Culex quinquefasciatus (Diptera: Culicidae). Isan Journal of Pharmaceutical Sciences. v.10 (suppl.). 228-233.
อ้างอิง: Thongporn, C. and Poolprasert, P. 2015. Phytochemical Screening and Larvicidal Activity of Millingtonia hortensis L.f. Flower Extract against Aedes aegypti Linn. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 49(4): 597-605.
อ้างอิง: Jarernsuk, S., Petchsri, S., Poolprasert, P., Wattanadumrong, B. and Jongjitvimol, T. 2015. Economic Value of Non-Timber Forest Products Used by the Largest Hmong Community in Thailand. NU. International Journal of Science. 12(1): 38–51.
อ้างอิง: Boonyoung, P., Senarat, S., Kettratad, J., Poolprasert, P., Yenchum, W. and Jiraungkoorskul, W. 2015. Eye structure and chemical details of the retinal layer of juvenile Queen Danio Devario regina (Fowler, 1934). Kasetsart J. (Nat. Sci.) 49(5): 711–716.
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเฉลิมพร ทองพูน. 2558.ประสิทธิภาพของสารสกัดจากดอกพญาสัตบรรณที่มีต่อลูกน้ำยุงลายบ้าน. สักทอง : วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สทวท.). ปีที่ 2 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม). น. 23-29.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: Poolprasert, P., and Edgerly, J.S. 2014. Description of four new species of the genus Ptilocerembia Friederichs, 1923 (Embioptera: Ptilocerembiidae) from Thailand. Zootaxa. 3852 (3): 359-372.
อ้างอิง: Poolprasert, P. 2014. Dachtylembia, a new genus in the family Teratembiidae (Embioptera) from Thailand. Zootaxa. 3779 (4): 456-462.
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J., Poolprasert, P., Mongkolchaichana, E., Yemchum, W. and Angsirijinda, W. 2014. Histological and Histochemical Description of Mesentero-Proctodeal Regions in the Striped Blister Beetle, Epicauta waterhousei (Haag-Rutenberg, 1880) (Coleoptera: Meloidae). Walailak J. Sci. & Tech. 11(10): 851-856.
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และศิลปชัย เสนารัตน์. 2557. โครงสร้างเชิงระบบของแมลงปั่นใย Oligotoma saundersii (Embioptera: Oligotomidae) ในประเทศไทย. สักทอง : วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): น. 35-46.
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และศิลปชัย เสนารัตน์. 2557. ความหลากหลายของชนิด ถิ่นอาศัยและการกระจายของแมลงปั่นใยในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. Rajabhat Journal of Science, Humanities & Social Sciences. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม): 38-44 .
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตรฑัต, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, วธิพร เย็นฉ่ำ และวรรณีย์ จิรอังกูรสกุล. 2557. จุลกายวิภาคที่แตกต่างของระบบห่อหุ้มร่างกายบริเวณส่วนอกของผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา Catopsilia pomona (Fabricius, 1758). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 16 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม): น. 16-20.
อ้างอิง: ปิยนุช ทองจีน, แสงเดือน กลิ่นรอด, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ วธิพร เย็นฉ่ำ ศิลปชัย เสนารัตน์ และ นราธิป จันทร์สวัสดิ์. 2557. จุลกายวิภาคและมิญชเคมีของระบบสืบพันธุ์ผีเสื้อหนอนคูนธรรมดา Catopsilla pomona (Fabricius, 1758). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มีนาคม): น. 23-33.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระทัตม, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และ วธิพร เย็นฉ่ำ. 2557. วิทยาเนื้อเยื่อของหลอดอาหารและกระเพาะอาหารของปลากดเหลือง Hemibagrus filamentus (Fang and Chaux, 1949). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มีนาคม): น. 46-54.
อ้างอิง: กาญจนา ลังกาวงค์, ศิลปชัย เสนารัตน์, นราธิป จันทรสวัสดิ์, ปิยากร บุญยัง และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2556. จุลกายวิภาค และจุลกายวิภาคเคมีบางระบบของด้วงน้ำมัน Epicauta waterhousei (Haag-Rutenberg, 1880) เพศเมียส่วนท้าย. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 15 ฉบับที่ 3 (กันยายน – ธันวาคม). น. 43-52.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และ วธิพร เย็นฉ่ำ. 2556. การเปลี่ยนแปลงจุลกายวิภาคของอวัยวะสร้างเซลล์สืบพันธุ์ของปลาตะเพียนทอง Barbonymus altus (Günther, 1868) จากแม่น้ำตาปี จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม –สิงหาคม): น. 10-20.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, เจษฏ์ เกษตระทัต, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2555. การเปลี่ยนแปลงทางจุลกายวิภาคของตับ ตับอ่อนและไต ของปลามะไฟ (Puntius stoliczkanus (Day, 1869)) จากแม่น้ำตาปี จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารการประมง ปีที่ 65 ฉบับที่ 5 (กันยายน - ตุลาคม): น. 353-359.
อ้างอิง: Jongjitvimol, T., and Poolprasert, P. 2014. Pollen Sources of Stingless Bees (Hymenoptera: Meliponinae) in Nam Nao National Park, Thailand. NU. International Journal of Science. 11(2): 1 – 10.
อ้างอิง: Boonyoung, P., Senarat, S., Kettratad, J., Yenchum, W., Poolprasert, P. and Jiraungkoorskul, W. 2014. Microarchitectural study of the olfactory organ of Devario regina (Flower, 1934) using PAS technique. J. Bio-Sci. 22: 41- 44.
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J., Poolprasert, P. and Yemchum, W. 2013. Anterior kidney of the yellow mystus, Hemibagrus filamentus (Fang and Chaux, 1949). Walailak J. Sci. & Tech. 10(6): 357-600.
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J., Yenchum, W., Poolprasert, P. and Kangwanrangsan, N. 2013. Microscopic Organization of the Eye of Stoliczkae's barb Puntius stoliczkanus (Day, 1871). Kasetsart J. (Nat. Sci.). 47(5): 733 – 738
อ้างอิง: Rattanawannee, A., Duangpukdee, O. and Poolprasert, P. 2013. Insect Diversity During Different Stages of Asiatic Elephant Dung Deterioration in Eastern Thailand. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 47(3): 387-397.
อ้างอิง: Senarat, S., Yenchum, W. and Poolprasert, P. 2013. Histological Study of the Intestine of Stoliczkae's Barb Puntius stoliczkanus (Day, 1871) (Cypriniformes: Cyprinidae). Kasetsart J. (Nat. Sci.). 47(2): 247-251.
ปี พ.ศ. 2555 (2012)
อ้างอิง: Poolprasert, P. 2012. The Embiopteran Genus Oligotoma Westwood, 1837 (Embioptera: Oligotomidae), with Three New Recorded Species from Thailand. Kasetsart J. (Nat. Sci.). 46(3): 408-417.
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: Poolprasert, P., Sitthicharoenchai, D., Lekprayoon, C. and Butcher, B.A. 2011. Two remarkable new species of webspinners in the genus Eosembia Ross, 2007 (Embioptera: Oligotomidae) from Thailand. Zootaxa 2967: 1-11.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Sitthicharoenchai, D., Butcher, B.A. and Lekprayoon, C. 2011. Aposthonia Krauss, 1911 (Embioptera: Oligotomidae) from Thailand, with description of a new species. Zootaxa 2937: 37-38.
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: Poolprasert, P., and Edgerly, J.S. 2011. A new species of Eosembia (Embiodea: Oligotomidae) from northern Thailand. J. Kansas Entom. Soc 84(1): 12-21.
อ้างอิง: Malaithong, N., Polsomboon, S., Poolprasert, P., Parbaripai, A., Bangs, M.J., Suwonkerd, W., Pothikasikorn, J., Akratanakul, P. and Chareonviriyaphap, T. 2010. Human-landing patterns of Anopheles dirus sensu lato (Diptera: Culicidae) in experimental huts treated with DDT or deltamethrin. J. Med. Entomol 47(5): 823-832.
