ชื่อ-นามสกุล
  อาจารย์ ดร. อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล  
  Dr. Attachon Sajjaphatanakul
ตำแหน่ง: อาจารย์
สังกัดหน่วยงาน: คณะครุศาสตร์
หมายเลขโทรศัพท์ภายใน: -
อีเมล์: apaichon.s@psru.ac.th
 
 
 
 
การศึกษา
ลำดับการศึกษา วุฒิการศึกษา สถาบันการศึกษา ปีการศึกษาที่จบ
1 ปร.ด. (การศึกษา(สังคมศึกษา)) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2561
2 ค.ม. (การสอนสังคมศึกษา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2555
3 ศศ.บ. (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2550
 
ความเชี่ยวชาญ
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่, Social Studies, citizenship Education, Education for Sustainable Development, Environmental Education, History, สังคมศึกษา, การสอนประวัติศาสตร์, การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง, ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์, พลเมืองศึกษา
 
ความสนใจ
Educational Studies, สังคมศาสตร์, Environmental History, education social development, Critical Theory and Critical Social Research Methods, Education for Sustainable Development, พลเมืองศึกษา
 
บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Attachon Sajjaphatanakul.(2022). The Development of Learning Management Model to Promote Media, Information and Digital Literacy of Citizenship Competencies for Undergraduate Students in Democratic Citizenship Education Course. Vol. 8 No. 2 (2022): Journal of Human Rights and Peace Studies (TCI2) Retrieved from https://so03.tci-thaijo.org/index.php/HRPS/article/view/260514
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล และอัฐณีญา สัจจะพัฒนกุล.(2562). "สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน:เตรียมพลเมืองเพื่อสร้างสรรค์ชุมชนน่าอยู่อย่างมีส่วนร่วมผ่านหลักสูตรวิชาสังคมศึกษาเชิงพื้นที่." วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2562. หน้า 206 – 221
อ้างอิง: Apaichon Sajjaphatanakul and Charin Mangkhang.The Scenario of Future Environmental History Instruction to Develop Sustainable Global Citizenship in Thailand. Humanities, Arts and Social Sciences Studies (HASSS). Volume 19, Number 2 (May-August), 2019 ตีพิมพ์ในฐาน SCOPUS เข้าถึงใน https://www.tci-thaijo.org/index.php/hasss/article/view/98407/141809
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: ประวัติศาสตร์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน: การเรียนรู้สู่การสร้างพลเมืองที่มุ่งเน้นความเป็นธรรมทางสังคมและสิ่งแวดล้อมในบริบทไทย ; Environmental History for Sustainable Development: Learning Towards Preparing Social and Eco-Justice Oriented Citizen in Thai Context. ตีพิมพ์ใน วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม (TCI ฐานที่ 1) เข้าถึงใน https://tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/132682/118114
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: มโนทัศน์ “ความเป็นไทย” ในวิชาสังคมศึกษา: การเปลี่ยนผ่านบนพื้นที่เชิงอำนาจในสังคมยุคหลังสมัยใหม่; The Concept of Thainess in Social Studies Subjects: Decentralization of Power in the Age of Postmodernity (ตีพิมพ์ในวารสารอารยธรรมศึกษาโขง - สาละวิน TCI ฐานที่ 1) เข้าถึงใน https://tci-thaijo.org/index.php/jnuks/article/view/79970
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: การศึกษาเพื่อพัฒนาความเป็นพลเมืองสู่การสร้างเมืองน่าอยู่อย่างมีส่วนร่วมผ่านหลักสูตรท้องถิ่น: เรื่องเล่าจากพื้นที่คลองหกวา จังหวัดปทุมธานี; Education for Citizenship and Participatory Building Through Local/Area Based Curriculum: Reflection from Klong Hok Wa, Phatum Thani Province ตีพิมพ์ใน วารสารสิทธิ์ vol 2-2 - (IHRP), Mahidol University มหาวิทยาลัยมหิดล เข้าถึงใน http://www.ihrp.mahidol.ac.th/download/Journal2-2/Vol.2.2%20198-219.pdf
-
 
บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานประชุมวิชาการ
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อัฐณีญา สัจจะพัฒนกุล และอรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล. (2562). การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ "โรงเรียนสร้างพลเมืองรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล" ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย: การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของโณงเรียนในระดับปฐมวัย - มัธยมศึกษาตอนต้น. นำเสนอในงานประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 ถักทองานวิจัยท้องถิ่นก้าวไกลสู่สากล ระหว่างวันที่ 6 - 7 สิงหาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ประเทศไทย.
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: "การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองผ่านประเด็นเรื่องความมั่นคงทางอาหาร: การเตรียมวิธีคิดเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอย่างยืนของเด็กและเยาวชน" นำเสนอบทความวิจัยในการประชุมวิชาการทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 12 “อยู่ดี กินดี มีสุข มิติทางสังคมและวัฒนธรรมของสุขภาพ” ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน) วันที่ 21-23 มิถุนายน 2560
อ้างอิง: Papers’ presentation Topic “The Scenario of Future Environmental History Instruction to Develop Sustainable Global Citizenship”, "Education and Citizenship” International Conference on International Relations and Development, ICIRD 24 June2017 09:45-16:00 Faculty of Political Science, Room 103 Thammasat University, Tha Prachan
-
 
งานวิจัยสถาบัน
ปี พ.ศ. 2565 (2022)
อ้างอิง: Attachon Sajjaphattanakul. (2022).Sustainable Cross - Border Community Development and Management in the East - West Economic Corridor in the Time of Covid – 19 (Budget: 1,620,000 JPY from Toyota Foundation, Japan)
อ้างอิง: อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล.(2565). การศึกษากระบวนการปรับตัวของชุมชนข้ามแดนบนเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก - ตะวันตก ในช่วงของการแพร่ระบาดโควิด - 19 กรณีศึกษาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด จังหวัดตาก (แหล่งทุนเพื่อนกระบวนกร)
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
อ้างอิง: อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล และคณะ.(2562).การพัฒนาเครือข่ายนักศึกษาครูสังคมในกลุ่มราชภัฏภาคเหนือ เพื่อการเรียนรู้เชิงประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์และองค์ความรู้เพื่อสร้างความเป็นพลเมือง (ทุนวิจัยปี 2562 งบประมาณ 100,000 บาท ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร)
อ้างอิง: อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล.(2562). การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนรวมเพื่อพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้เด็กและเยาวชนรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล ในพื้นที่จังหวัดพิษณุโลก (แหล่งทุนศูนย์วิจัยด้านเด็กและเยาวชน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
ปี พ.ศ. 2561 (2018)
อ้างอิง: อรรฏชณม์ สัจจะพัฒนกุล. (2561). การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนรวมเพื่อพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ “โรงเรียนสร้างพลเมืองรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล” ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย (แหล่งทุนกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์)
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
อ้างอิง: อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล.(2560).การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาโรงเรียนสร้างพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน (แหล่งทุนสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ)
อ้างอิง: อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล.(2560).การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมสมรรถนะความเป็นพลเมืองรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจิทัล สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ในรายวิชาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย (แหล่งทุนสถาบันสื่อเด็กและเยาวชน)
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล. (2559). การพัฒนาความสามารถในด้านทักษะชีวิต โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบเน้นประสบการณ์ ในรายวิชาทักษะและเทคนิคการสอน. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (แหล่งทุนคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม)
อ้างอิง: อภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล.(2559). การวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมเพื่อสร้างชุมชนน่าอยู่ในพื้นที่คลองหกวา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี (ทุนวิจัย 100,000 แหล่งทุนองค์กร The Network)
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
อ้างอิง: อรรถพล อนันตวรสกุล, วราภรณ์ แก้วดี และอภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล. (2554). โครงการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ประจำปี 2552 – 2553 สนับสนุนโดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
อ้างอิง: อรรถพล อนันตวรสกุล และอภัยชนม์ สัจจะพัฒนกุล. (2554).โครงการวิจัยค่ายเยาวชนพิทักษ์โลกร้อนสำหรับเยาวชนใน 4 ภูมิภาค ร่วมกับ สมาคมสร้างสรรค์ไทย (ตาวิเศษ) และ WWF ประเทศไทย สนับสนุนโดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม (ธันวาคม 2553 – มกราคม 2554)
ปี พ.ศ. 2553 (2010)
อ้างอิง: โครงการวิจัย เรื่อง “การติดตามโรงเรียนเพื่อนเด็กกลุ่มเป้าหมายใหม่ ใน ระยะที่ 1 (2551) และระยะที่ 2 (2553) ใน 9 จังหวัด” สนับสนุนโดยองค์การ ยูนิเซฟ ประเทศไทย
อ้างอิง: โครงการวิจัย เรื่อง “การติดตามการทำงานโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อ การพัฒนาที่ยั่งยืน (Eco-School) ระยะที่ 1 (2551) และระยะที่ 2 (2552)” สนับสนุนโดยกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
อ้างอิง: โครงการวิจัยประเมินความต้องการจำเป็นและพัฒนาสมรรถนะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการวางแผนชุมชนกับการท างานด้านเด็ก โดยเน้น สิทธิประโยชน์ต่อเด็กเป็นพื้นฐาน สนับสนุนโดยองค์การยูนิเซฟ ประเทศไทย
 
