ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. วนารัตน์ จุฬพันธ์ทอง  
  Dr. Wanarat Juraphanthong
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: wanarat.j@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2563
2 วท.ม. (เทคโนโลยีสารสนเทศ) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2558
3 วศ.บ. (วิศวกรรมคอมพิวเตอร์) มหาวิทยาลัยนเรศวร 2553
 
ความเชี่ยวชาญ
Machine Learning, Cryptography
 
ความสนใจ
Big Data, Machine Learning, Artificial Intelligence, Cryptography, Data Analytics
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: Juraphanthong, W. and Kesorn, K. (2024). The Intelligent Approach of Auto-Regressive Integrated Moving Average with eXogenous Semantic (ARIMAXS) Variables for COVID-19 Incidence Prediction. ICIC Express Letters, Part B: Applications, 15(2), 207-216.
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: Juraphanthong, W. and Kesorn, K. (2021). Time series data enrichment using semantic information for dengue incidence forecasting. Science, Engineering and Health Studies, 15, 21050013.
ปี พ.ศ. 2563 (2020)
อ้างอิง: Juraphanthong, W. and Jitprapaikulsarn, S. (2020). An asymmetric cryptography using Gaussian integers. Engineering and Applied Science Research Journal, 47(2), 153-160.
อ้างอิง: วนารัตน์ จุฬพันธ์ทอง และ สุรเดช จิตประไพกุลศาล. (2563). แนวทางการใช้จำนวนเต็มเกาส์เซียนกับวิทยาการเข้ารหัสลับอสมมาตรแบบคลาสสิกและแบบหลังควอนตัม. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและวิศวกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 2(2), 1-12.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: Kesorn, K., Juraphanthong, W. and Salaiwarakul, A. (2017). Personalized Attraction Recommendation System for Tourists Through Check-In Data. IEEE Access, 5, 26703–26721.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: วนารัตน์ จุฬพันธ์ทอง และ ไกรศักดิ์ เกษร. (2558). ระบบแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวโดยใช้ข้อมูลจากเครือข่ายสังคม. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 20(1), 209-226.
ปี พ.ศ. 2557 (2014)
อ้างอิง: วนารัตน์ จุฬพันธ์ทอง และ ไกรศักดิ์ เกษร. (2557). ทบทวนวิธีการสร้างแบบจำลองผู้ใช้และการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายสังคม. วารสารวิทยาศาสตร์ มศว, 30(1), 210-228.
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: วนารัตน์ จุฬพันธ์ทอง, สุรเดช จิตประไพกุลศาล และไพศาล มุณีสว่าง. (2559). การพัฒนาระบบฝึกภาษามือไทยด้วยอุปกรณ์เซนเซอร์เพื่อตรวจสอบการเคลื่อนไหวไคเนค. การประชุมวิชาการระดับชาติ สังคมความรู้และดิจิทัล ครั้งที่ 2, 17-18 พฤศจิกายน 2559, มหาวิทยาลัยศรีปทุม, กรุงเทพฯ.
ปี พ.ศ. 2558 (2015)
อ้างอิง: W. Juraphanthong and K. Kesorn. 2015. Extrapolating Tourist Interests Model Using Social Network Services. The International Conference on Tourism Transport and Technology, 1-4 July 2015, Toronto, Canada.
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: Juraphanthong, W and Kesorn, K (2023, August 30). The Intelligent Approach of Auto-Regressive Integrated Moving Average with eXogenous Semantic (ARIMAXS) Variables for COVID-19 Incidence Prediction. The 17th International Conference on Innovative Computing, Information and Control (ICICIC2023). Symposium conducted at the meeting of ICIC International, Tokai University, and Engineering Academy of Japan, Kumamoto, Japan. [http://www.icicconference.org/icicic2023/]
ไม่ระบุปีในระบบภาระงานสายวิชาการ
อ้างอิง: Juraphanthong, W and Kesorn, K.(2021, February 25-26). Time Series Data Enrichment using Semantic Information for Dengue Incidence Forecasting[Paper presentation]. The 2nd Asia Joint Conference on Computing (AJCC 2021), Hua Hin, Thailand. https://www.ajcc-conf.net/schedules/
อ้างอิง: Juraphanthong, W and Kesorn, K. (2021, February 25–26). Time Series Data Enrichment using Semantic Information for Dengue Incidence Forecasting [Conference presentation]. The 2nd Asia Joint Conference on Computing (AJCC 2021), Hua Hin, Thailand.
 