ปี พ.ศ. 2551 (2008)
อ้างอิง: Polsomboon, S. Poolprasert, P., Bangs, M.J., Suwankerd, W., Grieco, J.P., Achee, N., Parbaripai, A. and Chareonviriyaphap, T. 2008. Effects of Physiological Conditioning on Behavioral Avoidance by Using a Single Age Group of Aedes aegypti Exposed to Deltamethrin and DDT. J. Med. Entomol 45(2): 251-259.
อ้างอิง: Polsomboon, S., Poolprasert, P., Suwonkerd, W., Bangs, M.J., Tanasinchayakul, S., Akratanakul, P. and Chareonviriyaphap, T. 2008. Biting patterns of Anopheles minimus complex (Diptera: Culicidae) in experimental huts treated with DDT and deltamethrin. J. Vector Ecol 33(2): 285-292.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Manguin, S., Bangs, M.J., Sukhontabhirom, S., Poolsomboon, S., Akaratanakul, P. and Chareonviriyaphap, T. 2008. Genetic structure and gene flow of Anopheles minimus and Anopheles harrisoni in Kanchanaburi Province, Thailand. J. Vector Ecol 33(1): 158-156.
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และ จริยา เล็กประยูร. 2551. แมลงปั่นใย.วารสารวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ปีที่ 62 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม - มิถุนายน): น. 42-45.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: นริศรา แซ่เลี้ยว, ชาญยุทธสุด ทองคง, ศุภรัตน์ คงโอ, พรเทพ วิรัชวงศ์, นริศ ท้าวจันทร์, ณัฐวุฒิ เจริญผล, ปิยะมาศ คงถึง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ศุภพงศ์ อิ่มสรรพางค์ และศิลปชัย เสนารัตน์. 2566. สุขภาวะเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิดจากบริเวณแหล่งหญ้าทะเลในเกาะลิบง ประเทศไทย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและวิทยาศาสตร์สุขภาพ ครั้งที่ 2 (2nd NACON-NARAHS). ณ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร หน้า 1-12.
อ้างอิง: Napiroon, T., Bacher, M., Buathong, R., Poolprasert, P., Tanruean, K., Poopath, M., Santimaleeworagun, W, and Jaikeaw, P. 2023. Specialized bioactive metabolites of Trema orientalis (Cannabaceae) related to glandular trichome morphotypes and its effect on human skin cel. 38th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences (IAMPS38). Pathumwan Princess Hotel, Bangkok, Thailand. 59. (March 23-24th, 2023)
อ้างอิง: กีรติ ตันเรือน, วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2566. การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้สารสกัดจากใบเตยหอมและถั่วเหลืองฝักสดในการล่อดักจับแมลงในระบบนิเวศนาข้าว. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ "นอร์ทเทิร์นวิจัย" ครั้งที่ 9. หน้า 1411-1419.
อ้างอิง: Punsud, K., Meechawna, K., Tanruean, K., Likittrakulwong, W. and Poolprasert, P. 2023. Ant Diversity in Different Land Use Types in Phitsanulok Province. The 1st International Conference on ASEAN Sustainable Development (ICASD 2023). International College, Thaksin University. p.99. (20-21 July, 2023)
อ้างอิง: ศศิกานต์ จันทะคุณ, กีรติ ตันเรือน, วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2566. การใช้วัสดุเหลือใช้จากพืชวงศ์กัญชาเป็นทางเลือกในการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการนานาชาติและนำเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 56 “การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน” วันที่ 14 กรกฏาคม 2566 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. หน้า 1-8.
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: พรพิณ เผ่าพันธ์แปลก, ฑิฆัมพร ห่วงแสง, กีรติ ตันเรือน, วิษณุ ธงไชย, วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2565. ประสิทธิศักดิ์ของสารสกัดหยาบจากใบกระท่อม Mitragyna speciosa Korth. ต่อการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน Aedes aegypti (L.). รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ "นอร์ทเทิร์นวิจัย" ครั้งที่ 8. หน้า 1997-2006.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Tanruean, K., Thongchai, W.,Chammui, Y., Likittrakulwong, W.,Konkaew, K., Konkaew, P. and Thongkhao, K. 2022. Evaluation of the Use of Different Solvents for Mitragyna speciosa Leaf Extracts on Larvicidal Activity Against Aedes aegypti (Diptera: Culicidae). The 14th SEA Regional Scientific Meeting of the International Epidemiological Association and International Conference on Public Health and Sustainable Development, Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand. p.77. (22-25, November, 2022)
อ้างอิง: Mongkolchaichana, E., Senarat, S., Kong-oh, S., Sudtongkong, C., Wirachwong, P., Poolprasert, P., Kaneko, G., Kongtueng, P., Sirinupong, P. and Charoenphon, N. 2022. Female Oogenic Health of Bethic Marine Organisms from Libong Island, Thailand.The 5th International Symposium of the Benthological Society of Asia (BSA2022), Chiang Mai University, Thailand p.27. (27-29 December 2022)
อ้างอิง: Yeesan, N., Senarat, S., Kong-oh, S., Mongkolchaichana, E., Nganvongpanit, K., Poolprasert, P., Ilda, A., Kaneko, G., Khawchamnan, R. and Angsujinda, K. 2022. Rapid bone staining of estuarine flatfish from the southern, Thailand with implications of its taxomomy. The 5th International Symposium of the Benthological Society of Asia (BSA2022), Chiang Mai University, Thailand. p73. (27-29 December 2022)
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Poolprasert, P., Tanruean, K., Napiroon, T. and Berry, G. 2020. Community Structure of Insect and Spider Fauna UtilizibgbRice Field Ecosystem in Lower Northern Thailand. Proceedings at the 3th National Reseach Conference-CPRU.2020. Research and Innovations for Sustainable and Livable Communities. 279-288.
อ้างอิง: ฤดี สิงห์รอ, กีรติ ตันเรือน, เรืองวุฒิ ชุติมา และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากใบดาวกระจายไต้หวัน (Asterales: Asteraceae) ต่อการควบคุมหนอนกระทู้ข้าวโพดลายจุด (Lepidoptera: Noctuidae). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 322-327.
อ้างอิง: อนงค์นาฏ จิตจ านงค์ อรรถพล นาขวา และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. ความหลากหลายของผีเสื้อกลางวัน บริเวณพื้นที่แก่งบางระจัน ตำบลหนองแม่นา อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 328-334.
อ้างอิง: สุกัญญา จันทร์สุคนธ์, อรรถพล นาขวา และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2563. ความหลากชนิดของแมลงปอ (Insecta: Odonata) ในเขตพื้นที่แก่งบางระจัน ตำบลหนองแม่นา อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฏกรุงเก่า” ประจำปี พ.ศ. 2563 วันที่ 15 – 16 ธันวาคม 2563 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. หน้า 335-341.
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: เจษฎากร โนอินทร์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และยุวดี พ่วงรอด. 2562. ความแตกต่างของพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ.2562. น.719-731.
อ้างอิง: Napiroon,T., Tanruean, K., Bacher, M., Poolprasert, P., Balslev, H. and Santimaleeworagun, W. 2019. Extract fractionation and purification of Lasianthus (Rubiaceae) species related to infection treatment in Thai traditional uses. The 35th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences & CU-MPU International Collaborative Research Conference. Eastin Hotel, Makkasan, Bangkok, Thailand. 204-209
อ้างอิง: ภาวนา ประเสริฐทรัพย์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และกีรติ ตันเรือน. 2562. การเปรียบเทียบคุณภาพการดูดซับของสตาร์ชข้าวรูพรุนที่ผลิตโดยใช้เอนไซม์อะไมเลสและคลื่นความถี่สูง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ.2562. น.411-418.
อ้างอิง: พิมภิรา พรมสุ, กีรติ ตันเรือน, กู้เกียรติ ก้อนแก้ว, วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, ณัฐดนัย ลิขิตตระการ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562.การประยุกต์ใช้สารสกัดหยาบจากใบสาบเสือ (Chromolaena odorata(L.) R.M. King & H.) ต่อการควบคุมด้วงดอกรักสีน้าเงิน. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 15 หน้า 471-478.
