|
|
|
ชื่อ-นามสกุล |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พัทวัฒน์ สีขาว Asst. Prof. Dr. Pattawat Seekhaw |
ตำแหน่ง: ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
สังกัดหน่วยงาน:
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี |
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน:
- |
อีเมล์: pattawat.s@psru.ac.th |
|
|
|
|
|
ลำดับการศึกษา |
วุฒิการศึกษา |
สถาบันการศึกษา |
ปีการศึกษาที่จบ |
1 |
ปร.ด. (เคมี) |
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
2560 |
2 |
วท.ม. (เคมีประยุกต์) |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
2553 |
3 |
วท.บ. (เคมี) |
มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
2548 |
|
|
|
|
|
เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, การแยกวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีจากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ, สังเคราะห์ปรับเปลี่ยนโครงสร้างสารจากธรรมชาติ, การย้อมสีธรรมชาติ, การพัฒนาผลิตภัณฑ์โภชนเภสัชและเครื่องสำอาง |
|
|
|
|
Chemistry and Applied Chemistry |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
อริศรา ศรีรักษา และพัทวัฒน์ สีขุาว (2567). การเปรียบเทียบสารพฤกษเคมีและความสามารถ ในการต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดเอทานอลจากส่วนต่าง ๆ ของเนียมอุ้มผาง.วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 32(2),1-12.Retieved from https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tstj/article/view/260507/178159 |
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว, พัทวัฒน์ สีขาว, หนึ่งฤทัย เนื้อไม้หอม, นฤมล พรมลา, นุสรินทร์ สุคนธภักดี, ครรชิต ณ วิเชียร, เสาวลักษณ์ อยู่เพชร และ อรัญญา จุติวิบูลย์สุข (2565). การศึกษาเฉดสีและความคงทนของการย้อมสีธรรมชาติจากใบมะยงชิดบนเส้นใยไหมและฝ้าย. PSRU J. Sci. Tech. 7(2). |
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว, หนึ่งฤทัย เนื้อไม้หอม, นฤมล พรมลา, ครรชิต ณ วิเชียร, และ อรัญญา จุติวิบูลย์สุข. (2565). การศึกษาสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ความเป็นพิษเฉียบพลันต่อการระคายเคืองและการกัดกร่อนของผิวหนังในกระต่ายจากสารสกัดน้ำย้อมสีใบมะยงชิด. PSRU J. Sci. Tech. 7(1), 117-128. |
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว, โสธิดา ราชอินตา, นฤมล เถื่อนกูล, และ ปณิธาน สุระยศ. (2563). การตรวจหาปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของเห็ดป่าบริโภคได้ สี่ชนิดจากตลาดชุมชนในจังหวัดเลย. PSRU J. Sci. Tech. 5(3), 61-74. |
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว, เรณุกา เชื้อบุญมี, ปณิธาน สุระยศ, สาธิต ฉัตรพันธุ์ และ นฤมล เถื่อนกูล. (2563). การประเมินสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านจุลชีพจากสารสกัดเอทานอลของผล ตะขบปา่ . RJ-RMUTT. 19(1), 124-134. |
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว, โสธิดา ราชอินตา, นฤมล เถื่อนกูล, และ ปณิธาน สุระยศ. (2563). การตรวจหาปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวม ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของเห็ดป่าบริโภคได้สี่ชนิดจากตลาดชุมชนในจังหวัดเลย. PSRU J. Sci. Tech. 5(3), 61-74. |
|
|
อ้างอิง: |
Surayod P. and Seekhaw P. (2018). Phytochemical screening, determination of total phenolic and flavonoid contents and antioxidant activities from Crateva magna (Lour.) DC. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences. |
|
- |
|
|
|
|
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ |
|
|
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว* พลอยชมพู คำบุญ อริศรา ศรีรักษา และหนึ่งฤทัย เนื้อไม้หอม. (2566). การพัฒนาการ
เตรียมสีผงจากใบและกิ่งมะยงชิดโดยใช้วิธีการดูดซับด้วยเกลือ. รายงานสืบเนื่องจากงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 5. วันที่ 9 มีนาคม 2566 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. หน้า 166-172.
|
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว* อริศรา ศรีรักษา พลอยชมพู คำบุญ และ หนึ่งฤทัย เนื้อไม้หอม. (2566). การศึกษาสี
ย้อมธรรมชาติจากกิ่งมะยงชิดโดยใช้สารส้ม น้ำปูนใส และเหล็กเป็นสารช่วยติดสีบนเส้นใยไหมและฝ้าย. รายงานสืบเนื่องจากงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 5. วันที่ 9 มีนาคม 2566 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.หน้า 332 -345.
|
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์สีขาว*ณัฐพงศ์ ลำขวัญ หนึ่งฤทัย เนื้อไม้หอม อริศรา ศรีรักษา และพลอยชมพู คำบุญ.