งานวิจัยสถาบัน
-
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2567 (2024)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ การประเมินผลกระทบทางสังคม และการประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (Social Impact Assessment (SIA) and Social Return on Investment (SROI) จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการการเขียนเส้นทางสู่ผลกระทบของโครงการ (Impact Pathway) จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ ถอดบทเรียน "AUN-QA implementation and Gap Analysis" จัดโดยกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การอบรม "Cloud Native Application" จัดโดยภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อ้างอิง: การอบรม "Google Cloud Fundamentals : Core Infrastructure" จัดโดย Cloud Ace Thailand
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการ "เทคนิคและแนวทางการนำเอาเกณฑ์ EdPEx สู่การปฏิบัติ" จัดโดยกองนโยบายและแผน มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การอบรม "การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วย Flutter" จัดโดยสถาบันเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: หลักสูตร "คณาจารย์นิเทศและผู้นิเทศ CWIE และผู้ปฏิบัติงาน CWIE ในสถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบการ" รุ่นที่ 3 จัดโดย สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ "ด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์" รุ่นที่ 3 จัดโดย สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)
อ้างอิง: หลักสูตร "การพัฒนาผู้บริหารจัดการงานวิจัย เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การวิจัยของมหาวิทยาลัย" จัดโดยความร่วมมือของที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏและสถาบันคลังสมองของชาติ
อ้างอิง: การอบรมการเขียนข้อเสนอโครงการ Pre-Talent Mobility โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อ้างอิง: การอบรมหลักสูตรการจัดทำหลักสูตรตามแนวทาง OBE จัดโดยที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.)
อ้างอิง: การอบรมหลักสูตรการจัดทำผลการเรียนรู้ระดับรายวิชา (CLOs Formulation) จัดโดยที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.)
อ้างอิง: การอบรมวิธีการประเมิน ปรับปรุง และสร้างความสอดคล้องด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ด้วยดัชนีวัดระดับความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (National Cybersecurity Rating Index: NCRI) จัดโดย สํานักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (สกมช.)
อ้างอิง: การอบรม "การสร้าง APIs with Spring Boot" จัดโดยสถาบันเทคโนโลยีดิจิทัล มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการเขียนตำรา หนังสือ และบทความวิจัย สำหรับการเสนอขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ปี พ.ศ. 2564 (2021)
อ้างอิง: โครงการอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่) รุ่นที่ 8 โดย สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ หน่วยงานมหาวิทยาลัยนเรศวร
 
โครงการบริการวิชาการ
-
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
-
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
-
 
หนังสือแต่ง
-
 
รางวัล
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อรางวัล: Best Paper Award จาก การประชุมวิชาการระดับชาติ สังคมความรู้และดิจิทัล ครั้งที่ 2 นำเสนองานวิจัยเรื่อง "การพัฒนาระบบฝึกภาษามือไทยด้วยอุปกรณ์เซนเซอร์เพื่อตรวจสอบการเคลื่อนไหวไคเนค"
ชื่อรางวัล: รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น (รางวัลประกาศเกียรติคุณ) ประจำปี 2559 จาก สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดยเป็นผู้ร่วมวิจัยในผลงาน เรื่อง "ระบบให้บริการข้อมูลการเดินทางเฉพาะบุคคลสำหรับการท่องเที่ยวไทย: PTIS"
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: CompTIA Security+
ชื่อใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง: IC3 Digital Literacy Master (GS6 Level 1-3)
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
-
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.