อ้างอิง: ณัฐติรัตน์ วังครี, วีระ นาคผู้, เชาวลิต พึ่งแตง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ปฎิพันธ์ นันทขว้าง และ กีรติ ตันเรือน. 2562. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อโกศจุฬาลัมพาในสภาพปลอดเชื้อ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 15 หน้า 493-498.
อ้างอิง: อภิสิทธิ์ หัดไทยทระ, ยุวดี สีนวนขา, กาญจนา เกตุอ่อน, กีรติ ตันเรือน, กู้เกียรติ ก้อนแก้ว, ภรภัทร สำอาง, วิษณุ ธงไชย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. ผลของสารสกัดหยาบจากผกากรอง Lantana camera L. ที่มีต่อด้วงงวงข้าว Sitophilus oryzae(L). รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 15 หน้า 592-597.
อ้างอิง: วรรณนิศา แสงเงิน, กีรติ ตันเรือน, กู้เกียรติ ก้อนแก้ว, ทิวธวัฒ นาพิรุณ, วิษณุ ธงไชย, มานิสา กองแก้ว, และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. ฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดกระทกรก Passiflora foetidaต่อหนอนกระทู้ข้าวโพด Spodoptera frugiperda. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ นเรศวรวิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 15 หน้า 598-603.
อ้างอิง: ภรภัทร สำอาง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, วิษณุ ธงไชย และรำไพ โกฎสืบ, 2562. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากใบมะฮอกกานีใบใหญ่ต่อการกำจัดเพลี้ยแป้งในมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง. รายงานการสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. หน้า 616-621.
อ้างอิง: วรัญญา มาเต, กาญจนา ธนนพคุณ, วีระ นาคผู้, เชาวลิต พึ่งแตง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และ กีรติ ตันเรือน. 2562. การประเมินองค์ประกอบทางเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากลูกจัน. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13. หน้า 1,367-1,380.
อ้างอิง: สุนิตา บัวศรี, วีระ นาคผู้, เชาวลิต พึ่งแตง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ทัศนัย ปัญจันทร์สิงห์ และ กีรติ ตันเรือน. 2562. การประเมินฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์ทั้งหมด ของสารสกัดจากกลว้ ยไมห้ มกู ล้งิ ที่ได้จากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13. หน้า 1,381-1,391
อ้างอิง: สุพรรษา ด้วงรอด, อภิสิทธิ์ หัดไทยทระ, กีรติ ตันเรือน, ทิวธวัฒ นาพิรุณ, วิษณุ ธงไชย, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. การใช้สารสกัดจากถั่วเหลืองฝักสดเป็นสารล่อแมลงในนาข้าว. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13. หน้า 1,392- 1,402.
อ้างอิง: กาญจนา เกตุอ่อน, ยุวดี สีนวนขำ, อภิสิทธิ์ หัดไทยทระ, กีรติ ตันเรือน, ภรภัทร สำอางค์, วิษณุ ธงไชย และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2562. ศักยภาพสารสกัดจากใบอบเชย Cinnamomum bejolghota (Buch.-Ham.) Sweet ต่อการไล่และฆ่ามอดแป้ง Tribolium castaneum (Herbst). รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13. หน้า 940-948.
อ้างอิง: ภาวนา ประเสริฐทรัพย์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และ กีรติ ตันเรือน. 2562. การหาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตแป้งข้าวรูพรุนโดยใช้วิธีพื้นผิวตอบสนอง. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13. หน้า 1,006-1,013.
อ้างอิง: สุภัค คนดารา, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, สราวุฒิ สิทธิกูล, อรรถพล นาขวา, เรืองวุฒิ ชุติมา, ชนิกานต์ ค้มุนก, ทิวธวัฒ นาพิรุณ และกีรติ ตันเรือน. 2562. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบของฝอยทองต่อการควบคุมไรไข่ปลาในเห็ดหูหนู. รายงานการประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2. 5:21-30.
อ้างอิง: ฐิติพร เจาะจง, สโรชา โพธิ์อภัย, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, กษมะ ดุรงค์ศักดิ์ และปนัดดา เมฆโต. 2562. โครงสร้างโฟโตนิกส์คริสตัลของด้วงขาโต Carvedon serratus Olivier เพศผู้. รายงานการประชุมสวนสุนันทาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 2. 3:182-188.
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, กีรติ ตันเรือน, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, วิษณุ ธงไชย, สุวรรณา ธงไชย และ กัมปนาท สุขนิตย์. 2561. การระบุชนิดทางสัณฐานวิทยาและดีเอ็นเอบาร์โค้ดของเพลี้ยอ่อนในพืชตระกูลถั่ว (Hemiptera: Aphididae). การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครัง้ ที่ 3 และการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น ครัง้ ที่ 4. น.460-468.
อ้างอิง: สุกัญญา ภูสิงห์, กีรติ ตันเรือน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. การวิเคราะห์ความแปรผันทางพันธุกรรมของแมลงวันผลไม้ Bactrocera dorsalis (Diptera: Tephritidae) ในเขตพื้นที่พิษณุโลก-สุโขทัย โดยใช้ลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน COI. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.205-214.
อ้างอิง: ชญานิศ โตมอญ, กีรติ ตันเรือน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. ประสิทธิภาพในการเป็นสารกำจัดแมลงของสารสกัดจากใบน้อยหน่า ใบยูคาลิปตัสและฝักคูนต่อหนอนแมลงวันบ้าน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.215-224.
อ้างอิง: คณัฎสนันท์ ขันเงิน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. การสำรวจผีเสื้อกลางวัน (Lepidoptera) ในเขตพื้นที่อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.225-233.
อ้างอิง: ธัญวลัย เหมือนคล้าย, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และกีรติ ตันเรือน. 2561. การทำให้บริสุทธิ์บางส่วนและการประเมินฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากฝอยทอง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.313-320.
อ้างอิง: เจนจิรา พรมรินทร์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และกีรติ ตันเรือน. 2561. การทำให้บริสุทธิ์บางส่วนและการประเมินฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดเอทิลอะซิเตทจากไปหอมแขก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.321-327.
อ้างอิง: ชนัญชิดา สาหร่าย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. ความหลากชนิด สถานภาพความชุก และรูปแบบการกระจายตัวของแมลง: กรณีศึกษาประชากรแมลงน้ำในนาข้าว อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.369-380.
อ้างอิง: นิภาภรณ์ ถาวรกุล และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. การประเมินโครงสร้างทางสังคมของแมลงที่ใช้ประโยชน์จากพืชตระกูลแตงที่แตกต่างกัน ในเขตพื้นที่ตำบลเนินปอ อำเภอสามง่าม จังหวัดพิจิตร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.381-390.
อ้างอิง: ภัทราภรณ์ เพ็ญโพธิ์, กีรติ ตันเรือน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. ศักยภาพของสารสกัดหยาบจากสาบเสือในการควบคุมเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติวิจัยและนวัตกรรมสร้างสรรค์ ครั้งที่ 5. น.592-601.
อ้างอิง: วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์, ณรกมล เลาห์รอดพันธ์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, รังสรรค์ เจริญสุ และทศพร อินเจริญ. 2561. การตรวจสอบความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนไลโปโปรตีนที่มีความหนาแน่นต่ำมากและไวเทลโลจีนินรีเซฟเตอร์ในไก่สายพันธุ์ต่างๆ ในจังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ. 2561. น.586-591.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Poolprasert, P. Chan-it, W. and Likhitrakan, N. 2017. Molecular taxonomic identification of ladybirds (Coleoptera: Coccinellidae) by using Cytochrome c oxidase subunit I (COI) gene. 8th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). The A-ONE Royal Cruise Hotel, Pattaya Beach, Thailand. 374-377.
อ้างอิง: Tunreuan, K., Panprom, N., Poolprasert, P., Tappha, J., Thasana, M., Phothong, D. and Khamsri, N. 2017. Larvicidal activity of ethanolic stem extracts of plant, Cuscuta reflexa (Convolvulaceae) against Aedes aegypti (Culicidae). 8th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). The A-ONE Royal Cruise Hotel, Pattaya Beach, Thailand. 47-51.