(2566). สารพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์รวม และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบเมล็ดมะยงชิด. รายงานสืบเนื่องจากงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 5. วันที่ 9 มีนาคม 2566 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย.หน้า 46-56.
|
|
|
อ้างอิง: |
พัทวัฒน์ สีขาว และครรชิต ณ วิเชียร. (2565). สารพฤกษเคมีเบื้องต้น ปริมาณฟีนอลิกและฟลาโว
นอยด์รวม และฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ จากสารสกัดเอทานอลของเห็ดนมเสือ. รายงานสืบเนื่องจากงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ครั้งที่ 5. วันที่ 19 สิงหาคม 2565 ณ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. หน้า 340-348.
|
|
|
อ้างอิง: |
ศิริลักษณ์ อินสิทธิ์ นฤมล เถื่อนกูล ปณิธาน สุระยศ กาญจนา ธนนพคุณ และพัทวัฒน์ สีขาว.
2563. สารพฤกษเคมีและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของกระชายเหลืองจากป่ากกสะทอน อ าเภอด่านซ้าย จังหวัด เลย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6. วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563. ณ มหาวทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 855-863.
|
|
|
อ้างอิง: |
สายฝน คำขาว นฤมล เถื่อนกูล ปณิธาน สุระยศ กาญจนา ธนนพคุณ และพัทวัฒน์ สีขาว. 2563. การ ตรวจหาสารพฤกษเคมีเบื้องต้น ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และฤทธิ์ต้านแบคทีเรียจากสารสกัดใบตะขบป่า. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัยครั้งที่ 6. วันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2563. ณ มหาวทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 837-845. |
|
|
อ้างอิง: |
โสธิดา ราชอินตา และพัทวัฒน์ สีขาว (2560). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณฟีนอลิกและฟลาโวนอยด์ รวมของสารสกัดเอทานอลของร าข้าวลืมผัว. Proceedings การประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัย ราชภัฏกลุ่มศรีอยุธยาครั้งที่ 10, 4 – 5 กรกฎาคม 2562. หน้า 303-306. |
|
-
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
ผู้ร่วมวิจัย โครงการ องค์ประกอบทางเคมี ฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์ต้านจุลชีพของสารสกัดต้นหม่อนที่มีคุณสมบัติต้านกลิ่นแก่ในผู้สูงอายุ (อว. 67) |
|
|
อ้างอิง: |
การพัฒนาสารสกัดเข้มข้นจากกิ่งมะยงชิดเพื่อใช้ในผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง (FF 67) |
|
|
อ้างอิง: |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเพื่อสุขภาพมูลค่าสูงจากน้ำมันเมล็ดมะไฟสุ่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (กองทุน มรพส. 66) |
|
|
อ้างอิง: |
การสร้างมุลค่าเพิ่มให้กับมะไฟสู่ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง (FF 66) |
|
|
อ้างอิง: |
การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสารสกัดเมล็ด มะยงชิด (กองทุน มรพส. 65) |
|
|
อ้างอิง: |
การพัฒนาผลิตภัณฑ์นวอัตลักษณ์เครื่องสำอางจากใบมะยงชิดเพื่อสร้างสรรค์คุณค่าเอกลักษณ์ท้องถิ่นและเศรษฐกิจสังคมไทย (FF 65) |
|
|
อ้างอิง: |
การสร้างอัตลักษณ์และเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ผ้าทอย้อมสีจากใบมะยงชิดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนนวัตวิถีในจังหวัดสุโขทัยสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ([บพข 63) |
|
|
อ้างอิง: |
พฤกษเคมีและฤทธิ์ทางชีวภาพของผลตะขบป่า (กองทุน มรพส 62) |
|
|
|
|
|
|
|
อ้างอิง: |
หลักสูตร CTO MASTERCLASS (Chief Technology Officer)
จัดโดย Organic Tech Accelerator Platform (OTAP)
- มหาวิทยาลัยนเรศวร |
|
|
อ้างอิง: |
พัฒนาบุคลากรวิจัยและนวัตกรรม ด้านจริยธรรมการวิจัย (Research Integrity) จัดโดย ส่วนบริหารงานวิจัยมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง |
|
|
อ้างอิง: |
หลักสูตรการจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) รุ่น มรพส#4 |
|
|
อ้างอิง: |
การจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE รุ่น มรพส#4 |
|
|
อ้างอิง: |
การยกระดับพืชสมุนไพรไทย เพื่อเข้าอุสาหกรรมอาหารฟังก์ชั่นและส่วนผสมอาหารฟังก์ชั่น |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมเชิงปฏิบัติการการจัดทำโครงการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว และเศรษฐกิจสร้างสรรค์โดยใช้งานวิจัยและนวัตกรรมเป็นฐานเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ |
|
|
อ้างอิง: |