ผลงานนวัตกรรมชุมชน
-
 
การอบรม
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนกา่รสอนด้านมานุษยวิทยา "ห้องเรียนวัฒนธรรม" ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 19 - 21 พฤษภาคม 2566 ณ คณะวิทยาการเรียนรู้และศึกาาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรียนกา่รสอนด้านมานุษยวิทยา "ห้องเรียนวัฒนธรรม" เพื่อการเรียนรู้อยู่ร่วมสำหรับการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 1 ระหว่างวันที่ 1ุุ6 - 19 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ชุมชนชาติพันธุ์ชาวเล หมู่บ้านทับตะวัน จังหวัดพังงา
อ้างอิง: การอบรม "เขียนบทนอกกรอบให้เท่าทันโลกโลกาภิวัตน์สังคม" เพื่อรายงานโครงการการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาท้องถิ่น มรพส.
อ้างอิง: การอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาผลงานเพื่อขอตำแหน่งทางวิชาการรับใช้ท้องถิ่นและสังคม ณ ห้องประชุมปางอุบล ศูนย์วัฒนธรรมภาคเหนือตอนล่าง มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม (ส่วนวังจันทน์)
อ้างอิง: โครงการการเตรียมความพร้อมการจัดทำผลงานทางวิชาการด้านรับใช้ท้องถิ่นและสังคม วิทยากรโดย ศ.ดร.จิระวัฒน์ พิระสันต์
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
อ้างอิง: อบรมเชิงปฏิบัติการคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อชุมชน "นักสืบกาลเวลา" ในวันที่ 14 ตุลาคม 2559 ใน งาน EDUCA อิมแพคฯ เมืองทองธานี
 
โครงการบริการวิชาการ
ปี พ.ศ. 2560 (2017)
ชื่อโครงการ: โครงการค่าย DCE - Camp ค่ายการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย โครงการร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และศูนย์ประสานงานการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย (Thai Civic Education)
 
งานบริการวิชาการส่วนบุคคล
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อโครงการ: อบรมเชิงปฏิบัติการคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์เพื่อชุมชน "นักสืบกาลเวลา" ในวันที่ 14 ตุลาคม 2559 ใน งาน EDUCA อิมแพคฯ เมืองทองธานี
 
กรรมการวิชาการ/กรรมการวิชาชีพ/กรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน
ปี พ.ศ. 2562 (2019)
ชื่องาน/กิจกรรม/โครงการ: คณะกรรมการศูนย์พัฒนาการเมืองภาคพลเมือง สถาบันพระปกเกล้า จังหวัดพิษณุโลก (ศพม.พิษณุโลก)
 
หนังสือแต่ง
ปี พ.ศ. 2566 (2023)
ชื่อหนังสือ:
สังคมศึกษาทะลุกะลา (Shattering the Coconut Shell: Towards Critical Social Studies in Thailand).เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยพหุวัฒนธรรมและนโญบายการศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อหนังสือ:
คู่มือการจัดกิจกรรมประวัติศาสตร์เพื่อชุมชน "นักสืบกาลเวลา"
ปี พ.ศ. 2554 (2011)
ชื่อหนังสือ:
รายงานสถานการณ์สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ปี 2552 - 2553
 
รางวัล
-
 
ใบประกาศนียบัตร/หนังสือรับรอง
-
 
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
-
 
ลิขสิทธิ์
ปี พ.ศ. 2559 (2016)
ชื่อลิขสิทธิ์: หนังสือ "นักสืบกาลเวลา" ตีพิมพ์ครั้งแรก 2559 จำนวน 1000 เล่ม โดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
 
สิ่งประดิษฐ์
-
 
ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้งานระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ
ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควรปรับปรุง
 
 
PSRU Expert Database System © 2015. All rights reserved.