อ้างอิง: ณัฏชยานันต์ เกตุศรีศักดา, เจษฎากร โนอินทร์, กีรติ ตันเรือน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา. การประชุมวิชาการระดับชาติ “นอร์ทเทิร์นวิจัย” ครั้งที่ 3 ประจำปี 2559. น.1-9.
อ้างอิง: สุวรรณ เนื่องเกิด, เจษฎากร โนอินทร์ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ รายวิชาชีววิทยาพื้นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการสอนโดยการเรียนแบบร่วมมือด้วยเทคนิคแบ่งกลุ่มผลสัมฤทธิ์ (STAD) กับการสอนแบบปกติ. การประชุมวิชาการระดับชาติ “พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 3” พ.ศ. 2560. น.477-484.
อ้างอิง: Noin, J., Konkaew, K., Maneesri, J., Thisuka, A., Neuamai, R. and Poolprasert, P. 2017. Perceived Health Promotion and Health Promoting Behaviors among Undergraduate Students in Pibulsongkram Rajabhat University. The 1st APACPH Bangkok Region Conference and The 8th International Public Health Conference toward Achieving Sustainable Development Goals, 2030. p-154-160.
อ้างอิง: Tanruean,K., Techaput, P., Poolprasert, P., Thananoppakun, K., Wittanalai, S. and Suttiarporn, P. 2017. Gas Chromatography-mass Spectrometry Analysis and Biological Activities of Essential Oil from the Local Edible Plant of Momordica sp. The 2nd International Conference on Herbal and Traditional Medicine 2017. p.253-260.
อ้างอิง: เจษฎากร โนอินทร์, ทิพย์วาที มีจันโท, สุกัญญา กัญศรี และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน ในเขตพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. โครงการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 17. น. 2651-2663.
อ้างอิง: Tanruean, K., Thananoppakun, K., Poolprasert, P. and Wittanalai, S. 2017. Antioxidant and Antibacterial Activities of Clausena harmandiana (Pierre) Pierre ex Guillaumin Fruit and Leaf Extracts. International Conference of Pharmaceutical Sciences and Medicines 2017. p.131-136.
อ้างอิง: พัทธเมธา คงเจริญ, เกียรติศักดิ์ โพธิ์นาค, สราวุฒิ สิทธิกุล, สิริวดี พรหมน้อย และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. การสำรวจแมลงมันสำปะหลังในเขตพื้นที่อำเภอทองแสนขัน จังหวัดอุตรดิตถ์. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2560. น.1735-1743.
อ้างอิง: มาริษา เพ็ญโพธิ์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และกีรติ ตันเรือน. 2560. การใช้สารสกัดจากใบเตยหอมเพื่อล่อดักจับแมลงศัตรูพืชในนาข้าว. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2560. น.1728-1734.
อ้างอิง: ธนพล พลายคุม, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ศิริพร ศิริอังคณากุล และกีรติ ตันเรือน. 2560. การเปรียบเทียบคุณภาพการดูดซับของแป้งข้าวรูพรุนที่ผลิตโดยใช้เอนไซม์ย่อยแป้งและคลื่นความถี่สูง. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 11 ประจำปีการศึกษา 2560. น.1584-1591.
อ้างอิง: วีรนุช แซ่ตั้ง, นุชนาฎ บุญชู และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. โครงสร้างทางสังคมของแมลงที่ใช้ประโยชน์ในนาข้าวสายพันธุ์ กข 41 ปทุมธานี 80 และพิษณุโลก 2. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. น.1020-1025.
อ้างอิง: นุชนาฎ บุญชู, วีรนุช แซ่ตั้ง, กีรติ ตันเรือน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้สารสกัดจากพืชเป็นสารล่อและเหยื่อพิษเพื่อควบคุมแมลงวันผลไม้ในสวนมะม่วง. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. น.1214-1219.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: Wongsa, K., Jeratthitikul, E., Sangthongpraow, B., Poolprasert, P. and Rattanawannee, A. 2016. Genetic variation among the geographic populations of cowpea aphid, Aphis craccivora Koch (Hemiptera: Aphididae), in Thailand inferred from COI gene sequences. The 5th Burapha University International Conference 2016. Bangsaen, Chonburi, Thailand. 132-141.
อ้างอิง: ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, จิระพงษ์ เจริญลา, ทศพล ตะเภาทอง, วิษณุ ธงไชย, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และฐิติพร เจาะจง. 2559. การศึกษาธาตุอาหารและโลหะบางชนิดของถ่านหินคุณภาพต่ำเพื่อประยุกต์ใช้ในทางการเกษตร. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11. น. 1056-1061.
อ้างอิง: ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, ทศพล ตะเภาทอง, จิระพงษ์ เจริญลา, วิษณุ ธงไชย, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และฐิติพร เจาะจง. 2559. การหาสภาวะที่เหมาะสมสา หรับตรวจวัดโครเมียมเฮกซาวาเลนโดยใช้โทรศัพท์มือถือ. การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11. น.1062-1069.
อ้างอิง: รัตติกาล ตันมิ่ง และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2559. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมโดยใช้แหล่งเรียนรู้เป็นฐานสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวังทองพิทยาคมจังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ การประชุมสัมมนาวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา และการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 16 “งานวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น” 274-286.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: Senarat, S., Kettratad, J., Poolprasert, P., Boonyoung, P., Kangwanrangsan, N. and Jiraungkoorskul, W. 2015. Histopathological Observation of Liver Tissue of Rastrelliger brachysoma (Bleeker, 1851) from the Upper Gulf of Thailand. Asia-Pacific Conference on Engineering and Applied Science (APCEAS). Osaka, Japan. 369-374.
อ้างอิง: Poolprasert, P. 2015. A Survey on Coccinellid Beetles (Coleoptera: Coccinellidae) at the Organic Agriculture Project, Sukhothai Province, Thailand. Asia-Pacific Conference on Engineering and Applied Science (APCEAS). Osaka, Japan. 97-103.
อ้างอิง: Suvannarat, S., Junmatong, C., Thongchai, W., Chammui, Y. and Poolprasert. 2015. Larvicidal Activity of Tinospora crispa (Menispermaceae) Extract Against Larvae of Diamondback Moth, Plutella xylostella (Lepidoptera: Plutellidae). 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). Phitsanulok, Thailand. 37-40.
อ้างอิง: Homjun, S., Chan-it, W. and Poolprasert, P. 2015. Predacious Ladybird Beetles (Coeloptera: Coccinellidae) Inhabiting Vegetable Crop at Bung Phra Organic Farming, Phitsanulok Province, Thailand. 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). Phitsanulok, Thailand. 41-45.
อ้างอิง: Poolprasert, P. and Senarat, S. 2015. Histological Description of Nervous System of Eosembia auripecta (Insecta, Embioptera, Oligotomidae). 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). Phitsanulok, Thailand. 46-53.
อ้างอิง: Thongchai, W., Thongchai, S. Chammui, Y. and Poolprasert, P. 2015. Determination of Arbutin in Medicinal Plants. 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). Phitsanulok, Thailand. 66-70.
อ้างอิง: Thongchai, W., Thongchai, S. Chammui, Y. and Poolprasert, P. 2015. In Vitro Antioxidant Capacities and Gamma-Oryzanol Content of Rice Bran Oil. 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). Phitsanulok, Thailand. 71-75.
อ้างอิง: Bunchaun, P., Buabdi, O., Poolprasert, P., Thongchai, W. and Chammui,Y. 2015. Effect of pH and Contact Times for Equilibrium Adsorption of Arsenic Ions on Modified Diatomite as Adsorbent. 7th International Science, Social Sciences, Engineering and Energy Conference (I-SEEC). Phitsanulok, Thailand. 372-376.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: Poolprasert, P. Inpuk, P., Pama, W., Thongporn, C. and Thongchai, W. 2014. Mosquito larvicidal activity of the essential oil of Alstonia scholaris (L.) R.Br. against Aedes aegypti L. Tokyo International Conference on Engineering and Applied Science (TICEAS). Tokyo, Japan. 1172-1177.