การอบรมแนวทางการขับเคลื่อนความปลอดภัยสำหรับห้องปฏิบัติการที่ต้องการยกระดับความปลอดภัยห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ESPReL |
|
|
อ้างอิง: |
หลักสูตรการพัฒนาผู้เชี่ยวชาญของสถาบันอุดมศึกษารองรับการเคลื่อนย้ายบุคลากรเพื่อพัฒนาศักยภาพการวิจัยในภาคอุตสาหกรรม (TM2023 - Track 2.1) |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมการเพิ่มศักยภาพและมาตรฐานบุคลากรอุดมศึกษา: บ่มเพาะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักบริการวิชาการรับใช้สังคม |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักบริการวิชาการสู่นักวิจัยรับใช้สังคม |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะ
กระบวนการจัดการเรียนการสอน และการนิเทศหลักสูตรอิงสมรรถนะ |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาชีพครู/การปฏิบัติ
หน้าที่อาจารย์นิเทศสำหรับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู |
|
|
อ้างอิง: |
อบรมเชิงปฏิบัติการ ยกร่างการยื่นจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาและศึกษาข้อมูลสารสนเทศในท้องถิ่น |
|
|
อ้างอิง: |
ยกร่างการยื่นจดทะเบียนทรัพยืสินทางปัญญาและศึกษาข้อมูลสารสนเทศในท้องถิ่น (IP รุ่นที่ 2) |
|
|
อ้างอิง: |
แนวปฏิบัติและกฏหมายทรัพย์สินทางปัญญาที่นักวิจัยควรรู้ เมื่อทำวิจัยโดยใช้พืชและทรัพยากรชีวภาพ |
|
|
อ้างอิง: |
อบรม เทคนิคนิคการเขียนยกร่างคำขอรับสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรและลิขสิทธิ์ เพื่อขอรับความคุ้มครองจากกรมทรัพยืสินทางปัญญา |
|
|
|
|
|
|
|
ชื่อโครงการ: |
โครงการ U2T for ฺBCG ตำบลบ้านตึก อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย |
|
|
|
|
|
|
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล |
|
|
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเป็นผู้ประกอบการสำหรับอาจารย์และนักศึกษาสาขาคณิตศาสตร์ |
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร/กรรมการ กิจกรรมการนำเสนอโครงาน รายวิชาโครงานวิทยาศาสตรื 2 นักเรียนห้องพิเศษ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จ.พิษณุโลก |
|
|
ชื่อโครงการ: |
ที่ปรึกษาโครงงาน เรื่อง สืบสานภูมิปัญญาผ้าฝ้ายย้อมดินร่วมกับสีธรรมชาติเพื่อพัฒนาเฉดสีผ้าฝ้ายย้อมดินบ้านวังหาด อ.บ้านด่านลานหอย จ.สโขทัย โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม |
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร โครงการพัฒนาและยกระดับผู้ประกอบการธุรกิจสำหรับนักศึกษาและศิษย์เก่า ม.ราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร/กรรมการ กิจกรรมการนำเสนอโครงงานในระยะที่ 2 รายวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 2 นักเรียนห้องเรียนพิเศษโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาภาคเหนือ จังหวัดพิษณูโลก |
|
|
ชื่อโครงการ: |
ทีปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง (EM) สารชีวภาพกำจััดหอยทากและแมงศัตรูพืช วิทยาลัยอาชีวศึกษาพิษณุโลก |
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากรการนำเสนอโครงงานนักเรียนห้องเรียนพิเศษโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ จังหวัดพิษณุโลก |
|
|
ชื่อโครงการ: |
การบ่มเพาะธุรกิจประจำ TOR 2566 ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์จากมะขาม ในระดับ Pre-Incubation |
|
|
ชื่อโครงการ: |
การบ่มเพาะธุรกิจประจำ TOR 2566 ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าจากผ้าทอย้อมสีจากใบมะยงชิด ในระดับ Pre-Incubation |
|
|
ชื่อโครงการ: |
การบ่มเพาะธุรกิจประจำ TOR 2566 ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์เซรั่มจับเต่า ในระดับ Pre-Incubation |
|
|
ชื่อโครงการ: |
การบ่มเพาะธุรกิจประจำ TOR 2566 ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์สเปรย์ทำความสะอาดสัตว์เลี้ยง ในระดับ Startup |
|
|
ชื่อโครงการ: |
การบ่มเพาะธุรกิจประจำ TOR 2566 ผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์แปรรูปจากจระเข้ ในระดับ Pre-Incubation |
|
|
ชื่อโครงการ: |
การบ่มเพาะธุรกิจประจำ TOR 2566 ผู้ประกอบการสบู่ Elfin จากเปลือกกล้วยในระดับ Startup |
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร "การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยการย้อมสีจากดินและวัสดุธรรมชาติพื้นถิ่น" จัดโดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
ชื่อโครงการ: |
การบ่มเพาะผู้ประกอบการธุรกิจผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอางแปรรูปจากสมุนไพร
|
|
|
ชื่อโครงการ: |
ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมผลิตภัณฑ์แผ่นปิดแผลไคโตซานจากเปลือกหอยขมที่มีส่วนผสมจากสมุนไพร โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร |
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร "วิเคราะห์ข้อมูลทุนชุมชนและองค์ความรู้ด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมเพื่อยกระดับเส้นทางการท่องเที่ยวชุมชนร่วมกับนักวิจัย อบต.ฯลฯ" จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม |
|
|
ชื่อโครงการ: |
วิทยากร "การใช้ประโยชน์จากพืชสมุนไพร" |
|
|
ชื่อโครงการ: |
ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ เจลไล่มดจากน้ำมันเปลือกส้มโอ,
การศึกษาประสิทธิภาพของสารช่วยติดในการย้อมฝ้าย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร
|
|
|
|
|
|
|
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน |
|
|
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ. 2567 "การวิจัยและนวัตกรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน" |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
กรรมการสอบป้องกันรายวิชาการค้นคว้าอิสระหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์เครื่องสำอาง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
กรรมการตัดสินโครงงานคุณธรรม โรงเรียนพุทธชินราชพิทยา |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความ การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 8 "การวิจัย และนวัตกรรรมสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน" |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย วารสารวิชชา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
คณะกรรมการประเมินผลการพัฒนาตามข้อตกลง(Performance Agreement: PA) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ พิษณุโลก ประจำปี 2566 |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความวิจัย วารสาร PSRU Journal of Science and Technology |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
คณะกรรมการประเมินผลการพัฒนาตามข้อตกลง(Performance Agreement: PA) โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ภาคเหนือ พิษณุโลก ประจำปี 2565 |
|
|
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: |
ผู้ทรงคุณวุฒิติดตามการดำเนินงานโครงการส่งเสริมบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมจาก
มหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยของภาครัฐไปปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันใน
ภาคเอกชน (Talent Mobility) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ |
|
|
|
|
|
|
|
ชื่อหนังสือ: |
เอกสารประกอบการสอน เคมีอินทรีย์พื้นฐาน |
|
|
|
|
|
|
|
ชื่อรางวัล: |
รางวัลเหรียญทองแดง ผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา “อาจารย์ที่ปรึกษา ผลิตภัณฑ์เจลแต้มสิวจากสารสกัดเมล็ดมะยงชิด” ในการประกวดผลงานนวัตกรรมสายอุดมศึกษา ประจำปี 2567 จัดโดย วช. |
|
|
ชื่อรางวัล: |
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 โครงการ Pitching Contes ภายใต้แนวคิดชุมชนสีเขียว เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อาจารยืที่ปรึกษา "ผลิตภัณฑ์เจลแต้มสิวจากสารสกัดเมล็ดมะยงชิด" |
|
|
ชื่อรางวัล: |
รางวัลชนะเลิศ โครงการ Pitching Contes ภายใต้แนวคิดชุมชนสีเขียว เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน จัดโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ อาจารย์ที่ปรึกษา ผลิตภัณฑ์ Aroma Sleeping Care Spray" |
|
|
ชื่อรางวัล: |
รางวัลการนำเสนอแนวคิดนวัตกรรมที่โดดเด่นระดับ 3 ดาว (อาจารย์ที่ปรึกษา ผลิตภัณฑ์: BANA BRAIN) กิจกรรมการเพิ่มศักยภาพและมาตรฐานบุคลากรอุดมศึกษา: บ่มเพาะและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม ในงาน ‘’วันนักประดิษฐ์’’ 2566 จัดโดย วช. |
|
|
ชื่อรางวัล: |
อาจารย์ที่ปรึกษาดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2565 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบุลสงคราม
|
|
|
ชื่อรางวัล: |
ผลิตภัณฑ์กล้วยน้ำว้าสุกอัดเม็ดผสมสารบำรุงสมอง ได้รับรางวัลในการแข่งขัน Smart Start Idea by GSB Startup ภายใต้โครงการ GSB Micropreneur Academyประจำปี 2565 รอบ 25 สุดท้ายผลงานระดับประเทศ (ที่ปรึกษา) |
|
|
|
|
|
|
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง |
|
|
|
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ |
|
|
|
|