อ้างอิง: Poolprasert, P. and Jongitvimol, T. 2014. Arthropod communities inhabiting organic rice agro-ecosystem. International Conference on Agriculture and Medical Science (AEMS-2014). London, UK. 1-5.
อ้างอิง: Thongpoon, C. and Poolprasert, P. 2014. Phytochemical and mosquito larvicidal properties of Millingtonia hortensis L.f. International Conference on Agriculture and Medical Science (AEMS-2014). London, UK. 32-36.
อ้างอิง: Jongjitvimol, T., Poolprasert, P. and Petchsri, S. 2014. Native Species Composition of Pollinators (Hymenoptera: Apidae) and Pollen Sources in Four Vegetation Types, Lower Northern Thailand. International Congress on Chemical, Biological and Environmental Sciences (ICCBES), Kyoto, Japan. 357-364.
อ้างอิง: ชฎาพร ไทยตรง และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2556.การสำรวจแมลงศัตรูในโรงเก็บ : กรณีศึกษาในโรงสีข้าว จังหวัดพิจิตร. การประชุมวิชาการ “พิบูลสงครามวิจัย” และนิทรรศการ “การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยว” จากท้องถิ่นสู่อาเซียน 2557. หน้า 407-412.
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเฉลิมพร ทองพูน. 2556. ฤทธิ์ของสารสกัดจากพืชสมุนไพรที่มีต่อลูกน้ำยุงลายบ้าน. การจัดประชุมวิชาการระดับชาติ “วิทยาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 6. หน้า 302-306
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
อ้างอิง: Poolprasert, P., Kruemee, S., Ponkaew, W. and Senarat, S. 2013. Species Composition of the Embiopteran Faunas Associated in Different Habitat Type from Lower Northern Thailand. The 2nd Annual PSU Phuket International Conference 2013. 53-58.
อ้างอิง: Poolprasert, P. and Senarat, S. 2013. Gonadal Structure and Gametogenesis of the Webspinner (Insecta: Embioptera: Oligotomidae: Oligotoma saundersii). The 1st Nong Khai Campus International Conference 2013. 89-93.
อ้างอิง: สุริสา ยาทา, กนิษฐา เทาสี, ศรสวรรค์ วิจิตร, วันทนี เจิมกลิ่น, ปิยนุช ทองจีน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2556.แมลงศัตรูข้าวและศัตรูธรรมชาติในระบบนิเวศเกษตรของข้างอินทรีย์.. รายงานสืบเนื่องจาก การประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11. หน้า 296-303.
อ้างอิง: กาญจนา วิยะกรรณ์, ทัศนีย์วรรณ คงกระจ่าง, วิรัชยา อินทะกันฑ์ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2556. กีฏวิทยาพื้นบ้าน : กรณีศึกษาแมลงกินได้ของประชาชนในตำบลเพ็ญ อำเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11. หน้า 310-316.
อ้างอิง: นงนุช มีสวัสดิ์, กัลยา พูลทรัพย์, ชฎาพร ไทยตรง และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2556.การวิเคราะห์มูลค้างคาวปากย่นในเขตพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11. หน้า 410-416.
อ้างอิง: แสงดาว เครือมี, วราพร พลแก้ว, แสงเดือน กลิ่นรอด, กาญจนา ลังกาวงค์ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2556.ชนิดและการแพร่กระจายของแมลงปั่นใยในจังหวัดพิษณุโลกและพื้นที่ใกล้เคียง. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการงานเกษตรนเรศวร ครั้งที่ 11. หน้า 417-423
อ้างอิง: ภัทรวดี แก้วกุญชร, นุชจรี รอดคุ้ม, วันเพ็ญ ตรงต่อกิจ, เชาวลิต พึ่งแตง, ราไพ โกฎสืบ และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2556. การประยุกต์ใช้สารสกัดพืชสมุนไพรในการควบคุมลูกน้ายุงลาย. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการครั้งที่ 11. หน้า 304-309.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: นริศรา แซ่เลี้ยว, ชาญยุทธสุด ทองคง, ศุภรัตน์ คงโอ, พรเทพ วิรัชวงศ์, นริศ ท้าวจันทร์, ณัฐวุฒิ เจริญผล, ปิยะมาศ คงถึง, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, ศุภพงศ์ อิ่มสรรพางค์ และศิลปชัย เสนารัตน์. 2023. สุขภาวะเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิดจากบริเวณแหล่งหญ้าทะเลในเกาะลิบง ประเทศไทย. การประชุมวิชาการระดับชาติด้านทรัพยากรธรรมชาติและวิทยาศาสตร์สุขภาพ ครั้งที่ 2 (The 2nd National Conference on Natural Resources and Health Science: NACON-NARAHS). วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2566 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
อ้างอิง: Punsud, K., Meechawna, K., Tanruean, K., Likittrakulwong, W. and Poolprasert, P. 2023. Ant Diversity in Different Land Use Types in Phitsanulok Province. The 1st International Conference on ASEAN Sustainable Development (ICASD 2023). International College, Thaksin University. p.99. (20-21 July, 2023)
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: T. Napiroon, M. Bacher, A. C. Barbera, M. Poopath, P. Poolprasert, K. Tanruean, and W. Santimaleeworagun. 2022. NOVEL DISCOVERY CANNABINOL (CBN) SOURCE FROM Trema orientalis (CANNABACEAE) WITH POSITIVE EFFECT ON CELLS OF HUMAN RESPIRATORY TRACT. PACCON 2022: p.304.
อ้างอิง: Poolprasert, P., Tanruean, K., Thongchai, W.,Chammui, Y., Likittrakulwong, W.,Konkaew, K., Konkaew, P. and Thongkhao, K. 2022. Evaluation of the Use of Different Solvents for Mitragyna speciosa Leaf Extracts on Larvicidal Activity Against Aedes aegypti (Diptera: Culicidae). The 14th SEA Regional Scientific Meeting of the International Epidemiological Association and International Conference on Public Health and Sustainable Development, Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand. p.77. (22-25, November, 2022)
อ้างอิง: Mongkolchaichana, E., Senarat, S., Kong-oh, S., Sudtongkong, C., Wirachwong, P., Poolprasert, P., Kaneko, G., Kongtueng, P., Sirinupong, P. and Charoenphon, N. 2022. Female Oogenic Health of Bethic Marine Organisms from Libong Island, Thailand.The 5th International Symposium of the Benthological Society of Asia (BSA2022), Chiang Mai University, Thailand p.27. (27-29 December 2022
อ้างอิง: Yeesan, N., Senarat, S., Kong-oh, S., Mongkolchaichana, E., Nganvongpanit, K., Poolprasert, P., Ilda, A., Kaneko, G., Khawchamnan, R. and Angsujinda, K. 2022. Rapid bone staining of estuarine flatfish from the southern, Thailand with implications of its taxomomy. The 5th International Symposium of the Benthological Society of Asia (BSA2022), Chiang Mai University, Thailand. p73. (27-29 December 2022)
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: โครงการประชุมสัมมนาวิชาการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ เครือข่ายบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏภาคเหนือ ครั้งที่ 16 และการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ ครั้งที่ 3 (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2559)
อ้างอิง: การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล ครั้งที่ 5 (1 - 3 มิถุนายน พ.ศ.2559)
อ้างอิง: The 5th Burapha University International Conference 2016 (28-29 July 2016, Bangsaen, Chonburi, Thailand)
อ้างอิง: การประชุมวิชาการ งานเกษตรนเรศวรครั้งที่ 14 (วันที่ 1-2 พฤศจิกายน 2559)
อ้างอิง: การประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ครั้งที่ 5 (2-4 มีนาคม 2560)
อ้างอิง: การประชุมความหลากหลายทางชีวภาพ วัฒนธรรมและภูิมปัญญาท้องถิ่นบูรณาการองค์ความรู้สู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืนครั้งที่ 5 (19-20 ธันวาาคม 2559)
อ้างอิง: 2nd International Conference on Herbal and Traditional Medicine (HTM2017) (25-27 January 2017).
อ้างอิง: 8th International Science, Social Science, Engineering and Energy Conference 15th-17th March,2017, The A-ONE Royal Cruise Hotel, Pattaya Beach, Thailand
อ้างอิง: การประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 11 ม.เทคโนโลยีสุรนารี (19-20 ธันวาคม 2560)
อ้างอิง: ประชุมวิชาการโครงการประชุมวิชาการ “พิบูลสงครามวิจัย” ประจำปี พ.ศ. 2560 (23 - 24 มีนาคม 2560)
อ้างอิง: วีรนุช แซํตั้ง นุชนาฎ บุญชู และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. โครงสร้างทางสังคมของแมลงที่ใช้ประโยชน์ในนาข้าวสายพันธุ์ กข 41 ปทุมธานี 80 และพิษณุโลก 2. บทคัดย่อในการประชุมวิชาการระดัลชาติครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. น.154.
อ้างอิง: นุชนาฎ บุญชู, วีรนุช แซ่ตั้ง, กีรติ ตันเรือน และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2560. การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้สารสกัดจากพืชเป็นสารล่อและเหยื่อพิษเพื่อควบคุมแมลงวันผลไม้ในสวนมะม่วง. บทคัดย่อในการประชุมวิชาการระดัลชาติครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. น.179-180.
อ้างอิง: นันทิดา คำศรี, ดุษิตโพธิ์ทอง และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. การสำรวจสัตว์ขาข้อปล้องที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขในพื้นในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. บทคัดย่อในงานประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค เขตสุขภาพที่ 2 ระหว่างวันที่ 27 – 28 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงแรม อมรินทร์ ลากูน จ.พิษณุโลก. น.67
อ้างอิง: ดุษิต โพธิ์ทอง, ณัฐพล จิ๋วพุ่ม, นันทิดา คำศรี และพิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. การประเมินยุงลายพาหะนำโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. บทคัดย่อในงานประชุมวิชาการป้องกันควบคุมโรค เขตสุขภาพที่ 2 ระหว่างวันที่ 27 – 28 กุมภาพันธ์ 2561 ณ โรงแรม อมรินทร์ ลากูน จ.พิษณุโลก. น.75
อ้างอิง: พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, กีรติ ตันเรือน, ยุทธศักดิ์ แช่มมุ่ย, วิษณุ ธงไชย, สุวรรณา ธงไชย และ กัมปนาท สุขนิตย์. 2561. การระบุชนิดทางสัณฐานวิทยาและดีเอ็นเอบาร์โค้ดของเพลี้ยอ่อนในพืชตระกูลถั่ว (Hemiptera: Aphididae). บทคัดย่อในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ครั้ง ที่ 3 และการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น ครั้ง ที่ 4. น.57
อ้างอิง: วิโรจน์ ลิขิตตระกูลวงศ์, สวิตต์ อินทจักร์, ณรกมล เลาห์รอดพันธ์, สุภาวดี แหยมคง, ปุณเรศวร์ รัตนประดิษฐ์, ต๋วน เหงียน ง๊อก, ประภาศิริ ใจผ่อง, พัทนันท์ โกธรรม, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และทศพร อินเจริญ. 2561. การจัดจำแนกไก่ต่อชนิดต่างๆ ในจังหวัดพิษณุโลกจากลักษณะฟีโนไทป์. บทคัดย่อในการประชุมวิชาการระดับชาติคุณภาพของการบริหารจัดการและนวัตกรรม ครั้ง 3 วันที่ 19 พฤษภาคม 2561 มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น อ.เมือง จ.อุบลราชธานี ประเทศไทย. น. 84.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, ละม้าย ทองบุญ, เจษฏ์ เกษตระทัต, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, ศันสรียา วังกุลางกูร, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, วรนพ สุขภารังษี และ Mari Carmen Uribe. 2561 การศึกษาระบบสืบพันธุ์เพศเมียของงูปากกว้างน้าเค็ม Cerberus rynchops จากบริเวณปากแม่น้ำปราณบุรี ประเทศไทย ด้วยเทคนิคมิญชวิทยาและมิญชเคมี. บทคัดย่อ ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยบูรพา. น.174.
อ้างอิง: ศิลปชัย เสนารัตน์, สุชานาถ เบี้ยไคล, เจษฏ์ เกษตระทัต, ศุภลักษณ์ รอดเรืองศรี, สมฤดี จิตประไพ, วรรณีย์ จิรอังกูรสกุล, กรอร วงษ์กำแหง, เอสรา มงคลชัยชนะ, ปิยากร บุญยัง, และ พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ. 2561. หลักฐานทางด้านกระบวนการพัฒนาเซลล์สืบพันธุ์ขั้นสมบูรณ์ของจักจั่นทะเล Emerita taiwanesi Hsueh, 2015: ขั้นแรกสาหรับการศึกษากลวิธีการสืบพันธุ์. บทคัดย่อ ในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล ครั้งที่ 6 มหาวิทยาลัยบูรพา. น.175.
อ้างอิง: Likittrakulwong, W., Yaemkong, S., Jaipong, P., Kotham, P., Laorodphan, N., Tuan, N.N., Poolprasert, P., Charoensook, R. and Incharoen, T. 2018. The Polymorphism of Very Low Density Lipoprotein and Vitellogenin Receptor (VLDL/VTG) Gene in various Chickens breed. Abstract at the Universal Academic Cluster International Spring Conference in Kyoto, 14-16 April 2018. p.13
อ้างอิง: Napiroon, T., Tanruean, K., Bacher, M., Poolprasert, P., Balslev, H. and Santimaleeworagun, W. 2019. Extract fractionation and purification of Lasianthus (Rubiaceae) species related to infection treatment in Thai traditional uses. Abstract in 35th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences (IAMPS35), at EASTIN HOTEL, MAKKASAN, BANGKOK, Thailand (8 March 2019).
อ้างอิง: Torres, J.R.D., Monis, L.L., Aquino-Lopez, A.M.L, Tanruean, K. and Poolprasert, P. 2018. Anti-diarrheal Property of Muntingia calabura Linn. Crude Ethanol Extract in Mice. Abstract in 23rd NATURAL PRODUCTS SOCIETY OF THE PHILIPPINES CONVENTION (6-7 December 2018) Teatro Ilocandia, Mariano Marcos State University Batac, Ilocos Norte http://natprod.org/poster-presentation.
อ้างอิง: เจษฎากร โนอินทร์, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และยุวดี พ่วงรอด. 2562. ความแตกต่างของพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในเขตบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. บทคัดย่อในการประชุ มวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ. 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนทะเลแก้ว).
อ้างอิง: รำไพ โกฎสืบ, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ, วิษณุ ธงไชย, ภรภัทร สำอาง 2562. ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากใบมะฮอกกานีใบใหญ่ต่อการกำจัดเพลี้ยแป้งในมะม่วงน้ำดอกไม้สีทอง. การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี (6 กันยายน 2562)
อ้างอิง: Napiroon T., Duangjai S., Poolprasert P., Tanruean K., Poopath M. and Santimaleeworagun W. Assessing the possibility of candidate DNA barcodes and chemical profiles supporting the systematics of medicinal Lasianthus (Rubiaceae). International Conference on Biodiversity 2019. Centara Grand at Central World, Bangkok, Thailand. p.322.
อ้างอิง: Napiroon, T., Bacher, M., Tanruean, K., Poolprasert, P. and Buathong, R., Poopath, M. and Santimaleeworagun, W. 2020. Chemodiversity assessment of bioactive compounds from medicinal Trema orientalis (Cannabaceae) extracts related to natural habitats aspect. Abstract in the 36th International Annual Meeting in Pharmaceutical Sciences (IAMPS36), at Tawanna Hotel, Bangkok, Thailand. (March 5-6, 2020).
อ้างอิง: Poolprasert, P., Tanruean, K., Napiroon, T. and Berry, G. 2020. Community Structure of Insect and Spider Fauna UtilizibgbRice Field Evosystem in Lower Northern Thailand. Abstract at the 3th National Reseach Conference-CPRU.2020. Research and Innovations for Sustainable and Livable Communities. p.58.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: เสวนาสาธารณะ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล "จริยธรรมการวิจัยกับปัญหาการซื้อขายผลงาน"
อ้างอิง: อบรม จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ (Human Research Ethics) ณ สถาบันพัฒนาบุคลากรแห่งอนาคต สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
อ้างอิง: อบรม จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เบื้องต้น | Basic Human Subject Protection Course (NU042) ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: อบรม ภูมิคุ้มกันวิทยา | Immunology (NU045) ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: อบรม Listening and Speaking for Communication ณ มหาวิทยาลัยมหิดล ( LAEN 262)
อ้างอิง: อบรม Statistics and computational application for social and health research ณ มหาวิทยาลัยมหิดล (AD001)
อ้างอิง: อบรม มหากาพย์ อังกฤษ อัพเกรด: ไวยากรณ์พร้อมรบ (Upgrading your English: Intermediate Grammar) CHULAMOOC1612 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ้างอิง: อบรม การตรวจคุณภาพสมุนไพรด้วยเทคนิค HPTLC HPTLC (HPTLC technique for Herbal Quality Control) CHULAMOOC5006 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ้างอิง: อบรม Active Learning : From Principles to Practice จากทฤษฎีสู่ห้องเรียนจริง ณ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
อ้างอิง: อบรม เศรษฐกิจเกษตร รุ่นที่ 3 (Agricultural Economics) CHULAMOOC3014 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ้างอิง: อบรม กิจกรรมเตรียมความพร้อมบุคลากรเพื่อสหกิจศึกษาและการศึกษาเชิงบูรณาการกับการทำงาน (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE)
อ้างอิง: อบรม ปัญหาพิเศษ | Special Problems (KU011) ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อ้างอิง: อบรม การเลือกวารสารเพื่อตีพิมพ์ผลงานวิจัยและวิชาการ ณ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (NSTDA)
อ้างอิง: อบรม ภาษาอังกฤษฟัง-พูดเชิงวิชาการสำหรับบัณฑิตศึกษา |Academic English Listening and Speaking Skills for Graduate Program (KU006 ) ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อ้างอิง: อบรมสถิติพื้นฐานสำหรับการวิเคราะห์ ข้อมูล-สถิติเชิงพรรณนา | Basic Statistics for Data Analytics – Descriptive Statistics (KMUTT022) ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
อ้างอิง: อบรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร | English for Communication (CMU) ณ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อ้างอิง: อบรม ภาษาอังกฤษสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ (KKU001) ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อ้างอิง: อบรม ทักษะภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ (English for Presentaion Skills) ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อ้างอิง: อบรม ไวยกรณ์ภาษาอังกฤษ (English Grammar) ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อ้างอิง: อบรม การใช้จุลินทรีย์เพื่อการเกษตร RUTS001 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย
อ้างอิง: อบรม Human Subject Protection (HSP) ณ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ Basic Statistical Analysis for New Researchers (SPSS) (Online) ณ ประเทศอินเดีย
อ้างอิง: อบรม Responsible Conduct of Research (RCR) ณ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
อ้างอิง: อบรมหลักสูตร GCP online training (Computer-based) “แนวทางการปฏิบัติการวิจัยทางคลินิกที่ดี (ICH-GCP:E6(R2))”
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: อบรมการใช้งาน Google Workspace for Education รุ่น Teaching and Learning ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: อบรมการวิจัยทางการศึกษา ณ มหาวิทยาลับศิลปกร
อ้างอิง: อบรมสตาร์ทอัพอังกฤษ ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
อ้างอิง: อบรม Thai on Campus CHULAMOOC1201 ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อ้างอิง: อบรม ชีววิทยา (การเคลื่อนที่ของสิ่งสัตว์) ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อ้างอิง: อบรม ชีววิทยา (เทคโนโลยี DNA) ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อ้างอิง: อบรม การประเมินผลตอบแทนทางสังคม (Social Return on Investment หรือ SROI) SROI EP.1 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: ปาฐกถาเรื่อง “การอุดมศึกษาไทยกับความท้าทายหลังวิกฤตโควิด-19” ณ มหาวิทยาลัยมหิดล
อ้างอิง: อบรม How to write English Abstracts ณ มหาวิทยาลัยมหิดล
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: อบรม ง่าย สบาย กับการอธิบายกราฟเป็นภาษาอังกฤษ ณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: Training Workshop on DNA barcoding, Sequence Analyses and Applications in August 20, 2018 at Pibulsongkram Rajabhat University, Phitsanulok, Thailand
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Training Workshop on Reproductive behaviors of broodstock sexually mature in Oryzias latipes, Dania renio and Carassius auratus from October 15, 2017 to October 30, 2017 at Department of Natural Sciences, International Christian University, Tokyo, Japan
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: การอบรมผู้ขอรับใบอนุญาตใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (เลขที่คำขอ: U1-01978-2558)
อ้างอิง: Training Workshop on Integrated Prevention and Control Technology of Diseases and Insect Pests for ASEAN Countries from July 1 2016 to July 20, 2016 at Yunnan Agricultural University (China-ASEAN Education and Training Center)
อ้างอิง: อบรผู้ประเมินคุณภาพภายใน ระดับหลักสูตรของมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: อบรม "สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่" รุ่นที่ 2 ภายใต้สำนักคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม และสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุโขทัย
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: อบรม แนวทางใหม่ในการควบคุมยุงและแมลงพาหะอื่นที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุข ณ อาคารศูนย์ประชุมนานาชาติเอ็มเพรส โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: อบรม Landmarks Based Geometric Morphometrics Training ณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: ดีเอ็นเอบาร์โค้ดในสิ่งมีชีวิตและการประยุกต์ใช้ ณ คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ ม.นเรศวร จ.พิษณุโลก
ชื่อโครงการ: เทคนิคการศึกษาด้านมิญชวิทยาภายใต้กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ณ ม.ราชภัฏนครสวรรค์
ชื่อโครงการ: การปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ โรงเรียนพิษณุโลกพิทยาคม
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อโครงการ: โครงการส่งเสริมระบบเกษตรปลอดสารพิษชุมชนเกษตรบึงพระ อ. เมืองพิษณุโลก จ.พิษณุโลก
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: Diversity of Carterpillsrs along Elevation Gradient in Khao Yai National Park ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน [ปร.ด. (กีฏวิทยา)]
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ประสิทธิภาพของ Vegetative Insecticidal Protein 3 (Vip3) จาก Bacillus thuringiensis Berliner สายพันธุ์ไทยในการควบคุมหนอนกระทู้ผัก (Spodoptera litura Fabricius) ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน [วท.ม. (กีฏวิทยา)]
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: การศึกษาความหลากหลายของแมลงในแปลงอ้อยจังหวัดกำแพงเพชรและจังหวัดลพบุรี ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน [วท.ม. (กีฏวิทยา)]
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: การเปลี่ยนแปลงประชากรเพลี้ยไฟและการประเมินความเสียหายต่อผลผลิตของเมล่อนที่ปลูกในโรงเรือนของเกษตรกร ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ [วท.ม. (กีฏวิทยา)]
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ชีววิทยาและผลของสารกำจัดแมลงต่อตัวอ่อนของแมลงหวี่ขน (Diptera: Psychodidae) ในเขตปริมณฑล ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน [วท.ม. (กีฏวิทยา)]
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ความหลากหลายของแบคทีเรียร่วมอาศัยในเพลี้ยอ่อนถั่ว Aphis craccivora (Hemiptera: Aphididae) บนพืชอาหารที่แตกต่างกัน ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน [วท.ม. (กีฏวิทยา)]
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ผลของชนิดวัชพืชและแหล่งอาหารธรรมชาติต่อชีววิทยาของตัวเต็มวัยแตนเบียน Anagyus lopezi (De Santis) (Hymenoptera: Encyrticdae) ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน [วท.ม. (กีฏวิทยา)]
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: ชีววิทยาและอิทธิพลของแตนเบียนไฮเปอร์ Chartocerus hyalipennis (Hayat) (Hym.: Signiphoridae) และ Prochiloneurus insolitus (Alam) (Hym.: Encyrtidae) ต่อแตนเบียน Anagyrus lopezi (De Santis) (Hym.: Encyrtidae) ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน [วท.
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: การวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมของประชากรผีเสื้อหนอนเจาะสัก, Xyleutes ceramicus Walker, ในภาคเหนือของประเทศไทย ภาควิชากีฏวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน [วท.ม. (กีฏวิทยา)]
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อรางวัล: รางวัลดี การนำเสนอภาคบรรยาย เรื่อง สุขภาวะเซลล์สืบพันธุ์เพศผู้ของสัตว์ทะเลไม่มีกระดูกสันหลังบางชนิดจากบริเวณแหล่งหญ้าทะเลในเกาะลิบง ประเทศไทย จากการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านทรัพยากรธรรมชาติและวิทยาศาสตร์สุขภาพ ครั้งที่ 2 (2nd NACON-NARAHS)
ชื่อรางวัล: รางวัลการนำเสนอดีมาก เรื่อง สมบัติทางกายภาพของการอัดแท่งเป็นเชื้อเพลิงแข็งจากใบกาสะลองเหลือทิ้ง จาก งานประชุมวิชาการประชุมวิชาการระดับชาติ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 1 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
ชื่อรางวัล: รางวัล บทความวิจัยดีเด่น เรื่อง การศึกษาความเป็นไปได้ของการใช้สารสกัดจากใบเตยหอมและถั่วเหลืองฝักสดในการล่อดักจับแมลง ในระบบนิเวศนาข้าว จาก การประชุมวิชาการระดับชาติ "นอร์ทเทิร์นวิจัย" ครั้งที่ 9 ณ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น จ.ตาก
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อรางวัล: รางวัลนำเสนอผลงานวิจัยดีเยี่ยม เรื่อง ประสิทธิศักย์ของสารสกัดหยาบจากใบกระท่อม Mitragyna speciosa Korth. ต่อการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน Aedes aegypti (L). (การประชุมวิชาการระดับชาติ "นอร์ทเทิร์นวิจัย" ครั้งที่ 8 ณ วิทยาลัยนอร์ทเทิร์น)
ชื่อรางวัล: รางวัลบทความวิจัยระดับดี เรื่อง ประสิทธิศักย์ของสารสกัดหยาบจากใบกระท่อม Mitragyna speciosa Korth. ต่อการควบคุมลูกน้ำยุงลายบ้าน Aedes aegypti (L). โดยวิทยาลัยนอร์ทเทิร์น
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุุคลากรดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2565 ด้านการจัดการเรียนการสอนดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลชมเชย เรื่อง ผลของสารสกัดจากใบกระท่อม Mitragyna speciosa Korth. ต่อการตายของลูกน้ำยุงลายบ้าน Aedes aegypti (L). (โครงการนิทรรศการ "วิทยาศาสตร์วิชาการ" ภาคต้น ประจำปีการศึกษา 2565)
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรบุคลากรที่มีผลงานดีเด่นด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2564 ประเภทรางวัลนักวิจัยดีเด่นสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
ชื่อรางวัล: รางวัลระดับชมเชย เรื่อง ลำดับนิวคลีโอไทด์บางส่วนของยีน COI ในไมโทคอนเดรียเพื่อการยืนยันชนิดของผีเสื้อแต้มแสดธรรมดา Drupadia davindra Horsfield, 1829 และมิญชวิทยาเพื่อเปิดเผยลักษณะทางโครงสร้างของระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก (การประชุมวิชาการเกษตร มข.)
ชื่อรางวัล: รางวัลนำเสนอผลงานวิจัยดีเยี่ยม เรื่อง โครงสร้างทางชุมนุมของแมลงและแมงมุมที่ใช้ประโยชน์ในระบบนิเวศนาข้าวในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย (การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้ง ที่ 3 ม.ราชภัฏชัยภูมิ)
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2563 ประเภทการวิจัยดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (สโมสรโรตารี พิษณุโลก)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุุคลากรดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2563 ประเภทผลงานวิจัยดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่อรางวัล: รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นของโรงเรียนอรุณวิทยา ประจำปี 2562 ประเภท ศิษย์เก่าดีเด่นรุ่นใหม่
ชื่อรางวัล: รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการขอรับทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ประจำปี พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลโปสเตอร์ดีเด่นจากการประชุมวิชาการนานาชาติ (The International Conference on Biodiversity (IBD2019) ระหว่างวันที่ 22-24 พฤษภาคม 2562 เรื่อง "Assessing the possibility of candidate DNA barcodes and chemical profiles supporting the systematics of medici
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2561 ประเภทการวิจัยดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรดีเด่นประเภทการวิจัยดีเด่น ประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มูลนิธิรองศาสตราจารย์ ดร.มังกร ทองสุขดี)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อรางวัล: รางวัลผลงานวิจัยดีมาก เรื่องความหลากชนิดและดีเอ็นเอบาร์โค้ดของเพลี้ยอ่อนพืชตระกูลถั่ว ในภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย (นำเสนอแบบโปสเตอร์) จากการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 5 (สำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรบุคลากรที่มีผลงานดีเด่นด้านการวิจัยและการบริการวิชาการ ประจำปี พ.ศ. 2560 ประเภท รางวัลนักวิจัยดีเด่นด้านการตีพิมพ์ผลงานวิจัยระดับชาติที่มีค่าอ้างอิงรวมสูงสุด มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2559 ประเภทการวิจัยดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรดีเด่นประเภทการวิจัยดีเด่น ประจำปี 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มูลนิธิรองศาสตราจารย์ ดร.มังกร ทองสุขดี)
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรที่มีผลงานดีเด่นด้านการวิจัยและบริการวิชาการ ประจำปี 2558 ประเภทผลงานตีพิมพ์ในฐานข้อมูล SJR มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรดีเด่นด้านการวิจัยประเภทผลงานวิจัยที่มีองค์ความรู้ใหม่สามารถนำไปต่อยอดงานวิจัยใหม่ และตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ ประจำปี 2557 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลโปสเตอร์ชมเชยจากการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 (อนุกรมวิธานและซิสเทมสติคส์ในประเทศไทย) ระหว่างวันที่ 23–25 พฤษภาคม 2557 เรื่อง “โครงสร้างและการจำแนกเซลล์ประสาทของผีเสื้อหนอนคูนธรรมธดา Catopsilla pomana (Fabricius, 1758)” ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปี พ.ศ. 2556 (2013)
ชื่อรางวัล: รางวัลผลงานวิจัยดีมาก เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพและนิเวศวิทยาของแมลงปั่นใยในภาคเหนือตอนล่าของประเทศไทย (นำเสนอแบบปากเปล่า) จากการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 2 (สำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา)
ชื่อรางวัล: รางวัลยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2556 ประเภทการวิจัยดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ชื่อรางวัล: รางวัลบุคลากรดีเด่นประจำปี 2556 ด้านการวิจัยดีเด่น สาขาชีววิทยา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (มูลนิธิรองศาสตราจารย์ ดร.มังกร ทองสุขดี)
ชื่อรางวัล: รางวัลโปสเตอร์ชมเชยจากการประชุมวิชาการนานาชาติครั้งที่ 1 (The 1st Nong Khai Campus international Conference 2013) ระหว่างวันที่ 18-19 กรกฏาคม 2556 เรื่อง “Histological and histochemical identification of Catopsila pamona (Fabricius, 1758) reproductive sys
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
ชื่อสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร: วิรัชยา อินทะกันฑ์, จิราพัทธ์ แก้วศรีทอง, กีรติญา สอนเนย, กุลชญา สิ่วหงวน, วันเพ็ญ ตรงต่อกิจ. กีรติ ตันเรือน, พิสิษฐ์ พูลประเสริฐ และเรืองวุฒิ ชุติมา. (2565). สูตรบราวนี่กรอบจากแป้งข้าวหอมมะลิท่อนและกรรมวิธีการผลิต. สิทธิบัตรไทย เลขที่ 19891.
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.